งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา ภ.ก.สมชาย ละอองพันธุ์

2 2549 อปท.นำร่อง 888 แห่ง 2554 อปท.เต็มพื้นที่ผ่านการประเมิน
2557 ประกาศหลักเกณฑ์บริหารกองทุน (ให้ อปท.บริหาร) 2549 อปท.นำร่อง 888 แห่ง 2552 อปท.ที่มีความพร้อม 2554 อปท.เต็มพื้นที่ผ่านการประเมิน 2552 ประกาศหลักเกณฑ์บริหารกองทุน (ให้กลุ่มคนบริหาร) ข้อแตกต่างระหว่าง ประกาศ 57 และ 52 1.อปท.ต้องเป็นผู้บริหารกองทุน ภายใต้คณะกรรมการบริหารกองทุน 2.เงินเหลือส่งคืนกลับกองทุน (เดิมจะไม่ต้องส่งคืนเป็นของผู้รับทุน)

3 ภาพรวมเงิน UC ปี 61 กองทุนย่อย ไต ลอกต้อ อบจ. ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน
ส่งเสริมป้องกัน** กองทุนย่อย ส่งเสริมป้องกันระดับชาติ(PP_nation) ไต ส่งเสริมป้องกันระดับเขต PP_A (4บ./ปชก.) ลอกต้อ ส่งเสริมป้องกันในหน่วยงานสาธารณสุข(PP_Basic) (360บ.) ส่งเสริมป้องกัน_ชุมชน** 45 บ./ปชก. กองทุนดูแล ผู้สูงอายุ ฯ กองทุนฟื้นฟู 16บ./ปชก. อปท. สมทบ 30-60% อบจ. สมทบ 100%

4

5 การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายผ่านกองทุนสุขภาพตำบลเป็นฐาน
Health care (จัดบริการ) PCC ขับเคลื่อนพอประมาณ DHB-(พชอ.) นำร่องดำเนินการ 23 อำเภอ นโยบายขับเคลื่อนทุกแห่งอำเภอ LTC ปี 59 :101 แห่ง 1913 คน ปี 60 :115 แห่ง เพิ่ม 3696 คน ปี 61: Health promotion(ส่งเสริมสุขภาพ) Health policy(นโยบายสุขภาพ) บรูณาการอาหารใน ศพด.-ท้องถิ่น จ.สงขลา 100 แห่ง ต้นแบบธรรมนูญสุขภาพ 3 แห่ง ขับเคลื่อนตั้งคณะทำงานและร่างธรรมนูญ 33 แห่ง(8 แห่ง) 14 แห่ง โครงการต้านยาเสพติด ญาลันนันบารู PA ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ บูรณาการด้านอาหาร 5 อำเภอ 57 แห่ง 50 แห่ง ธรรมนูญสุขภาพผ่านงานกองทุนฯ

6 กลไกทำงานพัฒนากองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา
พี่เลี้ยง coaching 10 คน/จังหวัด ปรับระบบการบริหารกองทุน สนับสนุนการจัดทำแผนสุขภาพ พัฒนาโครงการที่มีคุณภาพ คณะทำงานพัฒนางานกองทุนตำบลจังหวัด ติดตามผลงานการบริหารกองทุน ผลักดันให้คำปรึกษาการบริหารกองทุน บัณฑิตอาสาพัฒนามาตุภูมิ เขียนโครงการแก้ปัญหาสุรา ยาสูบและสารเสพติดในนามหมู่บ้าน ตัวกลางช่วยเขียนและติดตามโครงการ ญาลันนันบารู เขียนโครงการแก้ปัญหาสุรา ยาสูบและสารเสพติดในนามหมู่บ้าน

7 ตัวชี้วัดการดำเนินงานของกองทุนฯที่เข้มแข็ง
มีแผนการจัดการระบบสุขภาพและ ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของชุมชน มีโครงการที่มีคุณภาพดี และสามารถลด ปัญหาสุขภาพได้ชัดเจน มีระบบติดตามประเมินผล 04/04/2019

8 ทิศทางการทำงานแก้ปัญหาสุขภาพผ่านกองทุนสุขภาพตำบล จากข้อมูล (Health Need Assessment) คนไทยสูญเสียช่วงชีวิตที่อยู่อย่างมีความสุข ไปถึง 10.2 ล้านปี หรือ 10.2 ล้าน DALY ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ บริโภคแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง การไม่สวมหมวกนิรภัย ภาวะคอเลสเตอร์รอลสูง การบริโภคผักไม่เพียงพอ ภาวะอ้วน น้ำหนักเกิน สถานการณ์โรคชายและหญิง อันดับ 1 โรคมะเร็งทุกชนิด อันดับ 2 โรคหัวใจและหลอดเลือด อันดับ 3 โรคหอบหืด COPD อันดับ 4 โรคเบาหวาน อันดับ 5 อุบัติเหตุ แผนสุขภาพ โครงการ

9 แนวทางพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพและจัดการระบบสุขภาพชุมชน
แผนสุขภาพกองทุนตำบล ระยะเวลา 3 ปี คณะทำงาน (ท้องถิ่น จ.-สปสช.-สธ.) เป้าหมาย สปสช.เขต-สธ.- สจรส.มอ.- อปท. (กองทุนสุขภาพตำบลทุกแห่ง) ผลผลิต:แผนสุขภาพตำบล ระยะเวลา 3 ปี - ผู้สูงอายุ - โรคเรื้อรัง(เบาหวาน ความดัน) - แม่และเด็ก - อุบัติเหตุและความปลอดภัยในชุน - ขยะและสิ่งแวดล้อม อาหาร-โภชนาการ เหล้า บุหรี่ และสารเสพติด โครงการแก้ปัญหาสุขภาพในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบล ระยะเวลา 3 ปี พี่เลี้ยงสนับสนุน ปรับแผนงาน/โครงการของกองทุนสุขภาพตำบล

10 แนวคิดทำแผนงาน/โครงการ
1.อยู่ไหน: สถานการณ์เป็นอย่างไร (เด็ก สูบบุหรี่ 50%) 2.ไปไหน:จุดหมาย/เป้าหมายอยากเห็น (ลด เด็กสูบบุหรี่ลงเหลือ 20%) 3.ไปอย่างไร:วิธีการสำคัญที่จะบรรลุ เป้าหมาย (กิจกรรม/แนวทางทำงาน) 4.ถึงรึยัง:การติดตามประเมินผล (มีโครงการ อะไรบ้าง)

11 สถานการณ์ระบบสุขภาพชุมชนจากการระดมความเห็นจากชุมชน
1.ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด เป็นต้น 2.ความปลอดภัยในชุมชน อาชญากรรม อุบัติเหตุ 3.โรคเรื้อรัง (เชิงรุกในชุมชน หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คัดกรองตาต้อ กระจก ลดภาวะโรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน ) 4.โรคติดต่อ ( โรคไข้เลือดออก ฉี่หนู มาลาเรีย มือเท้าปาก) 5.อนามัยแม่และเด็ก เด็กเยาวชน ครอบครัว( ตย.โรงเรียนพ่อแม่ ) 6.ผู้สูงอายุ (สนับสนุนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผสส.) 7.อาหารและโภชนาการ( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและ พัฒนาการเด็ก) 8.สิ่งแวดล้อม เช่น การจัดการขยะ 9.กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง (พฤติกรรม อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม)

12 โปรแกรมบริหารกองทุนสุขภาพตำบล ช่วยให้ผู้รับทุนพัฒนาโครงการเองได้
Module แผนสุขภาพ 10 ประเด็น Module พัฒนาโครงการ Module ติดตามโครงการ พิมพ์เอกสารโครงการ สถานการณ์สุขภาพ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการสำคัญ งบประมาณ โครงการที่ควรทำ(พัฒนา) โครงการที่ดำเนินการแล้ว หลักการและที่มาของปัญหาวัตถุประสงค์ เป้าหมาย กิจกรรม และรายละเอียดงบประมาณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ เสนอคณะกรรมการพิจารณา ดำเนินโครงการ บันทึกกิจกรรม รูปภาพและเอกสารการเงิน เอกสารสรุปโครงการ จัดการสมาชิกผู้รับทุน

13 ต้องออกคำสั่งจากอปท.(หนังสือตราครุฑ) แต่งตั้ง จนท.รับผิดชอบงานกองทุน
กองสาธารณสุข/สำนักปลัด บริหารทั่วไป กองคลัง พัสดุ รับผิดชอบงานบัญชี พัสดุ สำนักปลัด งานแผนกองทุนและงบประมาณ ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้งในคู่มือแบบฟอร์มจากเว็บกองทุนสุขภาพตำบล(

14 ตัวอย่างคำสั่ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่

15 บทบาทที่แตกต่างกัน...อปท. - คณะกรรมการ
คณะกรรมการบริหารกองทุน บริหารกองทุนฯภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการ รับผิดชอบงานธุรกรรม(เบิกเงิน/จัดทำบัญชี รับผิดชอบงานธุรการ เช่น เชิญประชุม จัดพัฒนาศักยภาพ ทำโครงการบริหารกองทุน 15% มาจากการแต่งตั้งตามโครงสร้าง ประกาศฯ อำนาจหน้าที่ตามข้อ 11 ประกาศ เช่น - ออกระเบียบที่จำเป็นต่อการบริหารกองทุน - ตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน - เห็นชอบทางบัญชี รายงานทางการเงิน - ให้ความเห็นทำข้อมูล แผนสุขภาพ - ติดตามการทำโครงการ

16 หน้าที่คณะกรรมการตามประกาศข้อ 11
1.พิจารณาแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์กองทุน(กรรมการสามารถเสนอโครงการ ให้ความเห็น ได้ แต่ไม่มีสิทธิออกเสียง 2.ออกระเบียบที่จำเป็นสำหรับการบริหารกองทุนฯให้มีประสิทธิภาพ 3.ควบคุมกำกับและดูแลการรับเงิน จ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การ จัดทำบัญชี(ประชุมอย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี) 4.กำกับดูแลให้หน่วยงานหรือองค์กรที่รับทุนตามข้อ 7 ให้เป็นไปตาม แผนงาน โครงการหรือกิจกรรมที่อนุมัติ 5.สนับสนุนการเข้าถึงบริการสาธารณสุขตามกลุ่มเป้าหมายต่างๆใน พื้นที่ 6.ให้คำแนะนำการจัดทำข้อมูลและแผนดำเนินงานเกี่ยวกับปัญหา สาธารณสุขในพื้นที่ 7.พิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานทางการเงิน เงินคงเหลือ 8.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการและคณะทำงาน

17 การขอรับการสนับสนุนโครงการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ประเภท หน่วยงานที่ขอรับ ขอบเขตกิจกรรม เงื่อนไข 7(1) หน่วยบริการ(โรงพยาบาลอำเภอ/รพ......) สถานบริการ (รพ.สต. –คลินิกแพทย์เอกชน-รพ.เอกชน) หน่วยงานสาธารณสุข (สนง.สาธารณสุขอำเภอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม) จัดบริการสาธารณสุขใน 5 กลุ่มวัย แม่และเด็ก เด็กก่อนวัยเรียน วัยเรียน ผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาปฐมภูมิเชิงรุก ให้สอดคล้องกับสภาพของโครงการ 7(2) กลุ่มประชาชน(ชาวบ้าน 5 คนรวมกลุ่มไม่ต้องจดทะเบียน)/ชมรม/มูลนิธิ/หน่วยงานอื่น(วัด มัสยิด โรงเรียน กองการศึกษา กองช่าง) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค วัสดุที่มีลักษณะครุภัณฑ์ไม่เกิน 5,000บาท/โครงการ 7(3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก /ศูนย์พัฒนาผู้สูงอายุ/ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการหรือชื่ออื่น ไม่น้อยกว่า 15%ของรายรับปีนั้น 7(4) สำนักเลขากองทุนฯ หรือ หน่วยงานและเจ้าหน้าที่รับการแต่งตั้ง บริหารจัดการให้กองทุนมีประสิทธิภาพไม่เกิน 15%ของรายรับปีนั้น ครุภัณฑ์ไม่เกิน 20,000บาท/รายการ 7(5) หน่วยงานใดก็ได้ที่มีความพร้อม(ตั้งงบไม่พอ)/แสดงมติการกันเงินและมอบอำนาจการเบิกจ่ายให้นายก อปท. บรรเทาปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้น จากภัยพิบัติหรือโรคระบาด กันไว้ 5-10% หรือตามสถานการณ์ หรือโอนให้หน่วยงานที่ทำโครงการเลย

18 ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด

19

20

21 ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มวัยทำงาน

22 ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : ผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

23 ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ

24 ชุดสิทธิประโยชน์เพื่อรับการสนับสนุนเงินจากกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

25

26 หลักการพิจารณาโครงการ
สอดคล้องวัตถุประสงค์(ไม่สร้างรายได้ นันทนาการ ศาสนา ประเพณี) ไม่ซ้ำซ้อนงบปกติ (ควบคุมโรคติดต่อ ไข้เลือดออก) ค่าใช้จ่ายต้องเหมาะสม คุ้มค่า (ไม่ ฟุ่มเฟือย) กรณีศึกษา แจกของรางวัลถ้วนหน้า (แจกผ้าขาวม้าในกิจกรรมขลิบอวัยวะ /ผ้าถุง คัดกรองมะเร็งปากมดลูก(ให้เหตุผลว่าเป็นอุปกรณ์เพื่อความสะอาดได้)  ประกวดมอบรางวัล (มอบโล่รางวัล ประกาศนียบัตรได้)  ทัศนศึกษาดูงานอย่างเดียว/ซื้อเสื้อแจก คณะกรรมการ อบรมพัฒนาศักยภาพอย่างเดียว( อบรม อสม.)  จัดงานสร้างกระแสครั้งเดียวจบ เช่น จัดแรลลี่จักรยาน วิ่งมาลาทอน เป็นต้น  แข่งขันกีฬาแบบครั้งเดียวจบ เช่น กีฬานักเรียน เด็กเล็ก คนสูงอายุ

27 ประกาศข้อ 7 หลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯ พ.ศ.2557
กำหนดดังนี้ เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุน หรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่าย ตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ คณะกรรมการมีอำนาจทางปกครอง/ออกคำสั่งทางปกครอง(อนุมัติ/ไม่อนุมัติ) -ประชุมต้องชอบด้วยกฎหมาย(มากกว่าครึ่งของจำนวนกรรมการ เช่น มี ก.ก. 15คน ต้องประชุมอย่างน้อย 8 คน อนุมัติโครงการเสียงเกินกึ่งหนึ่ง) -โครงการที่ทำก่อน คณะกรรมการอนุมัติ ไม่ผ่านกรรมการ โครงการมิชอบ เป็นโมฆะ อนุมัติ ค่าใช้จ่าย เงื่อนเวลาทำงาน(ระยะเวลาทำงาน ควรเป็นไปตามปีงบประมาณ แต่ไม่ห้ามให้ทำงานข้ามปีงบประมาณก็ได้ ส่งสรุปผลงาน เอกสารการเงิน ภายหลังเสร็จงาน 1 เดือน

28 ความเข้าใจคลาดเคลื่อนของ คณะกรรมการและ อปท.
กองทุนฯจะสนับสนุนงบประมาณดำเนินโครงการแก่ผู้รับ ทุน ต้องใช้ระเบียบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ้างอิงทุก ประเด็นกับผู้รับทุน (ไม่จริง) ใช้ประกาศกองทุนฯ ปี เป็นสำคัญ เนื่อง สปสช.มีระเบียบกองทุนของหน่วยงาน เมื่อคณะกรรมการกองทุนฯอนุมัติและโอนเงินยัง หน่วยงานรับทุนแล้ว การให้ได้มาหรือนำเงินไปใช้ให้ เป็นไปตามระเบียบหน่วยงานรับทุน เช่น ในโครงการมี การจัดซื้อของ การดำเนินการจัดซื้อต้องเป็นไปตาม ระเบียบของหน่วยงานที่รับทุน 7(4) การซื้อครุภัณฑ์สำหรับบริหารกองทุน ต้องใช้ระเบียบ ของ อปท.โดยอนุโลม 7(4) หากมีกิจกรรมจ้างลูกจ้างกองทุนฯ และการให้ได้มา ซึ่งลูกจ้าง เช่น การคัดเลือก หรือการจัดจ้าง ก็นำเอา ระเบียบของ อปท.มาใช้โดยอนุโลม

29 ความเข้าใจถูกต้องและคลาดเคลื่อนของ คณะกรรมการและ อปท.
กลุ่มบุคคลที่ขอรับทุนตาม 7(2) ไม่ต้องจดทะเบียนเป็น ชมรม หรือนิติบุคคลก็ได้ เงินกองทุนสุขภาพตำบล ใช้ได้กับบุคคลบัตรทองเท่านั้น ไม่จริง ทำโครงการกับทุกสิทธิ ผู้มาร่วมโครงการเป็นบุคคลนอกพื้นที่จำเป็น เช่น มาเรียน มาติดคุก หรือมาพักอาศัย แม้จะมีทะเบียนบ้านอยู่ที่อื่นย่อม ทำได้ ยกเว้น การจัด event ซึ่งเล็งเห็นผลแล้วว่า มีบุคคล นอกพื้นที่มาร่วมแน่นอน ต้องคืนเงินสำหรับการใช้จ่ายกับ บุคคลนอกพื้นที่ สามารถมีได้และเขียนไว้ในโครงการค่าตอบแทนนอกเวลา บุคคลภายนอกได้ (อสม.ก็มีได้) เข้าใจผิดว่า หน่วยบริการ(รพ.ชุมชน) สถานบริการ(รพ.สต. คลินิกเอกชน)หน่วยงานสาธารณสุข(กอง สธ. และ สสอ.) ค่า ครุภัณฑ์ต้องไม่เกิน 20,000 บาท(ไม่จำกัด)

30 กองทุนฯที่ไม่ลงเงินรับจาก สปสช. ผ่านเว็บกองทุนสุขภาพตำบล
จังหวัด รายชื่อกองทุน ตรัง (1 แห่ง) อบต.เขาวิเศษ นราธิวาส(1 แห่ง) อบต.มูโนะ ปัตตานี (2 แห่ง) อบต.ช้างไห้ตก อบต.ตรัง ยะลา (0 แห่ง) สงขลา(1 แห่ง) อบต.สำนักแต้ว พัทลุง (0 แห่ง) ครบถ้วน สตูล(0 แห่ง) ประสานพี่เลี้ยงติดตามการลงข้อมูลให้เรียบร้อยด้วย ภายใน 11 มิ.ย. 61

31 ค่าใช้จ่ายตามกิจกรรม
ประชุมอบรม ลงปฏิบัตการพื้นที่ (ทั้งวัน) (-) (ถ้ามี) แนบกำหนดการ ค่าอาหารกลางวัน และ เครื่องดื่ม ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าตอบแทนค่าวิทยากร ค่าใช้สอย เช่น ค่าเช่าสถานที่ เครื่องเสียง เป็นต้น ค่าพาหนะหรือชดเชยน้ำมัน เชื้อเพลิง ค่าวัสดุและครุภัณฑ์ ค่าจ้างเหมา(พ่นยุง)…….. ค่าตอบแทนนอกเวลา

32 การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
ภายใน ม.ค- ก.พ. 61 7(1)= จัดบริการสาธารณสุข ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู และรักษาเชิงรุก รพ.ชุมชน รพ.สต. สนง.สาธารณสุขอำเภอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ศูนย์บริการสาธารณสุข โอนตัดขาดเข้าบัญชี 7(2)= กิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค (วัสดุที่มีลักษณะครุภัณฑ์ ไม่เกิน 5,000 บาท) กลุ่ม ชมรม องค์กรประชาชน และชาวบ้าน 5 คน (ไม่ต้องจดทะเบียน) โอนตัดขาดเข้าบัญชี 7(3)= กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ศูนย์พัฒนาครอบครัว ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และคนพิการ โอนตัดขาดเข้าบัญชี เบิกเงินจากบัญชีกองทุน จ่ายเช็คให้เลขานุการ ตามที่จัดกิจกรรมแต่ละครั้ง 7(4)= บริหารจัดการกองทุน ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ประจำ อปท. 7(5)= ภัยพิบัติ ฉุกเฉิน โรคระบาด หน่วยงานหรือกลุ่มองค์กรใดก็ได้ โอนตัดขาดเข้าบัญชี

33 ขั้นตอนการเสนอโครงการของ รพ.สต.
-จ่ายเงินเป็น(เช็ค/โอนเงิน/ตั๋วแลกเงิน) อบต./เทศบาล คณะกรรมการพิจารณาโครงการ จนท.กองทุนรวบรวมโครงการเสนอให้คณะกรรมการพิจารณา กองทุนสุขภาพตำบล ผอ.รพ.เห็นชอบโครงการ จนท.เขียนโครงการด้านสุขภาพ รพ.สต.

34 ขั้นตอนการรับเงินและใช้เงินกองทุนของ รพ.สต.
นพ.สสจ. - ขออนุมัติโครงการ /ไม่ต้องอนุมัติ ? ตรัง ยกเว้นหลักสูตรอบรม สสจ. สงขลา ต้องให้ นพ.สสจ.อนุมัติ ? ผอ.รพ.รับเงินเอง(มอบอำนาจ) ออกใบเสร็จรับเงิน บัญชีเงินบำรุงเงินรับฝาก รพ.สต.(แยกบัญชีก็ได้ แต่ทำสมุดบัญชีคุม) รพ.สต.

35

36

37 - สรุปการประชุมคณะกรรมการ

38

39

40 เงินอุทิศ

41 เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงินกองทุนสุขภาพตำบล
1. โครงการ (เขียนหรือพิมพ์จากเว็บไซต์ก็ได้) 2. บันทึกข้อตกลง (TOR :term of reference) กองทุน-ผู้รับทุนจากเว็บไซต์ 3. เอกสารสรุปผลการประชุม(เน้นวาระการอนุมัติ โครงการว่ามีกี่โครงการที่อนุมัติ จำนวนเงินที่อนุมัติ) 4. ใบเบิกเงิน(ฏีกา) ทำจากระบบเว็บไซต์ ***โครงการบริหารกองทุน ฯ 15% ใช้โครงการและใบเบิก เงินออกมาแต่ละครั้งที่ประชุม

42 แนวทางทำงานกองทุนปี 62 1.ใช้มาตรการทางการเงินกับกองทุนเข้มข้น เช่น ยุบเลิกกองทุนไม่ทำกิจกรรม 2 ปี ติดต่อกัน และไม่จัดสรรกองทุนที่มีเงินสะสมมากกว่า 2 เท่าของรายรับ 2. กองทุนตำบลต้องป้อนแผนและโครงการ 62 ก่อน จึงโอนเงินให้ สปสช.จะจัด พัฒนาศักยภาพกองทุน เรื่องทำแผน และการเขียนโครงการ เดือน ก.ค.-ส.ค. รายจังหวัด และกอทุนจะต้องทำแผนและพัฒนาให้ได้โครงการทั้งหมด ปี 62 คีย์ ผ่านเว็บไซต์ พี่เลี้ยงต้องไฟเขียวว่า โอนได้ 3.เพิ่มกลไกติดตามโดยคณะทำงานระดับจังหวัด (สสจ.,สสอ.,ท้องถิ่นจังหวัด)มี เงินสนับสนุนให้เฉลี่ย 1,000 บาท/กองทุน 4.พัฒนาวิทยากร ครู ก.กองทุน ฯของระดับเขต เพื่อบรรยายเรื่องประกาศ ฉ. ใหม่ –เพื่อให้ไปบรรยายและแนะนำการบริหารกองทุนตำบลและ LTC ราย อำเภอ กับคณะกรรมการบริหาร (สนับสนุน 1,000 บาท/กองทุน) 5.สนับสนุนกลไกพี่เลี้ยงกองทุนตำบล LTC ลงติดตามรายกองทุนหรือภาพรวม อำเภอ (สนับสนุน 2,000 บาท/กองทุน) ตัวชี้วัด 1.อปท.ต้องโอนสมทบเข้ากองทุนภายใน ธ.ค.ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 ของจำนวนกองทุนทั้งหมด

43 หลักเกณฑ์ การจัดสรรเงินกองทุนตำบล ปี 62
ใช้ข้อมูลประชากร 1 เมษายน ประกอบการจัดสรร ทำแผนสุขภาพ-ป้อนโครงการ ปี 62 ใน ระบบเว็บไซต์ เงินสะสมมากกว่า 2 เท่าของรายรับ ไม่ จัดสรรเพิ่ม เงินที่เหลือ เอาไปไหน คืนส่วนกลาง เขตจัดสรรแก่ อปท.ที่ผลงานดีและมีความ พร้อมการสมทบ

44 แนวทางดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล ปี 62
ระยะเวลา กิจกรรม 1-31 พ.ค.61 ป้อนข้อมูลประชากรทุกสิทธิ์ (1 เม.ย.2561) และเงินสมทบตามขนาด อปท.ในโปรแกรม มิ.ย. 61 ทำแผนสุขภาพกองทุน ปี 62 (เลือกจาก10 ประเด็นตามความต้องการในโปรแกรมฯ) ใช้งบบริหาร ปี 61 มิ.ย.-ก.ย. 61 กองทุนสุขภาพตำบล แผนสุขภาพ และป้อนโครงการใช้เงิน ปี 62 เพื่อให้พี่เลี้ยงแนะนำ 7.1) รพ.สต./รพช./กองสาธารณสุขอำเภอ 7.2) กลุ่มชาวบ้าน หน่วยงานอื่น 7.3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 7.4) โครงการบริหารกองทุนฯปี ) โครงการเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ส.ค.61 อปท.นำรายละเอียดเงินสมทบเข้าสภา อปท.เพื่ออนุมัติและสมทบเข้ากองทุนภายใน ไตรมาสแรก 62 ต.ค.-ธ.ค. 61 สปสช.โอนเงินเฉพาะ อปท.ที่ป้อนโครงการใช้เงินทั้งหมด 62 ครบเข้าระบบโปรแกรมแล้วเท่านั้น (พี่เลี้ยงไฟเขียว) กองทุนสุขภาพตำบลประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 1 อนุมัติแผน/โครงการ ฎีกาให้ผู้รับทุนภายใน ธ.ค. อปท.โอนเงินสมทบเข้ากองทุนสุขภาพตำบล ภายใน ธ.ค. ไม่จัดสรร กรณี ไม่สมทบปี 61 เงินสะสมเกิน 2 เท่ารายรับ ไม่ป้อนโครงการปี 62 (ทั้งหมด)

45 เงินสะสมยกมาก่อน 61 ปี 61

46 สถานการณ์การเงินกองทุนสุขภาพตำบล ในเขต อ.หาดใหญ่ ปี 2561

47

48

49 สถานการณ์การเงินกองทุนสุขภาพตำบล ในเขต อ.หาดใหญ่ ปี 2561


ดาวน์โหลด ppt กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google