ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วาระ 3.1 รายงานป้อนกลับ รายงานผลการประเมินสถานะ การเป็นระบบราชการ 4.0 ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จากระบบการประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐ ในการเป็นระบบราชการ 4.0 ของสำนักงาน ก.พ.ร.
2
ผลการประเมินของผู้ตรวจฯ
ผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลำดับ หน่วยงาน ผลการประเมินของผู้ตรวจฯ 1 กรมปศุสัตว์ 3.58 2 กรมชลประทาน 2.04 3 กรมวิชาการเกษตร 2.02 4 สำนักพัฒนาระบบบริหาร 1.73 5 กรมส่งเสริมสหกรณ์ 1.70 6 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1.58 7 สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 1.56 8 สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 1.50 9 กรมประมง 1.49 10 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 1.36 11 กรมส่งเสริมการเกษตร 1.19 12 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร 1.12 13 กรมหม่อนไหม 1.10 14 กรมการข้าว 0.38 15 กรมพัฒนาที่ดิน 0.03 ผลประเมินเฉลี่ย = 1.36
3
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเด็นพิจารณา 1.1 ระบบการนำองค์การที่สร้างความยั่งยืน 1.2 การป้องกันทุจริตและความโปร่งใส 1.3 การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ผ่านการสร้างการมี ส่วนร่วมจากเครือข่ายทั้งภายนอกและ ภายใน 1.4 คำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม ประเด็นพิจารณา 2.1 แผนยุทธศาสตร์ที่ตอบสนองความท้าทายและ สร้างนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลง 2.2 เป้าหมายยุทธศาสตร์ทั้งระยะสั้นและระยะยาว สอดคล้องพันธกิจและยุทธศาสตร์ชาติ 2.3 แผนงานขับเคลื่อนลงไปทุกภาคส่วน 2.4 การติดตามผล การแก้ไขปัญหา และการรายงาน ผล ประเด็นพิจารณา 3.1 ระบบข้อมูลและสารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อ การบริการและการเข้าถึง 3.2 การประเมินความพึงพอใจและความผูกพัน 3.3 การสร้างนวัตกรรม การบริการ และตอบ สนองความต้องการเฉพาะกลุ่ม 3.4 กระบวนการแก้ไขข้อร้องเรียนที่รวดเร็วและ สร้างสรรค์ จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 การจัดการผลกระทบต่อสังคม เนื่องจากกรมไม่ได้มีการแสดงให้เห็นแนวทางในการคัดเลือกโครงการ กระบวนการและยุทธศาสตร์และประเมินผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นต่อสังคมอย่างชัดเจน จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 ควรแสดงให้เห็นความชัดเจนของยุทธศาสตร์ที่ส่วนราชการได้กำหนดว่ามีกระบวนการอย่างไร มีความเชื่อมโยงและตอบสนองต่อข้อกำหนดภายใต้เกณฑ์ในแต่ละข้ออย่างไร จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 การสร้างนวัตกรรมและการบริการที่แตกต่าง ส่วนราชการควรแสดงให้เห็นว่า นวัตกรรม SMART 4 M เป็นนวัตกรรมอย่างไร เป็นสิ่งใหม่ที่สร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นอย่างไร
4
หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบ ปฏิบัติการ
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบ ปฏิบัติการ ประเด็นพิจารณา 5.1 ระบบการจัดการบุคลากรตอบสนองยุทธศาสตร์ และสร้างแรงจูงใจ 5.2 ระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ คล่องตัวและ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 5.3 การสร้างนวัตกรรม การทำงานที่ดีและความ ร่วมมือ 5.4 ระบบการพัฒนาบุคลากร ประเด็นพิจารณา 4.1 การกำหนดตัววัดเพื่อการติดตามงาน อย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 การวิเคราะห์ผลจากข้อมูลและตัววัดใน ทุกระดับเพื่อการแก้ปัญหา 4.3 การใช้ความรู้และองค์ความรู้ของส่วน ราชการในการแก้ปัญหา เรียนรู้และมี เหตุผล 4.4 การบริหารจัดการข้อมูล และการปรับ ระบบการทำงานเป็นดิจิทัลเต็มรูปแบบ ประเด็นพิจารณา 6.1 กระบวนการทำงานเชื่อมโยงตั้งแต่ต้นจนจบ นำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ 6.2 การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรุงผลผลิต กระบวนการการให้บริการ 6.3 การลดต้นทุน การใช้ทรัพยากรเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและความสามารถในการ แข่งขัน 6.4 การมุ่งเน้นประสิทธิผลทั้งองค์การและ ผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ประเทศ จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 - นโยบายและระบบการจัดการด้านบุคลากร ควรมีการแสดงให้เห็นว่าได้มีการจัดบุคลากรให้สอดคล้องกับความรู้ ความสามารถสอดคล้องกับความต้องการขององค์การและผู้รับบริการ ควรมีการแสดงความเป็นระบบของการพัฒนาบุคลากรให้มีความชัดเจนว่า มีแนวทางการพัฒนาบุคลากรที่เป็นระบบ มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกับสมรรถนะที่องค์การต้องการ สามารถสร้างให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถและขีดสมรรถนะ มีคุณธรรม มีจริยธรรม และมีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 การวัดผลจากข้อมูล และตัววัด เพื่อการแก้ปัญหาและตอบสนองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา และเชิงรุก ไม่ควรเป็นการแก้ไขปัญหาเพียงแค่ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เท่านั้น แต่ต้องนำไปสู่การแก้ไขปัญหาขององค์การทั้งในระดับ ปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ จุดที่ควรพัฒนาเพื่อนำไปสู่การเป็น ระบบราชการ 4.0 ควรแสดงให้เห็นการมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการที่มีความครอบคลุมกระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุนขององค์การอย่างครบถ้วน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.