ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสังวาล ติณสูลานนท์ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
วาระที่ 3.1 รายละเอียดโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ประจำปีงบประมาณ 2562 กลุ่มวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชุมชน (กสช.) กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
2
ความเป็นมาของโครงการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร นโยบายการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตร “ การจัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร” เพื่อให้ชุมชนเกษตรกรมีความเข้มแข็งสามารถบริหารจัดการผลผลิตการเกษตร เพื่อความมั่นคงด้านอาหารและสร้างรายได้ในครัวเรือนของเกษตรกร กรมประมง เพื่อตอบสนองนโยบายกระทรวงเกษตรฯ กรมประมงดำเนิน “โครงการธนาคารสินค้าเกษตร กิจกรรมสนับสนุนผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม” ชุมชนเป้าหมาย ส่งเสริมสนับสนุนการจัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร โดยอาศัยแหล่งน้ำชุมชนเป็นศูนย์กลาง บริหารจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำภายใต้หลักการมีส่วนร่วมของชุมชน
3
วัตถุประสงค์ของโครงการ
มีผลผลิตสัตว์น้ำจืดเพียงพอต่อการบริโภค สร้างรายได้และลดรายจ่ายในครัวเรือน มีความรู้ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและสามารถบริหารจัดการแหล่งน้ำชุมชนของตัวเองเพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำจืดและเป็นธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำของชุมชน มีการพัฒนาเพิ่มศักยภาพด้านการบริหารแหล่งน้ำชุมชน บูรณาการทำงาน และทำงานร่วมกับชุมชน ราษฎร ชุมชน ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน บุคคลากร
4
กรอบแนวความคิดการดำเนินงานโครงการ
5
ธนาคารผลผลิตเกษตรด้านการประมง
4 การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการแหล่งน้ำชุมชน เพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำให้เป็นธนาคารผลผลิตการเกษตรด้านการประมง เป้าหมาย ธนาคารผลผลิตเกษตรด้านการประมง ภาพที่อยากเห็น
8
เป้าหมายการดำเนินงานโครงการ
แหล่งน้ำชุมชน 60 แห่ง ลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ >4,000 ครัวเรือน มีผลผลิตสัตว์น้ำ เพื่อบริโภคและสร้างรายได้ในครัวเรือน มีการบริโภคปลาเพิ่มขึ้น 25 กก/ครัวเรือน บริหารจัดการแหล่งน้ำชุมชนเพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำจืด และบริหารจัดการผลผลิตสัตว์น้ำผ่านระบบธนาคารฯ
9
กิจกรรมหลักของโครงการธนาคารสินค้าเกษตร
(กิจกรรมสนับสนุนธนาคารสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ประจำปีงบประมาณ 2562 กิจกรรมหลักที่ 1 : จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุน ธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำใหม่ จำนวน 20 แห่ง กิจกรรมหลักที่ 2 : ติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำเก่า ปี จำนวน 20 แห่ง กิจกรรมหลักที่ 3 : ติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำเก่า ปี จำนวน 20 แห่ง
10
ผลผลิตและกิจกรรมย่อยของโครงการในแหล่งน้ำใหม่ (6 Outputs and 21 Activities)
3 กิจกรรม Output 1.2 มีการจัดตั้งกลไกความร่วมมือ การประสานงานในระดับท้องถิ่น และสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการธนาคารฯ ประจำแหล่งน้ำในการดำเนินโครงการอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง และมีการคัดเลือกแหล่งน้ำเป้าหมายที่เหมาะสม 4 กิจกรรม
11
ผลผลิตและกิจกรรมของโครงการ (6 Outputs and 21 Activities)
2 กิจกรรม Output 1.4: ชุมชนร่วมดำเนินกิจกรรมในการเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมายได้ตามแผนการปฏิบัติงานที่วางไว้ 7 กิจกรรม
12
ผลผลิตและกิจกรรมของโครงการ (6 Outputs and 21 Activities)
3 กิจกรรม Output 1.6: มีการรายงานและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินโครงการเพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนานำไปปรับใช้ในแหล่งน้ำอื่นได้ 2 กิจกรรม
13
กิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการในแหล่งน้ำเก่าปี 2560 (1 Output and 4 Activities)
กิจกรรมหลักที่ 2 การติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (สนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2560 จำนวน 20 แห่ง ผลผลิตที่ 2.1 มีการติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (สนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำเก่า ปี และโครงการดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมที่ 2.1.1 ประชุมคณะทำงานโครงการฯและติดตามการดำเนินงานโครงการฯ กิจกรรมที่ 2.1.2 จัดทำแผนการดำเนินงานประจำปี 2562 กิจกรรมที่ 2.1.3 ประเมินผลจับและมูลค่าสัตว์น้ำที่จับใช้ประโยชน์ที่ปล่อยในแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมาย กิจกรรมที่ 2.1.4 ติดตามการบริหารงานของธนาคารฯ ประจำแหล่งน้ำอย่างต่อเนื่อง
14
กิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการในแหล่งน้ำเก่าปี 2561 (1 Output and 9 Activities)
กิจกรรมหลักที่ 3 ติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (สนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำเก่าปี 2561 จำนวน 20 แห่ง ผลผลิตที่ 3.1 มีการติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (สนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2561 และโครงการฯ ดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมที่ 3.1.1 ประชุมคณะทำงานโครงการฯ และติดตามการดำเนินงานโครงการฯ กิจกรรมที่ 3.1.2 จัดสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างคณะกรรมการธนาคารผลผลิตเกษตรด้านการประมงและเจ้าหน้าที่โครงการฯ กิจกรรมที่ 3.1.3 จัดทำแผนการดำเนินงานประจำปี 2562 กิจกรรมที่ 3.1.4 เตรียมแหล่งน้ำและทำการเพิ่มอาหารธรรมชาติ (เช่น ทำปุ๋ยหมัก ใส่ปุ๋ย)
15
กิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการในแหล่งน้ำเก่าปี 2561 (1 Output and 9 Activities)
กิจกรรมหลักที่ 3 ติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (สนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำเก่าปี 2561 จำนวน 20 แห่ง ผลผลิตที่ 3.1 มีการติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (สนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2561 และ โครงการฯดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมที่ 3.1.5 ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมายโครงการฯ กิจกรรมที่ 3.1.6 ประเมินผลจับและมูลค่าสัตว์น้ำที่จับใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมายโครงการฯ กิจกรรมที่ 3.1.7 ติดตามการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่าปี 2561 กิจกรรมที่ 3.1.8 จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่าปี 2561 ประจำปีงบประมาณ 2562 กิจกรรมที่ 3.1.9 จัดทำและเผยแพร่รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่า ประจำปี 2562
16
งบประมาณปี 2562 (แหล่งใหม่+ติดตามแหล่งเก่า)
หมวดรายจ่าย งบประมาณ งบดำเนินงาน 8,440,000 งบเงินอุดหนุน (เฉพาะแหล่งน้ำใหม่ แห่งละ 175,000บาท) 3,500,000 รวมงบประมาณ 11,940,000
17
งบประมาณแต่ละกิจกรรม ประจำปี 2562
กิจกรรมหลักที่ 1 : จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร ฯ ในแหล่งน้ำใหม่ (20 แห่ง) 9,017,000 กิจกรรมหลักที่ 2 : ติดตามการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2560 (20 แห่ง) 860,000 กิจกรรมหลักที่ 3 : ติดตามการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2561 (20 แห่ง) 2,063,000 รวมงบประมาณ 11,940,000
18
กิจกรรม งบประมาณและหน่วยงานที่รับผิดชอบ กิจกรรมการจัดตั้งธนาคารฯในแหล่งน้ำใหม่ จำนวน 20 แห่ง
19
กิจกรรม งบประมาณ (บาท) หน่วยงาน ละ หน่วยงานรับผิดชอบ หลัก สนับสนุน ผลผลิตที่ 1.1: มีการจัดตั้งกลไกความร่วมมือ และสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการฯ ในการดำเนินโครงการตาม แผนปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรม 1.1.1: ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงาน โครงการเพื่อชี้แจงโครงการฯ ติดตามความก้าวหน้าโครงการฯ และสรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ ประจำปี 90,000 กสช./กพจ. - กิจกรรม 1.1.2: ฝึกอบรมให้ความรู้ แลกเปลี่ยน ประสบการณ์และเพิ่มศักยภาพให้แก่คณะกรรมการธนาคารฯ และเจ้าหน้าที่ในการดำเนินงานโครงการฯ ให้เกิด ประสิทธิภาพ 400,000 กิจกรรม 1.1.3:บริหารโครงการ ติดตามและประเมินผลการ ดำเนินงานโครงการฯ ให้เป็นไปตามแผนการดำเนินงาน 1,424,000
20
กิจกรรม งบประมาณ (บาท) หน่วยงาน ละ หน่วยงานรับผิดชอบ หลัก สนับสนุน ผลผลิตที่ 1.2: มีการจัดตั้งกลไกความร่วมมือ การประสานงานระดับท้องถิ่น และสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการธนาคารฯ ในการดำเนินโครงการตามแผนการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรม 1.2.1: คัดเลือกพื้นที่แหล่งน้ำเป้าหมาย 100,000 5,000 สนง.ปจ. ศพจ. กิจกรรม 1.2.2: ประชุมร่วมกับชุมชนเป้าหมายเพื่อชี้แจง รายละเอียดโครงการฯ 90,000 4,500 กิจกรรม: ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการธนาคารฯและ กำหนดบทบาทของคณะกรรมการธนาคารฯ 80,000 4,000 กิจกรรม: ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง 400,000 20,000 ศพจ.
21
กิจกรรม งบประมาณ (บาท) หน่วยงาน ละ หน่วยงานรับผิดชอบ หลัก สนับสนุน
ผลผลิตที่ 1.3: มีการเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการฯ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลแหล่งน้ำเป้าหมาย มีแผนการปฏิบัติงานประจำ แหล่งน้ำคณะกรรมการธนาคารฯและชุมชนเป้าหมายร่วมดำเนินโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรม 1.3.1: สำรวจและส่งข้อมูลพื้นฐานแหล่งน้ำเป้าหมาย 100,000 5,000 สนง.ปจ. ศพจ. กิจกรรม: 1.3.2: จัดทำแผนการใช้จ่ายเงินงบอุดหนุนในการดำเนิน กิจกรรมการเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ชุมชน และการขับเคลื่อนการธนาคารฯ 160,000 8,000
22
กิจกรรม งบประมาณ (บาท) หน่วยงาน ละ หน่วยงานรับผิดชอบ หลัก สนับสนุน ผลผลิตที่ 1.4: ชุมชนดำเนินกิจกรรมเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมายได้ตามแผนการปฏิบัติงานที่วางไว้ กิจกรรม 1.4.1: ชุมชนดำเนินกิจกรรมตามแผนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและขับเคลื่อน การบริหารงานของธนาคารฯประจำแหล่งน้ำ (ใช้เงินงบอุดหนุน) 3,500,000 175,000 สนง.ปจ. ศพจ. กิจกรรม 1.4.2: ให้ความรู้แก่ชุมชน เตรียมแหล่งน้ำให้เหมาะสม และเพิ่มอาหาร ธรรมชาติในแหล่งน้ำ 200,000 10,000 กิจกรรม 1.4.3: สุ่มชั่งวัดขนาดลูกปลาที่อนุบาลหรือเลี้ยงเพื่อจำหน่ายเป็นรายได้เข้า ธนาคาร กิจกรรม 1.4.4: สุ่มชั่งวัดขนาดลูกปลาหลังอนุบาลปลาหรือเลี้ยงเพื่อจำหน่ายเป็นรายได้ เข้าธนาคารฯ กิจกรรม 1.4.5: ผลิตและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำและปล่อยอนุบาลหรือ เลี้ยงในแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมาย 800,000 40,000 กิจกรรม ติดตามการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำที่ปล่อยในแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมาย 370,000 18,500 กิจกรรม 1.4.7: ประเมินผลผลิตสัตว์น้ำ และมูลค่าสัตว์น้ำที่จับใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ ชุมชนเป้าหมาย
23
กิจกรรม งบประมาณ (บาท) หน่วยงาน ละ หน่วยงานรับผิดชอบ หลัก สนับสนุน
ผลผลิตที่ 1.5: มีการส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) อย่างต่อเนื่อง กิจกรรม 1.5.1: ประชุมเพื่อกำหนดกฎระเบียบ การติดตามการดำเนินงาน และการ บริหารงานธนาคารฯประจำแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมายฯ 200,000 10,000 สนง.ปจ. ศพจ. กิจกรรม 1.5.2: การสมัครสมาชิกธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิต สัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) กิจกรรม 1.5.3: ส่งเสริมและขับเคลื่อนให้สมาชิกธนาคารมีการแลกเปลี่ยน ยืม ปัจจัยการ ผลิตผลผลิตสัตว์น้ำและรายได้ที่เกิดขึ้น 240,000 12,000 ผลผลิตที่ 1.6: มีการรายงานและเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการเพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการดำเนินงานโครงการในปีต่อไป และสามารถนำไปปรับใช้ในแหล่งน้ำอื่นได้ กิจกรรม1.6.1จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯประจำปีของแหล่งน้ำชุมชน เป้าหมาย 60,000 1,500 สนง.ปจ./ ศพจ. - กิจกรรม1.6.2 จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการประจำปี 2562 3,000 กสช./กพจ.
24
ในแหล่งน้ำใหม่ (20 แห่ง) ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย ที่ตั้งแหล่งน้ำ/ธนาคาร
พื้นที่เป้าหมาย: จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำใหม่ (20 แห่ง) ลำดับ จังหวัด ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย ที่ตั้งแหล่งน้ำ/ธนาคาร พื้นที่ หมายเหตุ หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ (ไร่) 1 เชียงใหม่ อ่างเก็บน้ำแม่น้ำป้าก แม่นาป้าก แม่หอพระ แม่แตง 50 ศพจ.เขต1 (เชียงใหม่) 2 เชียงราย หนองบัวแดง 15 ใหม่บัวแดง แม่ข้าวต้ม เมืองเชียงราย 38.22 ศพจ.เขต 2 (เชียงราย) 3 เพชรบูรณ์ แหล่งเก็บน้ำร่องแฟ่บ บ้านหนองสรวง คลองกระจัง ศรีเทพ 52 ศพจ.เพชรบูรณ์ 4 กำแพงเพชร สระประมง บ้านบึงกอก 8 บึงกอก ป่าพุทรา ขาณุวรลักษบุรี 35 ศพจ.กำแพงเพชร 5 น่าน หนองหลวง 5,6 บ้านหลับหมื่นพรวน จอมจันทร์ เวียงสา 30 ศพจ.น่าน 6 พิจิตร บึงกระดี่ 7 กองทอง วัดขวาง โพทะเล 60 ศพจ.เขต 3 (พิจิตร) ลำปาง หนองบัว บ้านโป่ง งาว 36.25 ศพจ.ลำพูน ลำพูน หนองสมณะ นครเจดีย์ ป่าซาง 37 9 ชัยนาท หนองหวาย - หาดท่าเสา เมืองชัยนาท 67 ศพจ.เขต 9 (ชัยนาท) 10 อุทัยธานี หนองถ้ำ บ้านท่ารากหวาย เกาะเทโพ เมืองอุทัยธานี 46.25 ศพจ.อุทัยธานี
25
ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย ที่ตั้งแหล่งน้ำ/ธนาคาร
พื้นที่เป้าหมาย: จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำ แบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำใหม่ (20 แห่ง) ลำดับ จังหวัด ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย ที่ตั้งแหล่งน้ำ/ธนาคาร พื้นที่ หมายเหตุ หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ (ไร่) 11 กาฬสินธุ์ หนองสาธารณะประโยชน์บ้านคำมะโฮ 7 คำมะโฮ คำเหมือดแก้ว ห้วยเม็ก 49 ศพจ.กาฬสินธุ์ 12 ขอนแก่น หนองปิง 10, 18 สาวะถี เมืองขอนแก่น 50 ศพจ.เขต 6 (ขอนแก่น) 13 นครพนม ห้วยโมง 3 นาถ่อนท่า นาถ่อน ธาตุพนม 30 ศพจ.นครพนม 14 บุรีรัมย์ หนองตะลุมปุ๊ก 1 ลำไทรโยง นางรอง 35 ศพจ.มหาสารคาม 15 มหาสารคาม หนองกุง บ้านหนองกุง เสือโก๊ก วาปีปทุม 36 16 มุกดาหาร หนองสระพังทอง 6,9 หนองสระพัง โพนงาม คำชะอี ศพจ.มุกดาหาร 17 ยโสธร หนองทดใหญ่ 5,13 หนองแข้ โคกนาโก ป่าติ้ว 34 ศพจ.เขต 5 (ยโสธร) 18 ศรีสะเกษ หนองอิเลิง 21 บ้านพร้าว บุสูง วังหิน ศพจ.ศรีสะเกษ 19 อำนาจเจริญ แหล่งน้ำหนองคู 3,6 หนองคู นาเวียง เสนางคนิคม 40 ศพจ.อำนาจเจริญ โนนหนามแท่ง 20 ปัตตานี สระเก็บน้ำบ้านกะลาพอ กะลาพอ เตราะบอน สายบุรี ศพจ.ปัตตานี
26
งบประมาณ กิจกรรม: จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตรฯ ในแหล่งน้ำใหม่ (20 แห่ง)
ลำดับ จังหวัด หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ เงินงบดำเนินงาน (บาท) เงินอุดหนุน (บาท) รวมงบประมาณ (บาท) 1 เชียงใหม่ สนง.ปจ.เชียงใหม่ 90,000 175,000 265,000 ศพจ.เขต1 (เชียงใหม่) - 2 เชียงราย สนง.ปจ.เชียงราย ศพจ.เขต 2 (เชียงราย) 3 ลำปาง สนง.ปจ.ลำปาง ศพจ.ลำพูน 4 ลำพูน สนง.ปจ.ลำพูน 5 พิจิตร สนง.ปจ.พิจิตร ศพจ.เขต 3 (พิจิตร) 6 กำแพงเพชร สนง.ปจ.กำแพงเพชร ศพจ.กำแพงเพชร 7 เพชรบูรณ์ สนง.ปจ.เพชรบูรณ์ ศพจ.เพชรบูรณ์ 8 น่าน สนง.ปจ.น่าน ศพจ.น่าน 9 ชัยนาท สนง.ปจ.ชัยนาท ศพจ.เขต 9 (ชัยนาท) 10 อุทัยธานี สนง.ปจ.อุทัยธานี ศพจ.อุทัยธานี
27
งบประมาณ กิจกรรม: จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตรฯ ในแหล่งน้ำใหม่ (20 แห่ง)
ลำดับ จังหวัด หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ เงินงบดำเนินงาน (บาท) เงินอุดหนุน (บาท) รวมงบประมาณ (บาท) 11 ขอนแก่น สนง.ปจ.ขอนแก่น 90,000 175,000 265,000 ศพจ.เขต 6 (ขอนแก่น) - 12 กาฬสินธุ์ สนง.ปจ.กาฬสินธุ์ ศพจ.กาฬสินธุ์ 13 มุกดาหาร สนง.ปจ.มุกดาหาร ศพจ.มุกดาหาร 14 อำนาจเจริญ สนง.ปจ.อำนาจเจริญ ศพจ.อำนาจเจริญ 15 ยโสธร สนง.ปจ.ยโสธร ศพจ.เขต 5 (ยโสธร) 16 บุรีรัมย์ สนง.ปจ.บุรีรัมย์ ศพจ.มหาสารคาม 17 นครพนม สนง.ปจ.นครพนม ศพจ.นครพนม 18 ศรีสะเกษ สนง.ปจ.ศรีสะเกษ ศพจ.ศรีสะเกษ 19 มหาสารคาม สนง.ปจ.มหาสารคาม 20 ปัตตานี สนง.ปจ.ปัตตานี ศพจ.ปัตตานี
28
กิจกรรม งบประมาณและหน่วยงานที่รับผิดชอบ กิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการฯในแหล่งน้ำเก่า ปี จำนวน 20 แห่ง
29
กิจกรรม งบประมาณ (บาท) หน่วยงาน ละ หน่วยงานรับผิดชอบ หลัก สนับสนุน ผลผลิตที่ 2.1 : มีการติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2560 อย่างต่อเนื่อง กิจกรรม 2.1.1: ประชุมคณะทำงานโครงการฯ และติดตามการ ดำเนินงานโครงการฯ 60,000 กสช./ กพจ. - กิจกรรม 2.1.2: จัดทำแผนการดำเนินงานประจำปี 2562 100,000 5,000 สนง.ปจ. ศพจ. กิจกรรม 2.1.3: ประเมินผลจับและมูลค่าสัตว์น้ำที่จับใช้ประโยชน์ ที่ปล่อยในแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมาย 400,000 20,000 กิจกรรม 2.1.4: ติดตามการบริหารงานของธนาคารฯ ประจำแหล่งน้ำ อย่างต่อเนื่อง 300,000 15,000
30
ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ
พื้นที่เป้าหมาย:ติดตามการดำเนินงานโครงการฯในแหล่งน้ำเก่า ปี 2560 (20 แห่ง) ลำดับ จังหวัด ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย ที่ตั้งแหล่งน้ำ พื้นที่ (ไร่) หน่วยงานที่รับผิดชอบ หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ 1 น่าน หนองนาฟ้า 7 วังม่วง เจดีย์ชัย ปัว 32 ศพจ. น่าน 2 นครสวรรค์ หนองหอย 10 - ท่าไม้ ชุมแสง 70 ศพจ. เขต 3 (พิจิตร) 3 พิจิตร บึงน้ำกลัด 6 วังสำโรง ตะพานหิน 65 ไร่ 172 ตร.ม. 4 พิษณุโลก บึงบัว สนามคลี บางกระทุ่ม 80 ศพจ.เพชรบูรณ์ 5 แพร่ สระร่องโป่ง แดนชุมพล สอง 30 ศพจ. แพร่ แม่ฮ่องสอน ทำนบปลาบ้านสบป่อง สมป่อง ปางหมู เมือง ศพจ. แม่ฮ่องสอน สุโขทัย อ่างเก็บน้ำบึงปึก กกแรต กงไกรลาส 50 ศพจ. สุโขทัย 8 กาฬสินธุ์ หนองธรณีสงฆ์ 3,5 หนองโพน, โนนสมบูรณ์ นาจำปา ดอนจาน ศพจ. กาฬสินธุ์ 9 ชัยภูมิ หนองอีเลิง 1,4,5 บ้านหัน เกษตรสมบูรณ์ 47 มหาสารคาม หนองส้มโฮง 12 เมืองเตา พยัคฆภูมิพิสัย 20 ศพจ. มหาสารคาม
31
ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ
พื้นที่เป้าหมาย:ติดตามการดำเนินงานโครงการฯในแหล่งน้ำเก่า ปี 2560 (20 แห่ง) ลำดับ จังหวัด ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย ที่ตั้งแหล่งน้ำ พื้นที่ (ไร่) หน่วยงานที่รับผิดชอบ หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ 11 เลย สระน้ำประมง 3 บ้านนาเจียง โคกงาม ด่านซ้าย 20 ศพจ. เลย 12 หนองคาย หนองหวาย 5 - น้ำโมง ท่าบ่อ 95 ศพจ. หนองคาย 13 หนองบัวลำภู หนองก่าน-สุขสำราญ 2,16 ฝั่งแดง นากลาง 23 ศพจ. เขต 4 (อุดรธานี) 14 อุบลราชธานี อ่างเก็บน้ำห้วยเทียม 3,7,9,10 โนนค้อ บุณฑริก 42 ศพจ. ยโสธร 15 ราชบุรี อ่างเก็บน้ำหนองปากชัฏ 6 แก้มอ้น จอมบึง 50 ศพจ. ราชบุรี 16 สระแก้ว หนองทุ่งทะเล 2 ทัพราช ตาพระยา ศพจ. สระแก้ว 17 ตรัง นบลำบอน ควนหิน นาชุมเห็ด ย่านตาขาว 25 ศพจ. เขต 11 (ตรัง) 18 นครศรีธรรมราช แหล่งน้ำบ้านหนองพุก นาไม้ไผ่ ทุ่งสง 73 ศพจ. นครศรีธรรมราช 19 สตูล ทำนบใหญ่ 5,6 ละงู 18.37 ศพจ. สตูล สงขลา ทุ่งพระยอด 10 ลำไพล เทพา 35 ศพจ.เขต 12 (สงขลา)
32
หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ เงินงบดำเนินการ (บาท)
งบประมาณ กิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่าปี 2560 (20 แห่ง) ลำดับ จังหวัด หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ เงินงบดำเนินการ (บาท) เงินอุดหนุน(บาท) รวมงบประมาณ (บาท) 1 ลำปาง สนง.ปจ.ลำปาง 20,000 - ศพจ.ลำพูน 2 เชียงราย สนง.ปจ.เชียงราย ศพจ.เขต 2 (เชียงราย) 3 ลำพูน สนง.ปจ.ลำพูน 4 ตาก สนง.ปจ.ตาก ศพจ.กำแพงเพชร 5 พะเยา สนง.ปจ.พะเยา ศพจ.แพร่ 6 กำแพงเพชร สนง.ปจ.กำแพงเพชร 7 อุตรดิตถ์ สนง.ปจ.อุตรดิตถ์ ศพจ.สุโขทัย 8 สกลนคร สนง.ปจ.สกลนคร ศพจ.นครพนม 9 นครราชสีมา สนง.ปจ.นครราชสีมา ศพจ.เขต 6 (ขอนแก่น) 10 ขอนแก่น สนง.ปจ.ขอนแก่น
33
หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ เงินงบดำเนินการ (บาท)
งบประมาณ กิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่าปี 2560 (20 แห่ง) ลำดับ จังหวัด หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ เงินงบดำเนินการ (บาท) เงินอุดหนุน(บาท) รวมงบประมาณ (บาท) 11 อุดรธานี สนง.ปจ.อุดรธานี 20,000 - ศพจ.อุดรธานี 12 ศรีสะเกษ สนง.ปจ.ศรีสะเกษ ศพจ.ศรีสะเกษ 13 ร้อยเอ็ด สนง.ปจ.ร้อยเอ็ด ศพจ.ร้อยเอ็ด 14 สุรินทร์ สนง.ปจ.สุรินทร์ ศพจ.เขต 5 (ยโสธร) 15 นครพนม สนง.ปจ.นครพนม ศพจ.นครพนม 16 บุรีรัมย์ สนง.ปจ.บุรีรัมย์ ศพจ.มหาสารคาม 17 บึงกาฬ สนง.ปจ.บึงกาฬ ศพจ.หนองคาย 18 มุกดาหาร สนง.ปจ.มุกดาหาร ศพจ.มุกดาหาร 19 ยโสธร สนง.ปจ.ยโสธร 20 อำนาจเจริญ สนง.ปจ.อำนาจเจริญ ศพจ.อำนาจเจริญ
34
กิจกรรม งบประมาณและหน่วยงานที่รับผิดชอบ กิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการฯในแหล่งน้ำเก่า ปี จำนวน 20 แห่ง
35
กิจกรรม งบประมาณ (บาท) หน่วยงานละ หน่วยงานรับผิดชอบ หลัก สนับสนุน ผลผลิตที่ 3.1 : มีการติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่ง น้ำเก่า ปี 2561 อย่างต่อเนื่อง กิจกรรม 3.1.1:ประชุมคณะทำงานโครงการ และติดตามการ ดำเนินงานโครงการ 60,000 กสช./ กพจ. - กิจกรรม 3.1.2: จัดสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่าง คณะกรรมการธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำและเจ้าหน้าที่โครงการฯ 400,000 กิจกรรม 3.1.3: จัดทำแผนการปฏิบัติงานประจำปี 2562 100,000 5,000 สนง.ปจ. ศพจ. กิจกรรม 3.1.4:เตรียมแหล่งน้ำและทำการเพิ่มอาหารธรรมชาติ 230,000 11,500
36
กิจกรรม งบประมาณ (บาท) หน่วย งานละ หน่วยงานรับผิดชอบ หลัก สนับสนุน
ผลผลิตที่ 3.1 : มีการติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2561 อย่างต่อเนื่อง กิจกรรม 3.1.5: ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำชุมชน เป้าหมายโครงการฯ 200,000 10,000 ศพจ. สนง.ปจ. กิจกรรม 3.1.6: ประเมินผลจับและมูลค่าสัตว์น้ำที่จับใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ ชุมชนเป้าหมายโครงการฯ 570,000 28,500 กิจกรรม 3.1.7: ติดตามการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่าปี 2561 440,000 22,000 กิจกรรม 3.1.8: จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2561 ประจำปีงบประมาณ 2562 60,000 1,500 สนง.ปจ. และศพจ. - กิจกรรม 3.1.9: จัดทำและเผยแพร่รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่า ประจำปี2562 3,000 กสช./ กพจ.
37
ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ
พื้นที่เป้าหมาย:ติดตามการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2561 จำนวน 20 แห่ง ลำดับ จังหวัด ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย ที่ตั้งแหล่งน้ำ พื้นที่ (ไร่) หน่วยงานที่รับผิดชอบ หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ 1 น่าน หนองนาฟ้า 7 วังม่วง เจดีย์ชัย ปัว 32 ศพจ. น่าน 2 นครสวรรค์ หนองหอย 10 - ท่าไม้ ชุมแสง 70 ศพจ. เขต 3 (พิจิตร) 3 พิจิตร บึงน้ำกลัด 6 วังสำโรง ตะพานหิน 65 ไร่ 172 ตร.ม. 4 พิษณุโลก บึงบัว สนามคลี บางกระทุ่ม 80 ศพจ.เพชรบูรณ์ 5 แพร่ สระร่องโป่ง แดนชุมพล สอง 30 ศพจ. แพร่ แม่ฮ่องสอน ทำนบปลาบ้านสบป่อง สมป่อง ปางหมู เมือง ศพจ. แม่ฮ่องสอน สุโขทัย อ่างเก็บน้ำบึงปึก กกแรต กงไกรลาส 50 ศพจ. สุโขทัย 8 กาฬสินธุ์ หนองธรณีสงฆ์ 3,5 หนองโพน, โนนสมบูรณ์ นาจำปา ดอนจาน ศพจ. กาฬสินธุ์ 9 ชัยภูมิ หนองอีเลิง 1,4,5 บ้านหัน เกษตรสมบูรณ์ 47 มหาสารคาม หนองส้มโฮง 12 เมืองเตา พยัคฆภูมิพิสัย 20 ศพจ. มหาสารคาม
38
ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ
พื้นที่เป้าหมายกิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารฯในแหล่งน้ำเก่า ปี 2561 จำนวน 20 แห่ง ลำดับ จังหวัด ชื่อแหล่งน้ำเป้าหมาย ที่ตั้งแหล่งน้ำ พื้นที่ (ไร่) หน่วยงานที่รับผิดชอบ หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ 11 เลย สระน้ำประมง 3 บ้านนาเจียง โคกงาม ด่านซ้าย 20 ศพจ. เลย 12 หนองคาย หนองหวาย 5 - น้ำโมง ท่าบ่อ 95 ศพจ. หนองคาย 13 หนองบัวลำภู หนองก่าน-สุขสำราญ 2,16 ฝั่งแดง นากลาง 23 ศพจ. เขต 4 (อุดรธานี) 14 อุบลราชธานี อ่างเก็บน้ำห้วยเทียม 3,7,9,10 โนนค้อ บุณฑริก 42 ศพจ. ยโสธร 15 ราชบุรี อ่างเก็บน้ำหนองปากชัฏ 6 แก้มอ้น จอมบึง 50 ศพจ. ราชบุรี 16 สระแก้ว หนองทุ่งทะเล 2 ทัพราช ตาพระยา ศพจ. สระแก้ว 17 ตรัง นบลำบอน ควนหิน นาชุมเห็ด ย่านตาขาว 25 ศพจ. เขต 11 (ตรัง) 18 นครศรีธรรมราช แหล่งน้ำบ้านหนองพุก นาไม้ไผ่ ทุ่งสง 73 ศพจ. นครศรีธรรมราช 19 สตูล ทำนบใหญ่ 5,6 ละงู 18.37 ศพจ. สตูล สงขลา ทุ่งพระยอด 10 ลำไพล เทพา 35 ศพจ.เขต 12 (สงขลา)
39
งบประมาณ กิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่าปี 2561 (20 แห่ง)
ลำดับ จังหวัด หน่วยงานที่ได้ รับจัดสรรงบประมาณ เงินงบดำเนินงาน (บาท) เงินอุดหนุน (บาท) รวมงบประมาณ 1 น่าน สนง.ปจ.น่าน 40,000 - ศพจ.น่าน 2 นครสวรรค์ สนง.ปจ.นครสวรรค์ ศพจ.เขต 3 (พิจิตร) 3 พิจิตร สนง.ปจ.พิจิตร 4 พิษณุโลก สนง.ปจ.พิษณุโลก ศพจ.เพชรบูรณ์ 5 แพร่ สนง.ปจ.แพร่ ศพจ.แพร่ 6 แม่ฮ่องสอน สนง.ปจ.แม่ฮ่องสอน ศพจ.แม่ฮ่องสอน 7 สุโขทัย สนง.ปจ.สุโขทัย ศพจ.สุโขทัย 8 กาฬสินธุ์ สนง.ปจ.กาฬสินธุ์ ศพจ.กาฬสินธุ์ 9 ชัยภูมิ สนง.ปจ.ชัยภูมิ 10 มหาสารคาม สนง.ปจ.มหาสารคาม ศพจ.มหาสารคาม
40
หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ เงินงบดำเนินงาน (บาท)
งบประมาณ กิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่าปี 2561 (20 แห่ง) ลำดับ จังหวัด หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ เงินงบดำเนินงาน (บาท) เงินอุดหนุน (บาท) รวมงบประมาณ (บาท) 11 เลย สนง.ปจ.เลย 40,000 - ศพจ.เลย 12 หนองคาย สนง.ปจ.หนองคาย ศพจ.หนองคาย 13 หนองบัวลำภู สนง.ปจ.หนองบัวลำภู ศพจ.อุดรธานี 14 อุบลราชธานี สนง.ปจ.อุบลราชธานี ศพจ.เขต 5 (ยโสธร) 15 ราชบุรี สนง.ปจ.ราชบุรี ศพจ.ราชบุรี 16 สระแก้ว สนง.ปจ.สระแก้ว ศพจ.สระแก้ว 17 ตรัง สนง.ปจ.ตรัง ศพจ.เขต 11 (ตรัง) 18 นครศรีธรรมราช สนง.ปจ.นครศรีธรรมราช ศพจ.นครศรีธรรมราช 19 สตูล สนง.ปจ.สตูล ศพจ.สตูล 20 สงขลา สนง.ปจ.สงขลา ศพจ.เขต 12 (สงขลา)
41
การบริหารโครงการและหน่วยงานรับผิดชอบ
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก บทบาทหน้าที่ ระดับกรม 1. กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด (กพจ) บริหารโครงการ ติดตามประเมินผลและรวบรวมรายงานผลการดำเนินงานโครงการในภาพรวมต่อกรมและกระทรวงฯ ระดับจังหวัด 1. สำนักงานประมงจังหวัด (45 จังหวัด) - แหล่งน้ำใหม่ (20 แห่ง, 20 จังหวัด) - แหล่งน้ำเก่าปี 2561 (20 แห่ง, 20 จังหวัด) - แหล่งน้ำเก่าปี 2560 (20 แห่ง, 20 จังหวัด) จัดทำแผนการปฏิบัติงาน ดำเนินงานและติดตามกิจกรรมด้านการจัดตั้งกลไกลความร่วมมือและการจัดตั้งธนาคารฯ และรายงานผลการดำเนินงานในกิจกรรมที่รับผิดชอบ 2. ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลียงสัตว์น้ำจืด (31 ศูนย์ฯ) - แหล่งน้ำใหม่ (20 แห่ง, 18 ศพจ. ) - แหล่งน้ำเก่าปี 2561 (20 แห่ง, 18 ศพจ. ) - แหล่งน้ำเก่าปี 2560 (20 แห่ง, 15 ศพจ. ) จัดทำแผนการปฏิบัติงาน ดำเนินงานและติดตามกิจกรรมด้านการเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำ การประเมินผลผลิตสัตว์น้ำ ให้ความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเพาะเลี้ยง และรายงานผลการดำเนินงานในกิจกรรมที่รับผิดชอบ ระดับชุมชน ผู้รับผิดชอบหลัก: ชุมชนและคณะกรรมการแหล่งน้ำชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย ร่วมจัดทำแผนการปฏิบัติงาน ดำเนินงาน ติดตามและรายงานผลการดำเนินโครงการ หน่วยงานสนับสนุน: อบต.หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องฯในพื้นที่เป้าหมาย สนับสนุนการดำเนินโครงการในส่วนที่เกี่ยวข้อง
42
ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ: ชุมชนมีการบริหารจัดการด้านผลผลิตผลผลิตสัตว์น้ำ จำนวน 60 แห่ง ชุมชนในแหล่งน้ำชุมชนแห่งใหม่ จำนวน 20 แห่ง ชุมชนในแหล่งน้ำเก่าปี 2560 จำนวน 20 แห่ ชุมชนในแหล่งน้ำเก่าปี 2561 จำนวน 20 แห่ง
43
ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ: ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯ สามารถดำเนินการบริหารจัดการได้สำเร็จ ร้อยละ 60 โดยความสำเร็จของ การบริหารจัดการโครงการฯ หมายถึง การส่งเสริมและสนับสนุนการ บริหารจัดการแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมายเพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำจืด การ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชุมชนให้เป็นธนาคารผลผลิตเกษตรด้านการประมง เพื่อเป็นแหล่งอาหารโปรตีนและสร้างรายได้ครัวเรือนฯ ตัวชี้วัด ประกอบความสำเร็จของดำเนินการบริหารจัดการ ดังนี้ มีการจัดตั้งคณะกรรมการธนาคารฯ และอำนาจหน้าที่ของคณะ กรรมการฯ มีกฎระเบียบของธนาคาร มีการสมัครสมาชิก การระดมหุ้นของ สมาชิกในการดำเนินงานโครงการฯ มีการติดตามการดำเนินงานธนาคารฯ อย่างต่อเนื่อง มีผลผลิตสัตว์น้ำจืดเพื่อบริโภคและสร้างรายได้แก่ชุมชนเป้าหมาย
44
วาระที่ 3.4 แผนการปฏิบัติงานโครงการฯ การติดตามและการรายงานผล
45
1. แผนการปฏิบัติงานกิจกรรมจัดตั้งธนาคารฯ ในแหล่งน้ำใหม่ จำนวน 20 แห่ง
หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานปฏิบัติ หน่วยนับ แผนการปฏิบัติงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. กิจกรรมหลักที่ 1 : จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำใหม่ จำนวน 20 แห่ง ผลผลิตที่ 1.1: มีการจัดตั้งกลไกความร่วมมือ และสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการฯ ในการดำเนินโครงการตาม แผนปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรม 1.1.1: ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงาน โครงการเพื่อชี้แจงโครงการฯ ติดตามความก้าวหน้าโครงการฯ และสรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ ประจำปี กสช. 3 ครั้ง 1 กิจกรรม 1.1.2: ฝึกอบรมให้ความรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และเพิ่มศักยภาพให้แก่คณะกรรมการธนาคารฯ และเจ้าหน้าที่ ในการดำเนินงานโครงการฯ ให้เกิดประสิทธิภาพ ครั้ง/ปี 1 กิจกรรม 1.1.3:บริหารโครงการ ติดตามและประเมินผลการ ดำเนินงานโครงการฯ ให้เป็นไปตามแผนการดำเนินงาน 12 2
46
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
กิจกรรม หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานปฏิบัติ หน่วยนับ แผนการปฏิบัติงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. กิจกรรมหลักที่ 1 : จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำใหม่ จำนวน 20 แห่ง ผลผลิตที่ 1.2: มีการจัดตั้งกลไกความร่วมมือ การประสานงานระดับท้องถิ่น และสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการธนาคารฯ ในการดำเนินโครงการตามแผนการปฏิบัติงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ กิจกรรม 1.2.1: คัดเลือกพื้นที่แหล่งน้ำเป้าหมาย สนง.ปจ. 20 แห่ง กิจกรรม 1.2.2: ประชุมร่วมกับชุมชนเป้าหมายเพื่อชี้แจ รายละเอียดโครงการฯ กิจกรรม: ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการธนาคารสินค้า เกษตร ฯ และกำหนดบทบาทของ คณะกรรมการธนาคารฯ กิจกรรม: ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน โครงการฯ อย่างต่อเนื่อง 200 ครั้ง 40
47
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
กิจกรรม หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานปฏิบัติ หน่วยนับ แผนการปฏิบัติงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผลผลิตที่ 1.3: มีการเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการฯ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลแหล่งน้ำเป้าหมาย มีแผนการปฏิบัติงานประจำแหล่งน้ำ คณะกรรมการธนาคารฯและชุมชนเป้าหมาย ร่วมดำเนินโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรม 1.3.1: สำรวจและส่งข้อมูลพื้นฐานแหล่งน้ำเป้าหมาย สนง.ปจ. 20 ฉบับ กิจกรรม1.3.2: จัดทำแผนการใช้จ่ายเงินงบอุดหนุนในการดำเนิน กิจกรรมการเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำชุมชน และการขับเคลื่อนการธนาคารฯ แห่ง ผลผลิตที่ 1.4: ชุมชนดำเนินกิจกรรมเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมายได้ตามแผนการปฏิบัติงานที่วางไว้ กิจกรรม 1.4.1: ชุมชนดำเนินกิจกรรมตามแผนการเพาะเลี้ยงสัตว์ น้ำและขับเคลื่อนการบริหารงานของธนาคารฯ ประจำแหล่งน้ำ (ใช้เงินงบอุดหนุน) 100 % กิจกรรม 1.4.2: ให้ความรู้แก่ชุมชน เตรียมแหล่งน้ำให้เหมาะสม และเพิ่มอาหารธรรมชาติในแหล่งน้ำ 40 ครั้ง 10
48
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
กิจกรรม หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานปฏิบัติ หน่วยนับ แผนการปฏิบัติงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผลผลิตที่ 1.4: ชุมชนดำเนินกิจกรรมเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมายได้ตามแผนการปฏิบัติงานที่วางไว้ กิจกรรม 1.4.3: สุ่มชั่งวัดขนาดลูกปลาที่อนุบาลหรือเลี้ยงเพื่อจำหน่ายเป็นรายได้เข้าธนาคาร ศพจ. 20 ครั้ง กิจกรรม 1.4.4: สุ่มชั่งวัดขนาดลูกปลาหลังอนุบาลปลาหรือเลี้ยงเพื่อจำหน่ายเป็นรายได้เข้าธนาคารฯ กิจกรรม 1.4.5:ผลิตและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำและปล่อยอนุบาลหรือเลี้ยงในแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมาย 1.60 ล้านตัว กิจกรรม ติดตามการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำที่ปล่อยในแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมาย 40 กิจกรรม 1.4.7: ประเมินผลผลิตสัตว์น้ำและมูลค่าสัตว์น้ำที่จับใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมาย
49
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
กิจกรรม หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานปฏิบัติ หน่วยนับ แผนการปฏิบัติงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผลผลิตที่ 1.5: มีการส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) อย่างต่อเนื่อง กิจกรรม 1.5.1: ประชุมเพื่อกำหนดกฎระเบียบ การติดตามการ ดำเนินงาน และการบริหารงานธนาคารฯ ประจำ แหล่งน้ำชุมชนเป้าหมายฯ สนง.ปจ. 20 แห่ง กิจกรรม 1.5.2: การสมัครสมาชิกธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรม สนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) 600 ราย 200 กิจกรรม 1.5.3: ส่งเสริมและขับเคลื่อนให้สมาชิกธนาคารมีการ แลกเปลี่ยน ยืม ปัจจัยการผลิต ผลผลิตสัตว์น้ำและ รายได้ที่เกิดขึ้น 100 ครั้ง ผลผลิตที่ 1.6: มีการรายงานและเผยแพร่ผลการดำเนินโครงการเพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการดำเนินงานโครงการในปีต่อไป และสามารถนำไปปรับใช้ในแหล่งน้ำอื่นได้ กิจกรรม1.6.1: จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ประจำปี ของแหล่งน้ำชุมชนเป้าหมาย สนง.ปจ. และ ศพจ. 40 ฉบับ 24 16 กิจกรรม1.6.2: จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการประจำปี 2562 กสช. 1
50
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
2. แผนปฏิบัติงานกิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการฯในแหล่งน้ำเก่า ปี จำนวน 20 แห่ง กิจกรรม หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานปฏิบัติ หน่วยนับ แผนการปฏิบัติงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผลผลิตที่ 2.1 : มีการติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2560 อย่างต่อเนื่อง กิจกรรม 2.1.1: ประชุมคณะทำงานโครงการฯและ ติดตามการดำเนินงานโครงการฯ กสช. 2 ครั้ง 1 กิจกรรม 2.1.2: จัดทำแผนการดำเนินงานประจำปี 2562 สนง.ปจ. 20 กิจกรรม 2.1.3: ประเมินผลจับและมูลค่าสัตว์น้ำที่จับใช้ ประโยชน์ที่ปล่อยในแหล่งน้ำชุมชน เป้าหมาย ศพจ. กิจกรรม 2.1.4: ติดตามการบริหารงานของธนาคารฯ ประจำแหล่งน้ำอย่างต่อเนื่อง 200
51
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
3. แผนปฏิบัติงานกิจกรรมติดตามการดำเนินงานโครงการฯในแหล่งน้ำเก่า ปี 2561 จำนวน 20 แห่ง กิจกรรม หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานปฏิบัติ หน่วยนับ แผนการปฏิบัติงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผลผลิตที่ 3.1 : มีการติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่ง น้ำเก่า ปี 2561 อย่างต่อเนื่อง กิจกรรม 3.1.1: ประชุมคณะทำงานโครงการและติดตาม การดำเนินงานโครงการ กสช. 2 ครั้ง 1 กิจกรรม 3.1.2: จัดสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่าง คณะกรรมการธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำและ เจ้าหน้าที่โครงการฯ กิจกรรม 3.1.3: จัดทำแผนการปฏิบัติงานประจำปี 2562 สนง.ปจ. 20 ฉบับ กิจกรรม 3.1.4: เตรียมแหล่งน้ำและทำการเพิ่มอาหาร ธรรมชาติ
52
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
แผนปฏิบัติงานกิจกรรม: ติดตามการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2561 จำนวน 20 แห่ง กิจกรรม หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานปฏิบัติ หน่วยนับ แผนการปฏิบัติงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผลผลิตที่ 3.1 : มีการติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (กิจกรรมสนับสนุนธนาคารผลผลิตสัตว์น้ำแบบมีส่วนร่วม) ในแหล่ง น้ำเก่า ปี 2561 อย่างต่อเนื่อง กิจกรรม 3.1.5: ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำในแหล่งน้ำ ชุมชนเป้าหมายโครงการฯ ศพจ. 4 แสนตัว กิจกรรม 3.1.6: ประเมินผลจับและมูลค่าสัตว์น้ำที่จับใช้ประโยชน์จาก แหล่งน้ำชุมชนเป้าหมายโครงการฯ 20 ครั้ง กิจกรรม 3.1.7: ติดตามการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่า ปี 2561 สนง.ปจ. 200 กิจกรรม 3.1.8: จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำ เก่าปี 2561 ประจำปีงบประมาณ 2562 สนง.ปจ. และศพจ. 40 ฉบับ กิจกรรม 3.1.9:จัดทำและเผยแพร่รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ในแหล่งน้ำเก่า ประจำปี2562 กสช. 1
53
การรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
หน่วยงานที่รับผิดชอบรายงานผลตามแบบฟอร์มที่กำหนด (กปม.1) เดือน ละ 1 ครั้ง (ตัดยอดทุกวันที่ 25 และส่งให้ กพจ. ภายในวันที่ 30 ของเดือนนั้น โดยจัดส่งให้ กลุ่มวิจัยการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชุมชน กพจ ทางอีเมล อีเมล แบบฟอร์ม กปม. 1 โครงการธนาคารสินค้าเกษตรฯ (ภาคผนวก 10) และ สามารถดาวน์โหลดได้จาก Website กลุ่มวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชุมชน กพจ * การประสานงาน : เบอร์โทร ต่อ , มือถือ เบอร์ FAX : น.ส.มาลาศรี คำศรี หัวหน้ากลุ่มวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชุมชน ว่าที่ร้อยตรี สายันต์ มั่นกร นักวิชาการประมงปฏิบัติการ น.ส.ธมลวรรณ ระเวง นักวิชาการประมง
54
การกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานโครงการ
การกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานโครงการ ผลสัมฤทธิ์โครงการ ประชุมคณะทำงานโครงการ รายงานประจำเดือน จัดทำรายงานประจำปี จัดทำรายงานสิ้นสุดโครงการ 5 ปี คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ ขับเคลื่อนโครงการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.