ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยพิกุล รักไทย ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
ระดับหน่วยงานสนับสนุนการศึกษา ฝ่ายแผนพัฒนาและแผนการเงิน โดย สำนักงานประกันคุณภาพ
2
หัวข้อชี้แจง เหตุผลและความจำเป็น แนวทางการดำเนินงาน
- ตัวชี้วัด และเกณฑ์ - การรายงานผลการดำเนินงานประจำปี - คลินิก QA แผนการดำเนินงาน QA ปีการศึกษา 2560 การเปลี่ยนแปลงในปีการศึกษา 2561
3
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา
เหตุผลและความจำเป็น การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ กำหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน รวมถึงให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาทำหน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ข้อมูลสาธารณะ (public information) ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งนักศึกษา ผู้จ้างงาน ผู้ปกครอง รัฐบาล และประชาชนทั่วไป สถาบันอุดมศึกษามีความจำเป็นที่จะต้องสร้างความมั่นใจแก่สังคมว่าสามารถพัฒนาองค์ความรู้และผลิตบัณฑิต ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศให้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันระดับสากล การพัฒนาภาคการผลิตจริงทั้งอุตสาหกรรมและบริการ การพัฒนา อาชีพ คุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ระดับท้องถิ่นและชุมชน
4
ของการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานตั้งแต่ระดับหลักสูตร คณะวิชา และหน่วยงานสนับสนุนการศึกษา ตามระบบคุณภาพกลไกที่สถาบันนั้นๆ กำหนดขึ้น โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ในองค์ประกอบคุณภาพต่างๆ ว่าเป็นไปตามเกณฑ์และได้มาตรฐาน เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สะท้อนจุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุง ตลอดจนข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดำเนินงานเพื่อนำไปปรับปรุงผลการดำเนินงานในแต่ละระดับอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับขีดความสามารถของสถาบัน
5
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
มหาวิทยาลัยรังสิต การประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยเป็นกลไกที่เชื่อมโยงระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอกเข้าด้วยกัน มีระบบฐานข้อมูลที่สามารถรองรับการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งภายในและภายนอก ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงกำหนดระดับการประกันคุณภาพการศึกษาไว้ ดังนี้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร 2. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะวิชา 3. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน 4. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหน่วยงานสนับสนุนการศึกษา 5. การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก [สมศ.]
6
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดับหน่วยงานสนับสนุน คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัย มีนโยบายให้หน่วยงานสนับสนุนที่ปรากฏในผังโครงสร้างองค์กร ดำเนินการประกันคุณภาพเป็นประจำทุกปีการศึกษา เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน โดยสำนักงานประกันคุณภาพเป็น ผู้กำหนดตัวบ่งชี้กลาง และหน่วยงานสนับสนุนนั้น ๆ เป็นผู้กำหนดตัวบ่งชี้ที่เป็นการพัฒนาประสิทธิภาพของภาระงานประจำ โดยกำหนดการประเมินคุณภาพระดับหน่วยงานสนับสนุนอยู่ในช่วงเดือนสิงหาคม ถึง กันยายน ของทุกปีการศึกษา หน่วยงานจะมีระบบกลไกการประกันคุณภาพ มีแผนดำเนินงานประกันคุณภาพ และจะดำเนินการประเมินตนเองก่อนและให้คณะกรรมการประเมินที่ประกอบด้วย กรรมการภายนอกหน่วยงาน จำนวนอย่างน้อย 3 ท่านเป็นผู้ประเมิน เมื่อสิ้นสุดการประเมินคุณภาพประจำปี หน่วยงานสนับสนุนจะเสนอแผนปรับปรุงคุณภาพ ( improvement plan) ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพต่อผู้บังคับบัญชาสูงสุด เพื่อจะได้ดำเนินการปรับปรุงการดำเนินงานในปีการศึกษาต่อไป
7
ตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมิน
แนวทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมิน จำนวน 5 องค์ประกอบ [เช่นเดิมตามปีการศึกษา 2559] องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ [2 ตัวบ่งชี้] องค์ประกอบที่ 2 ภาระงานหลัก [ตามภารกิจของหน่วยงาน] องค์ประกอบที่ 3 การบริหารและการจัดการ [6ตัวบ่งชี้] องค์ประกอบที่ 4 การเงินและงบประมาณ [2 ตัวบ่งชี้] องค์ประกอบที่ 5 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ [2 ตัวบ่งชี้]
8
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2560
การรายงานผลการดำเนินงานประจำปี ของหน่วยงานสนับสนุนฯ - ยกเลิกการกรอกข้อมูลบนระบบออนไลน์ [QA System] - ให้จัดทำรายงานประจำปีของหน่วยงานเป็นรูปเล่ม และเชื่อมโยงเอกสารอ้างอิงตามตัวบ่งชี้ในรูปแบบ Hyperlink
9
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2560
สำหรับคณะกรรมการประเมินฯ โดยปรับรูปแบบการรายงานผลการดำเนินงาน ของหน่วยงาน - แบบฟอร์มการประเมิน และสรุปการสัมภาษณ์ - การนำเสนอข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการ เป็นภาพรวมทุกองค์ประกอบ [จากเดิมแยกตามองค์ประกอบ] เปิด คลินิก QA โดยจัดให้ความรู้ตัวชี้วัด และเกณฑ์การประเมิน ให้กับหน่วยงานที่ร้องขอ [แจ้งความประสงค์ในแบบสอบถาม]
10
แผนการดำเนินงาน QA ปีการศึกษา 2560
ที่ กิจกรรม ช่วงเวลา 1 อบรมตัวบ่งชี้ เกณฑ์ และการเขียน มคอ.7 หลักสูตร 27เม.ย.61 2 อบรมตัวบ่งชี้ เกณฑ์ และการเขียน SAR คณะ 8 พ.ค.61 3 ประชุมชี้แจงแนวทางประกันคุณภาพหน่วยงาน 16 พ.ค.61 4 จัด/แจ้ง ผู้ประเมินระดับหลักสูตร/คณะ พ.ค.-มิ.ย.61 5 อบรมผู้ประเมินระดับหลักสูตร 13 และ 14 มิ.ย.61 6 คลินิก QA หน่วยงานสนับสนุน มิ.ย.61 7 หลักสูตร/คณะ จัดทำ มคอ.7/SAR พ.ค.- มิ.ย.61 8 รวบรวมข้อมูลหน่วยงานกลาง เม.ย.- มิ.ย.61 9 หน่วยงานสนับสนุน จัดทำ SAR มิ.ย.-ก.ค.61
11
แผนการดำเนินงาน QA ปีการศึกษา 2560 [ต่อ]
ที่ กิจกรรม ช่วงเวลา 10 ประชุมกรรมการดำเนินงาน QA มหาวิทยาลัยรังสิต มิ.ย.61 11 อบรม CHE QA ONLINE ระดับหลักสูตร ก.ค.61-ส.ค.61 12 อบรม CHE QA ONLINE ระดับคณะวิชา ส.ค.61 13 กรรมการฯ ลงประเมินระดับหลักสูตร ก.ค.- ส.ค.61 14 กรรมการลงประเมินระดับคณะวิชา ส.ค.- ก.ย.61 15 กรรมการลงประเมินระดับหน่วยงานสนับสนุน ก.ย.-ต.ค.61 16 จัดทำ SAR ระดับสถาบัน มิ.ย.-ต.ค. 61 17 กรรมการลงประเมินระดับสถาบัน พ.ย.61
12
การเปลี่ยนแปลงในปีการศึกษา 2561
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจะประกาศมาตรฐานการศึกษากลาง สถาบันอุดมศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาสอดคล้องมาตรฐานการศึกษากลาง และสอดคล้องอัตลักษณ์ และบริบทของสถานศึกษานั้นๆ สถาบันอุดมศึกษาจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถาบัน จัดให้มีการประเมินและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเอง ติดตามผลการพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา จัดส่งรายงานการประเมินตนเองให้กับ สกอ. สกอ. ตรวจสอบการจัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา พร้อมประเด็นที่ต้องการประเมินให้ สมศ. สมศ. ประเมิน ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา ตามมาตรฐานของสถานศึกษา
13
การเปลี่ยนแปลงในปีการศึกษา 2561
ตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมิน แบบสอบถามความเห็น “ตัวชี้วัด” ของหน่วยงานฯ d
14
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.