งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วันอังคารที่ ๓ พฤษภาคม 2559 ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วันอังคารที่ ๓ พฤษภาคม 2559 ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วันอังคารที่ ๓ พฤษภาคม 2559 ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร
การจัดกระบวนการเรียนรู้ หัวข้อเรื่อง เทคนิคการเป็นวิทยากรกระบวนการ (Facilitator) วันอังคารที่ ๓ พฤษภาคม 2559 ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดสมุทรสาคร

2 วิทยากร อุบลวรรณ อารยพงศ์ นักวิชาการเผยแพร่ชำนาญการ กรมส่งเสริมการเกษตร

3 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ๑
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ๑. เพื่อทำความรู้จักตัวตนที่แท้จริง ของวิทยากรกระบวนการ ๒. เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็น (บางทักษะ) ตามเวลาที่มีอยู่

4 ข้อตกลงร่วมของเรา ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ครั้งนี้

5  วิทยากรจะจัดประสบการณ์ให้ โดยการ. ๑. ฟัง (บรรยาย/อภิปราย) ๒
 วิทยากรจะจัดประสบการณ์ให้ โดยการ ๑. ฟัง (บรรยาย/อภิปราย) ๒. จัดกิจกรรมให้ทำ

6  วิทยากรจะจัดเวที...ให้ทุกท่าน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
 วิทยากรจะจัดเวที...ให้ทุกท่าน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน

7  วิทยากรจะให้ทุกคนประมวล สรุปบทเรียนร่วมกัน
 วิทยากรจะให้ทุกคนประมวล สรุปบทเรียนร่วมกัน

8  โดยคาดหวังว่าท่าน...จะนำความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และสิ่งต่าง ๆ ที่ได้รับจากการเรียนรู้ในวันนี้ ไปประยุกต์ใช้เกิดประโยชน์ กับการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ตามที่ได้รับมอบหมาย

9 บรรยาย ประกอบการนำอภิปราย

10 วิทยากรกระบวนการ คือใคร ?
วิทยากรกระบวนการ คือใคร ?

11 - คนที่ช่วยครูฝึกจัดกระบวนการเรียนรู้
ให้บรรลุวัตถุประสงค์ (แยกเป็นส่วน ๆ ) - คนที่ช่วยทำให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ จากกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง - คนที่ช่วยสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ - คนที่ช่วยทำให้เรื่องต่าง ๆ ง่ายขึ้น

12 วิทยากรกระบวนการ สำคัญอย่างไร ?
วิทยากรกระบวนการ สำคัญอย่างไร ?

13 - ทำให้คนกลุ่มต่าง ๆ เกิดการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ทำให้หน่วยงานสามารถสร้าง การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย ของตนเองได้ - Fa เก่ง ๆ จะทำให้การจัดกระบวนการ เรียนรู้ของหน่วยงานมีชีวิตชีวา

14 วิทยากรกระบวนการ ต้องทำอะไรบ้าง ?
วิทยากรกระบวนการ ต้องทำอะไรบ้าง ?

15 ๑. ประสานงาน ผู้จัด/เจ้าของงาน เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล กำหนดลักษณะผู้เข้าร่วม บรรยากาศสถานที่ที่เอื้อต่อการมีส่วนร่วม วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น - เพื่อวางแผนกำหนดกิจกรรม - เพื่อกำหนดกระบวนการทำงานของกลุ่ม (ระดมสมอง, อภิปรายกลุ่ม)

16 ๒. เตรียมประเด็นหลัก โจทย์คำถามเพื่อมอบให้กับกลุ่มช่วยกัน ระดมสมองหรือหาคำตอบ ๑. กำหนดเอง ๒. มาจากวิทยากรหลัก

17 ๓. ชี้แจงวัตถุประสงค์ รูปแบบ กฏกติกา แก่กลุ่ม
๔. ต้องตระหนักว่าตนเองไม่ใช่ประธาน กลุ่ม เป็นเพียงผู้สนับสนุนให้กลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ๕. สร้างบรรยากาศที่ดีในการประชุม

18 ๖. กระตุ้นให้คนแสดงความคิดเห็นอย่าง ทั่วถึง ๗
๖. กระตุ้นให้คนแสดงความคิดเห็นอย่าง ทั่วถึง ๗. ใช้กลยุทธ์ปรามคนที่แสดงความ คิดเห็นมากเกินไปอย่างสุภาพ ๘. เชื่อมโยงเนื้อหาที่ระดมความคิดจาก แต่ละคน

19 ๙. ใช้สื่อช่วยให้กลุ่มเกิดความเข้าใจ และติดตามเนื้อหาการประชุมอย่าง ต่อเนื่อง ๑๐. ช่วยแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้ การประชุมเป็นไปได้อย่างราบรื่น ๑๑. ไม่บอกหรือสอนกลุ่ม ให้คิดและ ค้นหาคำตอบด้วยตนเอง

20 ๑๒. ช่วยเพิ่มเติมข้อมูลที่เกี่ยวข้องและ จำเป็นแก่กลุ่ม ๑๓
๑๒. ช่วยเพิ่มเติมข้อมูลที่เกี่ยวข้องและ จำเป็นแก่กลุ่ม ๑๓. ช่วยสรุปผลการประชุม (หากประธาน ไม่สามารถทำหน้าที่ได้) ๑๔. หากช่วยสรุป...ต้องเกริ่นนำ...บทสรุป อาจไม่ถูกต้อง สมบูรณ์ ให้กลุ่มช่วย กันพิจารณา เพราะเป็นผลงานกลุ่ม

21 ๑๕. ในกรณีสกัดองค์ความรู้ ต้องช่วยให้ กลุ่มสร้างกรอบการวิเคราะห์ ทำการ วิเคราะห์ และหาข้อสรุปด้วยตนเอง ๑๖. จดบันทึก สรุปประเด็นสำคัญ (หาก กลุ่มต้องการให้ช่วย) ๑๗. ช่วยเตรียมการให้ผู้แทนกลุ่ม นำเสนอกลุ่มใหญ่อย่างมีประสิทธิภาพ

22 วิทยากรกระบวนการ จำเป็นต้องมี...และ ใช้...ทักษะอะไรบ้าง?

23 ๑. ทักษะการใช้คำถามหลากหลายชนิด เพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ และให้คนกล้า คิด และกล้าแสดงออก ๒. ทักษะการพูดหรือการบอกเล่าอย่าง มีประสิทธิภาพ ๓. ทักษะการฟังอย่างมีประสิทธิภาพ ๔. ทักษะการสรุป และจับประเด็น

24 ๕. ทักษะการสังเกต ๖. ทักษะการสื่อความหหมาย การเขียนกระดาน การเขียนและใช้ภาพพลิก การเขียนและใช้บัตรคำ ๗. ทักษะการให้ข้อมูลที่จำเป็นแกลุ่ม (โดยไม่ใช่เป็นการสอน)

25 ๘. ทักษะการรับมือกับคนที่มีลักษณะ ต่างๆ เพื่อไม่ให้ใครบางคนพูดมากไป เพื่อไม่ให้ใครบางคนพูดออก นอกเรื่อง เพื่อไม่ให้ใครบางคนยืนยันแต่ ความคิดของตัวเอง

26 Do & Don’t การเป็นวิทยากรกระบวนการ

27 สิ่งที่ควรทำ (Do) - ศึกษาเนื้อหาที่ต้องทำหน้าที่ให้แจ่มชัด - สร้างความเชื่อมั่นให้แก่กลุ่ม (มีความ ชัดเจน มีชีวิตชีวา กระตืรือล้น - ใช้เรื่องตลก สนุก และตัวอย่างที่ สอดคล้องกับเนื้อ/ภารกิจที่กลุ่มได้รับ มอบหมาย

28 - คัดเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่ม - ใช้สื่อให้เป็น (กระดานดำ ภาพพลิก บัตรคำ ฯลฯ - เตรียมการให้ดี (เนื้อเรื่อง วัสดุอุปกรณ์ การจัดที่นั่งล่วงหน้า ฯลฯ)

29 - คิด วิเคราะห์ตลอดระยะเวลาระหว่างทำ กิจกรรม (ระวังหลุมพลางเรื่องเวลา) - อธิบายทิศทางการทำกิจกรรม - เตรียมพร้อมสำหรับคำถามที่จะตามมา - สังเกตการมีส่วนร่วมและความทุ่มเท ของสมาชิก

30 - คอยติดตามความรู้สึกของสมาชิก ในการทำกิจกรรม - ประมวลเนื้อหาร่วมกับสมาชิกในกลุ่ม - ทบทวนความคิด ความรู้สึกของสมาชิก เมื่อเห็นสมควร - เตรียมพร้อมที่จะพูด หรืออธิบายข้อมูล

31 - เพิ่มเติมข้อมูลให้กับสมาชิก เช่น ในช่วง เวลาพัก ระหว่างทานอาหาร ฯลฯ - ประเมินความต้องการของกลุ่มเมื่อ หมดเวลา เพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัด กิจกรรมในวันถัดไป

32 - ประเมินสถานการณ์ และบันทึกข้อมูล ในการพูดคุยครั้งต่อไป - กล่าวขอบคุณสมาชิกกลุ่มที่เข้าร่วม ในการทำกิจกรรมของกลุ่ม...

33 สิ่งที่ไม่ควรทำ (Don’t) - เมินเฉย ดูหมิ่นความคิดของสมาชิกกลุ่ม - ยกเอาเรื่องส่วนตัว หรือความเห็น ของบางคนมาเป็นมติ หรือคำตอบ ของกลุ่ม - ครอบงำกลุ่ม

34 - ส่งเสียงที่แสดงความเบื่อหน่าย/รังเกียจ - อ่านคำถามกระตุ้น หรืออ่านข้อมูล ที่ได้มาจากหนังสือ - เล่าเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้อง - ทำให้คนอื่นอับอาย หรือเสียหน้า

35 - บอกเรื่อง หรือข้อมูลที่ไม่เป็นความจริง (เมื่อตอบคำถามไม่ได้) - ปล่อยให้คนบางคนแกล้งหรือข่มขู่ สมาชิกคนอื่น - แสดงอาการเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง - เล่าเรื่องส่วนตัวหรือชีวิตตนเองมากไป - ทึกทักเอาเอง

36 เคล็ดลับสู่ความสำเร็จ วิทยากรกระบวนการ มืออาชีพ

37 ๑. มีทัศนคติที่ดีและรักในการทำหน้าที่ เป็นวิทยากรกระบวนการ ๒
๑. มีทัศนคติที่ดีและรักในการทำหน้าที่ เป็นวิทยากรกระบวนการ ๒. มองมนุษย์เยี่ยงมนุษย์ที่มีคุณค่า รักศักดิ์ศรี สามารถแก้ไขปัญหา ของเขาได้ด้วยตัวของเขาเอง ๓. อย่าทำตัว Superior

38 ๔. เปิดใจกว้าง มีความยืดหยุ่นในการ ปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ ๕
๔. เปิดใจกว้าง มีความยืดหยุ่นในการ ปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ ๕. มั่นใจในตัวเอง แต่ต้องระลึกอยู่เสมอ เราไม่ใช่ผู้ออกคำสั่ง...เราไม่ใช่ผู้รู้ดี ที่สุด...เราคือผู้กระตุ้น...ผู้ชี้แนะ เพื่อให้เขาเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง

39 ๖. แสดงได้หลากหลายบทบาท ๗
๖. แสดงได้หลากหลายบทบาท ๗. พร้อมรับคำวิพากษ์วิจารณ์เพื่อ ปรับปรุงการทำงานของเราให้ดีขึ้น ๘. พยายามเรียนรู้ทุกสิ่งทุกอย่าง รอบ ๆ ตัว เปลียนให้เป็นทักษะและ ประสบการณ์ สะสมเพิ่มขึ้นทุกวัน

40 ๙. มีความสะดุ้งไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น ๑๐
๙. มีความสะดุ้งไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น ๑๐. มีความกระตือรือล้น กระฉับกระเฉง ซึ่งจะช่วยทำให้บรรยากาศในกลุ่ม กระฉับกระเฉงตามไปด้วย ๑๑. มีความตั้งใจและคำนึงถึงผลที่จะ ได้รับจากการทำกิจกรรม

41 ๑๒. มีอารมณ์ขัน กล้าแสดงออก ๑๓
๑๒. มีอารมณ์ขัน กล้าแสดงออก ๑๓. มีมนุษย์สัมพันธ์ดี สนใจคนอื่น ไม่แยกตัวออกจากกลุ่ม ๑๔. มีความรอบรู้ สามารถนำข้อมูล ต่าง ๆ มาช่วยสร้างการเรียนรู้ให้กับ กลุ่มเป้าหมายได้ ๑๕. แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี

42 คำถามที่อยากรู้....

43 พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 15 นาที
พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 15 นาที มีการบ้าน ให้แต่ละคนเตรียมเรื่องมาเล่าให้เพื่อนฟัง ในเวลา 5 นาที

44 พัฒนาทักษะ วิทยากรกระบวนการ

45 ขั้นตอน/วิธีการ ๑. แบ่งกลุ่มย่อย กลุ่มละ ๓ คน
๒. กำหนดว่าใครจะเป็น - คุณ ก - คุณ ข - คุณ ค

46 รอบที่ ๑ ๕ นาที ๑ นาที

47 รอบที่ ๒ ๕ นาที ๑ นาที

48 รอบที่ ๓ ๕ นาที ๑ นาที

49 ถอดบทเรียนผู้บอกเล่า
คำถามที่ ๑ : มีใครบอกเล่าเรื่องราว ของตัวเองได้ดี คำถามที่ ๒ : ที่บอกว่าเขาเล่าได้ เขาเล่าอย่างไร ?

50 ถอดบทเรียนผู้ฟัง จับประเด็น
คำถามที่ ๑ : มีใครบ้างที่ขณะเป็นฟัง และจับประเด็นที่ฟังได้ดี ? คำถามที่ ๒ : ที่บอกว่าเขาฟัง และจับ ประเด็นได้ดีนั้น เขาฟัง อย่างไร ? ?

51 ถอดบทเรียนผู้สังเกต คำถาม : ขณะที่คุณทำหน้าที่เป็น ผู้สังเกต คุณมีวิธีการสังเกต อย่างไร ?

52 สรุปบทเรียน หลักและวิธีการบอกเล่า อย่างมีประสิทธิภาพ

53 ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

54 หลักและวิธีการฟัง จับประเด็น/ สรุปประเด็น อย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปบทเรียน หลักและวิธีการฟัง จับประเด็น/ สรุปประเด็น อย่างมีประสิทธิภาพ

55 ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

56 สรุปบทเรียน หลักและวิธีการสังเกต อย่างมีประสิทธิภาพ

57 ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

58 วงจรการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
ทำ คิด ใช้ การจัดการ สรุป

59 ถอดบทเรียน คำถาม : ท่านรู้สึกอย่างไร ? ท่านมี ความคิดเห็นอย่างไร ? กับการจัดกระบวนการ เรียนรู้ในเรื่องนี้

60 สรุปบทเรียน คำถาม : ท่านได้บทเรียนอะไรบ้าง จากการจัดกระบวนการ เรียนรู้ในครั้งนี้ ?

61 การนำไปใช้ คำถาม : ท่านคาดหวังจะนำเอาความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และ สิ่งต่าง ๆ ที่ได้รับจากการจัด กระบวนการเรียนรู้ไปใช้ ในการปฏิบัติงานฯ ได้บ้าง ?

62 จบนะคะ....

63 เบอร์โทร

64 Facebook ubolwan arayaphong


ดาวน์โหลด ppt วันอังคารที่ ๓ พฤษภาคม 2559 ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google