งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

...การควบคุมและตรวจสอบเงินแผ่นดินเป็น สิ่งสำคัญและจำเป็น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "...การควบคุมและตรวจสอบเงินแผ่นดินเป็น สิ่งสำคัญและจำเป็น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ...การควบคุมและตรวจสอบเงินแผ่นดินเป็น สิ่งสำคัญและจำเป็น
เพราะ เงินแผ่นดินนั้น คือ เงินของ ประชาชนทั้งชาติ ผู้ทำงานนี้จึงต้องกำหนดแน่แก่ใจอยู่เป็น นิตย์ที่จะปฏิบัติหน้าที่ ในความรับผิดชอบของตน ด้วยความ อุตสาหพยายาม ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และด้วยความ ละเอียดถี่ถ้วนระมัดระวัง อย่างเต็มที่ เพื่อมิให้เกิดความพลั้งพลาด เสียหาย และให้มั่นใจได้ว่าการใช้จ่ายเงินแผ่นดินได้ เป็นไปโดยบริสุทธิ์ และบังเกิดผลเป็นประโยชน์เต็มเม็ดเต็ม หน่วย...

2 พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
เนื่องในโอกาสครบรอบการสถาปนา ๘๔ ปี สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ๑๘ ก.ย. ๒๕๔๘

3 เงินแผ่นดิน ความหมาย เงินคงคลัง เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินกู้ เงินบริจาค เงินช่วยเหลือ ฯลฯ (เงินที่ส่วนราชการได้ไว้รับทั้งสิ้น / เงินที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานของรัฐ / เงินของทางราชการ) การจ่ายเงินแผ่นดินจะกระทำได้เฉพาะตามที่กฎหมายอนุญาต ให้จ่ายได้เท่านั้น ซึ่งเป็นไปตามหลักกฎหมายให้อำนาจ หรือ เรียกว่า “กฎหมายจำกัดสิทธิ์”

4 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หลักการให้จ่ายเงินแผ่นดิน
3 หลักการให้จ่ายเงินแผ่นดิน หลักกฎหมายมหาชน หลักกฎหมายเอกชน จนท.ของรัฐที่ได้รับการ แต่งตั้งตามกฎหมาย ประชาชนทั่วไป หลักการ สามารถกระทำการสิ่งใดๆ ได้ทุกอย่าง ถ้าไม่มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการห้ามไว้ จะกระทำการสิ่งใดได้ ต้องมีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการกำหนดให้อำนาจไว้เท่านั้น ( กฎหมายจำกัดสิทธิ์ )

5 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อ 34 อปท.จะจ่ายเงิน หรือก่อหนี้ผูกพันได้ 1.ตามข้อความ ที่กำหนดไว้ในงบประมาณรายจ่ายประจำปี หรืองบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม (ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ) 2.มีกฎหมาย (อำนาจหน้าที่) 3.ระเบียบ ข้อบังคับ (วิธีปฏิบัติ/วิธีดำเนินการ) 4.คำสั่งหรือหนังสือสั่งการของ มท. อนุญาตให้จ่าย (ซักซ้อมความเข้าใจ) 5.มีเงินรายได้เพียงพอที่จะเบิกได้ (ฐานะการคลัง) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงิน ข้อ 67 อปท.จะจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ หนังสือสั่งการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนดไว้

6 หัวข้อ หลักการ ข้อพึงระวัง
บัญญัติ 7 ประการ หัวข้อ หลักการ ข้อพึงระวัง 1. อำนาจหน้าที่ 2. งบประมาณ เทศบัญญัติ/ ข้อบัญญัติ 3. การเบิกจ่าย 4.ดุลพินิจ 5. เงิน /ฐานะทางการคลัง 6. ประโยชน์สูงสุด 7. โปร่งใส/ตรวจสอบได้ 1. กฎหมายจัดตั้ง 2. พ.ร.บ. กำหนดแผนฯ 3. กฎหมายอื่น 1. หน้าที่โดยตรง 2. ส่งเสริม หรือ สนับสนุน ใช้แผนพัฒนาฯ จัดทำ งปม.และมีที่มาของราคากลาง/โครงการฯ 1.ปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ 2.เป็นไปตามแผนพัฒนาฯ และไม่ซ้ำซ้อนกับ อปท.อื่น ระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือเวียน ไม่มีไม่สามารถเบิกจ่ายได้ / ถ้ามี + เชื่อโดยสุจริต 1.ชอบด้วยกฎหมาย 2.ต้องไม่มีส่วนได้เสีย 1. ใช้เท่าที่จำเป็น 2. เหมาะสมและประหยัด มีเพียงพอที่จะเบิกจ่ายได้ ต้องมีการจัดทำงบการเงิน/บัญชีให้ถูกต้องครบถ้วน การใช้จ่ายเงินแผ่นดินต้อเป็นไปโดยถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด จึงต้องอาศัยหลักการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง ซึ่งในที่นี้ขอเรียกว่า “บัญญัติ 7 ประการ” ดุลยพินิจ ต้องชอบด้วยกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ ต้องไม่มีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชน์ทับซ้อนไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม และเป็นไปตามเจตนารมณ์หรือวัตถุประสงค์ในเรื่องนั้น 1.ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนหรือผลประโยชน์ขัดกัน 2.ไม่ใช่เรื่องปัจเจก / ความเชื่อ / เพื่อตนเอง ประโยชน์สาธารณะประชาชนในพื้นที่ได้รับโยชน์โดยรวม เปิดเผยข้อมูล / จัดทำเอกสารถูกต้อง ต้องมีเอกสาร/หลักฐานไว้ประกอบการตรวจสอบ / ชี้แจงครบถ้วนถูกต้อง

7 หลักมาตรฐานการปฏิบัติของ อปท. และ สตง.
เกี่ยวกับการงบประมาณ การเงิน และพัสดุ ๑. อปท.มีอำนาจหน้าที่เบิกจ่ายเงินตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือหนังสือสั่งการของ ม.ท. ๒. สตง. มีอำนาจหน้าที่ตรวจสอบการใช้จ่ายเงินหรือ ทรัพย์สินของ อปท. ว่าเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือหนังสือสั่งการของ มท.

8 กองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

9 วัตถุประสงค์กองทุน เพื่อสนับสนุนและส่งเสริม “การจัดบริการสาธารณสุข” หรือดำเนินการ “กิจกรรมด้านสาธารณสุข” เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และ กลุ่มผู้ป่วย โรคเรื้อรัง สามารถ เข้าถึงบริการสาธารณสุข ได้อย่าง ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

10 การจัดบริการสาธารณสุข
การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต

11 การปฏิบัติงานเชิงรุก
หมายถึง : การจัดบริการที่มีลักษณะเป็นโครงการพิเศษ นอกเหนือจากการจัดบริการปกติของหน่วยบริการ เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงการบริการสาธารณสุขได้มากขึ้น เช่น การลงพื้นที่หรือชุมชนเพื่อให้บริการสาธารณสุขนอกหน่วยบริการ มิใช่การตั้งรับที่หน่วยบริการ หากเป็นการบริการในหน่วยบริการแต่เป็นการบริการ นอกเวลาปกติไม่ถือว่าเป็นการจัดบริการเชิงรุก

12 ผู้ขอรับการสนับสนุนและการดำเนินงาน
ลักษณะ การดำเนินการ / กิจกรรม 1.สถานบริการ สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ / เอกชน / สภากาชาดไทย / หน่วยบริการประกอบโรคศิลปะ /สถานบริการสาธารณสุขอื่น (ที่คณะกรรมการ สปสช.กำหนด) (1) ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุข การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ การักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก 2.หน่วยบริการ สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 3.หน่วยงานสาธารณสุข มีภารกิจด้านสาธารณสุขโดยตรงแต่มิได้เป็นสถานบริการหรือหน่วยบริการ เช่น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด /อำเภอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

13 การดำเนินการ / กิจกรรม
ผู้ขอรับการสนับสนุน ลักษณะ การดำเนินการ / กิจกรรม 4.หน่วยงานอื่น มิได้มีภารกิจด้านสาธารณสุขโดยตรง แต่ดำเนินการส่งเสริมสุขภาพ หรือป้องกันโรคใจขอบเขต เช่น โรงเรียน สถานศึกษา วัด (2) ดำเนินงานตามแผนงาน / โครงการ /กิจกรรม การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค (วัสดุที่มีลักษณะเป็นครุภัณฑ์ ไม่เกิน 5,000 บาท กลุ่ม/องค์กรประชาชนเป็นผู้เก็บรักษา) 5.กลุ่มหรือองค์กรประชาชน องค์กรชุมชน / เอกชน ที่มีการรวมตัวกัน 5 คนขึ้นไป การดำเนินกิจกรรมโดยมีวัตถุประสงค์ไม่แสวงหาผลกำไร เช่น ชมรม มูลนิธิ สมาคม หรือที่เรียกชื่ออย่างอื่น

14 การดำเนินการ / กิจกรรม
ผู้ขอรับการสนับสนุน การดำเนินการ / กิจกรรม ศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ที่เรียกชื่ออย่างอื่น ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาดูแลเด็กเล็กชุมชน หรือ ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ / ผู้พิการ (3) สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรม การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องก้นโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของรายรับของกองทุน) กองทุน (อปท.) (4) ค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ (ไม่เกินร้องละ 15 ของรายรับของกองทุน) หากจำเป็นต้องจัดซื้อครุภัณฑ์ต้องมีราคาไม่เกิน 20,000 บาทต่อหน่วย

15 การบัญชีและรายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือ
อปท.บันทึกเงินกองทุนฯ เป็น “เงินรับฝาก” ของ อปท. ตามหนังสือ กระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท /ว 110 ลงวันที่ เมษายน 2550 ตามประกาศฯ ข้อ 11 (7) และเอกสารแนบท้ายประกาศ เรื่อง หลักเกณฑ์ การรับเงิน การจ่ายเงิน การจัดทำบัญชีและรายงาน ข้อ 3.3 จัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการับจัดจ่ายเงินและเงินคงเหลือ เมื่อสิ้นปีงบประมาณ ส่งให้ สำนักงานสาขาจังหวัด สำนักงานเขต สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัด ภายในเดือน ธันวาคม ของทุกปี

16 ตอบปัญหา นายเชาว์วัฒน์ พุ่มพิน
นายเชาว์วัฒน์ พุ่มพิน ผู้อำนวยการสำนักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดอุบลราชธานี Tel

17 THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt ...การควบคุมและตรวจสอบเงินแผ่นดินเป็น สิ่งสำคัญและจำเป็น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google