ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสุภา ตั้งตระกูล ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ตัวชี้วัดที่ 1.10 :ร้อยละของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (76 จังหวัด) ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน วิธีการประเมินผล 1. ศูนย์อนามัยประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ (ตามแบบฟอร์มการรายงานที่กำหนด) และส่งรายงานภาพรวมของเขต ให้กรมอนามัย รายไตรมาส 2. กรมอนามัย โดยกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพทำการวิเคราะห์ ประเมินผลจากการนำเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) (ตามแบบประเมินตัวชี้วัดร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงฯ) สรุปผล และจัดทำสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สรุปบทเรียนและข้อเสนอแนะต่อการพัฒนางาน วิธีการจัดเก็บข้อมูล ศูนย์อนามัยสำรวจและรวบรวมข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และบันทึกฐานข้อมูลผ่านระบบNEHIS และเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และศูนย์อนามัยรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการดำเนินงานฯ ภาพรวมของเขต และจัดส่งข้อมูล ให้ส่วนกลาง รายไตรมาส แหล่งข้อมูล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สูตรคำนวณ A=จำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่มีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม*100/ B=จำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้งหมด
2
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน
3
เกณฑ์การประเมิน : สำหรับหน่วยงานส่วนกลาง สายอนามัยสิ่งแวดล้อม
5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561) - ทบทวนข้อมูลสถานการณ์การดำเนินงานฐานข้อมูลและการเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม - ทบทวน/แก้ไขแบบสำรวจข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สำหรับสนับสนุนการดำเนินงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานบริการ ติดตาม ประเมินผล และมีผลการดำเนินงานระบบฐานข้อมูลและการเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงข้อมูลในระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) ให้สอดคล้องกับความต้องการ มีการถอดบทเรียน สรุปผลการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มีแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้เกี่ยวข้อง (ระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) และแนวทางการเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม) ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มีแผนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานระบบฐานข้อมูลและการเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 90 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 60 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 100 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
4
เกณฑ์การประเมิน : สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1-12
5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561) มีแผนการดำเนินงาน และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้เกี่ยวข้อง ติดตาม ประเมินผล และมีผล การดำเนินงานระบบฐานข้อมูลและการเฝ้าระวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มีการทบทวน คัดเลือกประเด็นปัญหาสำคัญเพื่อการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ มีการถอดบทเรียน สรุปผลการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มีการประชุม/อบรม/ให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้อง ในเรื่องการใช้งานระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) และแนวทางการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สำรวจและรวบรวมข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และนำเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) และดำเนินการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามประเด็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ที่คัดเลือกไว้ ร้อยละ 90 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 60 ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ มีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 100 ของจังหวัดมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.