งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะ ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้ได้มาตรฐานนานาชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะ ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้ได้มาตรฐานนานาชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะ ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้ได้มาตรฐานนานาชาติ
การสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะ ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้ได้มาตรฐานนานาชาติ แพทย์หญิงวราลักษณ์ ตังคณะกุล รองผู้อำนวยการ สำนักโรคติดต่อทั่วไป หัวหน้ากลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค E.Mail :

2 เนื้อหา กระบวนการดำเนินการให้บรรลุตามมาตรฐาน ผู้มีส่วนร่วม กลไกที่สำคัญ ระดับสมรรถนะในการพัฒนาของช่องทางเข้าออกประเทศ ขั้นตอน และการรับรองขององค์การอนามัยโลก การสนับสนุนช่องทางเข้าออกประเทศ

3 IHR Strategic Implementation Plan
National Capacity Strengthening International initiatives and networking NATIONAL SURVEILLANCE AND RESPONSE WHO GLOBAL ALERT AND RESPONSE SYSTEM THREAT-SPECIFIC CONTROL PROGRAMMES INTERNATIONAL TRAVELS AND TRANSPORTS LEGAL PROCEDURES AND MONITORING GLOBAL PARTNERSHIP

4 IHR 2005 ALL SECTORS RESPONSIBLE
Multi-disclipline Cross-sectoral Muti-dimension Muti-layer IHR 2005

5 Obligations to build capacities at PoE, comply with IHR 2005
Article 20 and Annex 1B: Airports, ports, ground crossings capacities Access to medical service Safe environment Access to rooms for interview, quarantine, isolation Ability to disinsect, disinfect etc.

6 Local Intermediate National
สมรรถนะหลักในการเฝ้าระวัง และตอบสนองของประเทศที่ต้องพัฒนา ตาม กรอบ IHR (2005) ภาคผนวกที่ 1 A Local Intermediate National 8 Core Capacities Legislation and Policy Coordination Surveillance Response Preparedness Risk Communications Human Resources Laboratory Potential hazards Infectious Zoonosis Food safety Chemical Radio nuclear Events at Points of Entry PREVENT DETECT RESPOND PREVENT DETECT RESPOND

7 Core capacity requirements for designated points of entry Art
DESIGNATION OF POINTS OF ENTRY States Parties shall designate Airports and Ports for developing capacities – Annex 1b States Parties where justified for PH reasons, may designate ground crossings for developing capacities – Annex 1b, taking into consideration volume and frequency of international traffic and public health risks of the areas in which international traffic originates. States Parties sharing common borders should consider: Bilateral and multilateral agreements Joint designation of adjacent ground crossing for capacities – Annex 1b Identify competent authority for each designated point of entry

8 นิยามของช่องทางเข้าออกประเทศ ตามกฎนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘
ด่านตรวจคนเข้าเมือง 81 ด่าน/ช่องทาง ด่านศุลกากร 47 ด่าน ด่านควบคุมโรค 68 ด่าน ด่านส่วนกลาง ด่านส่วนภูมิภาค 18 IHR Designated PoE จุดผ่อนปรนทางการค้า 54 ช่องทาง ด่านในสังกัด สสจ ช่องทางธรรมชาติ ทุกตารางเมตรตลอดแนวชายแดน The IHR (2005) define a point of entry as "a passage for international entry or exit of travelers, baggage, cargo, containers, conveyances, goods and postal parcels, as well as agencies and areas providing services to them on entry or exit".

9 พรมแดนห้วยโก๋น พรมแดนแม่สาย พรมแดนหนองคาย-ท่านาแร้ง (รถไฟ) ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๑ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ พรมแดนวัดหายโศก พรมแดนท่าลี่ พรมแดนบึงกาฬ พรมแดนแม่สอด พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๓ พรมแดนสังขละบุรี (เจดีย์สามองค์) พรมแดนนครพนม (ท่าเรือ) ท่าอากาศยานอุดรธานี พรมแดนสะพานมิตรภาพ ๒ พรมแดนบ้านพุน้ำร้อน พรมแดนมุกดาหาร(ท่าเรือ) พรมแดนช่องเม็ก พรมแดนภูสิงห์ (ช่องสะงำ) ท่าอากาศยานดอนเมือง พรมแดนช่องจอม (กาบเชิง) ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พรมแดนคลองลึก พรมแดนบ้านแหลม ท่าเรือกรุงเทพ พรมแดนบ้านผักกาด ท่าอากาศยานหัวหิน ท่าอากาศยานอู่ตะเภา พรมแดนสิงขร ท่าเรือมาบตาพุด ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์ พรมแดนบ้านหาดเล็ก ท่าเรือระนอง ท่าเรือแหลมฉบัง และท่าเรือศรีราชา ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าเรือเกาะสีชัง ท่าอากาศยานเกาะสมุย ท่าเรือภูเก็ต ท่าเรือเกาะสมุย ท่าอากาศยานกระบี่ ท่าเรือนครศรีธรรมราช ท่าเรือกระบี่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ พรมแดนปาดังเบซาร์ ท่าเรือสงขลา พรมแดนสะเดา พรมแดนบูเก๊ะตา พรมแดนสุไหงโกลก พรมแดนบ้านประกอบ พรมแดนเบตง

10 ระยะเวลาของการพัฒนาสมรรถนะ
ตามที่กำหนดไว้ใน IHR, 2005 และการขอขยายเวลาตามมาตรา 13

11 Core capacity requirements for designated points of entry Art
WHO PORTS & AIRPORTS CERTIFICATION Under request of State Party to certify, after investigation, compliance with Annex I requirements WHO shall publish a list of certified airports and ports WHO shall develop and publish the certification guidelines

12 PoE’s Achievement comply with IHR, 2005 JEE
CERTIFY CCAT JEE CERTIFY = IHR CERTFICATION JEE = JOINT EXTERNAL EVALUATION REFERENCE LEVEL REF = REFERENCE LEVEL (3) CORE CAPACITY ASSESSMENT TOOL CAPACITY IN ROUTINE AND EMERGENCY SITUATION

13 วิธีการประเมินและการวิเคราะห์ผล

14 Additional achievement
มาตรฐานการดำเนินงาน (IHR 2005) < 1 Fundamental 1 Inputs and processes 2 Outputs and outcomes 3 Additional achievement การพัฒนาอยู่ระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ขีดความสามารถที่จำเป็นขั้นต่ำ (prerequisites) การพัฒนาอยู่ระดับปานกลาง (moderate functioning) ขาดปัจจัยนำเข้า/กระบวนการพัฒนาที่สำคัญ การพัฒนาอยู่ระดับดี (strong functioning) เห็นผลกระบวนการพัฒนา การพัฒนาอยู่ระดับดีมาก (advance) มีการประเมินผลการพัฒนา และเผยแพร่ผล ปัจจุบัน 18 ช่องทางอยู่ในช่วงการพัฒนาฯ ในระดับ 1-2 ช่องทางที่เหลือที่มีคำสั่งคณะทำงานพัฒนาช่องทางฯ การพัฒนาอยู่ในช่วงที่ 1 ดังนั้นจึงสนับสนุนให้มีการพัฒนาในระดับที่สูงขึ้นไป

15 JEE : Goal of Point of Entry (PoE)
เป้าหมาย : ประเทศสมาชิกควรกำหนดช่องทางเข้าออกประเทศ และรักษาสมรรถนะหลักของท่าอากาศยานนานาชาติ และ ท่าเรือสากล (และหากมีเหตุผลทางด้านสาธารณสุขประเทศสมาชิกอาจกำหนด อาจกำหนดพรมแดนทางบก) ในการเพื่อการดำเนินในด้านสาธารณสุขที่จำเป็น เพื่อจัดการกับความเสี่ยงต่างๆ ด้านสาธารณสุข (มาตรา 20 IHR,2005 ) ผลกระทบที่พึงประสงค์ : สามารถตรวจจับภาวะอันตรายที่เกิดขึ้นที่ช่องทางเข้าออกได้ทันท่วงที และตอบโต้ได้มีประสิทธิภาพ (มาตรา 2 IHR,2005 ) ที่มา : Joint external evaluation tool: International Health Regulations (2005).

16 ตัวชี้วัด– ช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม JEE
คะแนน ตัวชี้วัด– ช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม JEE ช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะในภาวะปกติ ช่องทางเข้าออกประเทศมีตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเหตุการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ No Capacity – 1 ไม่มีสมรรถนะ-1 ช่องทางไม่มีสมรรถนะในการให้บริการทางด้านการแพทย์ ไม่มีแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขในระดับชาติ สำหรับใช้ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่เกิดชึ้นที่ช่องทางเข้าออกประเทศ สมรรถนะจำกัด Limited Capacity – 2 ช่องทางเข้าออกประเทศที่กำหนด มีการจัดบริการด้านการแพทย์ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ เครื่องมืออุปกรณ์และสถานที่อย่างเพียงพอ ในการตรวจวินิจฉัยโรคเพื่อประเมินและให้การดูแลผู้เดินทางที่เจ็บป่วย (ภาคผนวก 1B, หัวข้อ1a) มีแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (ทั้ง 5 ภัยสุขภาพ) ในระดับชาติ สำหรับใช้ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่เกิดชึ้นที่ช่องทางเข้าออกประเทศ โดยบรูณาการกับแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขอื่นๆ ครอบคลุมกับภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และบริการอื่นๆ ที่ช่องทางเข้าออกประเทศจัดให้มีขึ้น รวมทั้งมีการเผยแพร่ไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ Developed Capacity – 3 ช่องทางเข้าออกประเทศที่กำหนด สามารถเข้าถึงเครื่องมือและบุคลากร เพื่อการขนย้ายผู้เดินทางที่เจ็บป่วย ไปยังสถานบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสม มีความพร้อมในการประเมินผู้เดินทางและสัตว์ที่ถูกปนเปื้อน/ติดเชื้อ โดยดำเนินการ ณ ช่องทางเข้าออกประเทศ หรือประสานงานขอความช่วยเหลือจากสถานบริการในพื้นที่ ตลอดจนมีความพร้อมสำหรับการประเมินและกักกันผู้เดินทางที่สงสัยป่วย

17 ตัวชี้วัด– ช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม JEE (2)
คะแนน ตัวชี้วัด– ช่องทางเข้าออกประเทศ ตาม JEE (2) ช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะในภาวะปกติ ช่องทางเข้าออกประเทศมีตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเหตุการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ Demonstrated Capacity – 4 มีโปรแกรมการตรวจตรา เพื่อให้มั่นใจว่ามีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยที่ช่องทางเข้าออกประเทศ มีโปรแกรมดำเนงานควบคุมพาหะนำโรคและแหล่งรังโรค ในช่องทางเข้าออกประเทศและบริเวณใกล้เคียงช่องทางเข้าออกประเทศ (ภาคผนวก 1b, หัวข้อ 1e) มีระบบส่งต่อและการขนส่งเพื่อเคลื่อนย้ายผู้เดินทางที่เจ็บป่วยไปยังสถานบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสม โดยมีการปรับปรุงและทดสอบแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขอย่างสม่ำเสมอ และมีการจัดทำเป็นรายงาน Sustainable Capacity – 5 มีฝึกอบรมบุคคลากร ในการตรวจสอบยานพาหนะ ณ ช่องทางเข้าออกประเทศ (ภาคผนวก 1b, หัวข้อ 1c) มีการประเมินประสิทธิภาพของการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (ทั้ง 5 ภัยสุขภาพ) ณ ช่องทางเข้าออกประเทศ ตลอดจนพิมพ์เผยแพร่

18 สรุปผล JEE ช่องทางเข้าออกประเทศ
ตัวชี้วัด– ช่องทางเข้าออกประเทศ ช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะในภาวะปกติ ช่องทางเข้าออกประเทศมีการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเหตุการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ 18 ช่องทางที่กำหนด Demonstrated Capacity – No Capacity Developed Capacity – 3 มีความพร้อมในการประเมินผู้เดินทางและสัตว์ที่ถูกปนเปื้อน/ติดเชื้อ โดยดำเนินการ ณ ช่องทางเข้าออกประเทศ หรือประสานงานขอความช่วยเหลือจากสถานบริการในพื้นที่ ตลอดจนมีความพร้อมสำหรับการประเมินและกักกันผู้เดินทางที่สงสัยป่วย (เฉพาะโรคติดเชื้อ และโรคติดต่อระหว่างสัตว์สู่คน) ช่องทางฯ ที่นอกเหนือจาก 18 แห่ง Developed Capacity – No Capacity เหตุผล: หน่วยบริการทางการแพทย์ของช่องทางเข้าออกประเทศไม่มีสถานพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติ สถานพยาบาล พ.ศ.2541

19 5 ขั้นตอนในการที่องค์การอนามัยจะออกใบรับรองว่า
ช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะหลักตามที่ IHR, 2005 กำหนด ปรึกษาหารือกับองค์การอนามัยโลก ส่งเอกสารทางการเพื่อขอรับการรับรอง พร้อมแนบผลการประเมินตนเอง WHO ทบทวนเอกสาร ตอบรับ และดำเนินการ WHO แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อให้ใบรับรอง ทำการทบทวนเอกสาร และส่งผลการทบทวนเอกสาร ประเทศที่ขอรับการประเมิน และ WHO เห็นพ้องในการตรวจสอบที่ช่องทางเข้าออกประเทศ วางแผน และกำหนด Terms of Reference ทำการตรวจสอบ และจัดทำเอกสารผลการตรวจสอบโดยทีมประเมิน ทีมประเมินของ WHO ให้คำแนะนำที่ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้คำแนะนำต่อการออกใบรับรอง และประกาศผลการรับรอง

20

21 การออกใบรับรองขององค์การอนามัยโลก (เจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์)
เฉพาะ ท่าอากาศยาน และท่าเรือ ว่ามีสมรรถนะตาม IHR, 2005

22 เนื้อหา กระบวนการดำเนินการให้บรรลุตามมาตรฐาน ผู้มีส่วนร่วม กลไกที่สำคัญ ระดับสมรรถนะในการพัฒนาของช่องทางเข้าออกประเทศ ขั้นตอน และการรับรองขององค์การอนามัยโลก การสนับสนุนช่องทางเข้าออกประเทศ

23 SMART AND INTEGRATED FENCE FOR SECURITY, WEALTHY AND SUSTAINABILITY
QUARANTINE STRONGER SMART AND INTEGRATED FENCE FOR SECURITY, WEALTHY AND SUSTAINABILITY

24 Quarantine stronger for international standard
SMART FENCE GOAL: PREVENT DETECT RESPONSE INTEGRATED LAW ENFORCEMENT BOTH INTERNATIONAL (IHR, 2005) AND NATIONAL LAW (CD ACT, 2016) HOST AGENT ENVIRONMENT < GLOBALIZATION< ASEAN CONTEXT

25 การสนับสนุนช่องทางเข้าออกประเทศ
สร้างความตระหนัก กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผ่าน คณะอนุกรรมการฯ ช่องทางเข้าออกประเทศ เตรียม รับการประเมิน JEE และ Certification โดยการพัฒนาทีมประเมิน สำหรับช่องทางเข้าออกประเทศ แต่ละประเภท และประเมินช่องทางที่ถูกกำหนดให้ต้องพัฒนา สนับสนุนทางวิชาการ โดย การถ่ายทอด ความรู้ วิชาการ เพื่อแสดงหลักฐานความเชี่ยวชาญ ตามข้อกำหนดใน CCAT ให้สามารถเลื่อนระดับเป็นเชี่ยวชาญได้ โดยร่วมประเมิน กรณี สคร หรือ สสจ ร้องขอ สำหรับช่องทางอื่น ๆ สนับสนุนการเขียนแผน PHEIC พัฒนาเครื่องมือในการเขียน และปรับปรุงแผนของช่องทางให้ได้มาตรฐาน ตามที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ พัฒนาแผนต้นแบบทาง รังสี และเคมี ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดการประชุมวิชาการ อบรม สนับสนุน การดูงาน การมาฝึกงานที่ด่านฯ สังกัดส่วนกลาง

26 เอกสารวิชาการ...

27 กลไกการดำเนินงาน (IHR, 2005)

28 การติดตามและสนับสนุนฯช่องทาง จากส่วนกลาง ในปี 2558
ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าเรือสงขลา ท่าอากาศยานสมุย และท่าเรือเกาะสมุย ท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือแหลมฉบัง พรมแดนเชียงของ

29 DEMONSTRATED SAFE ENVIRONMENT AT PoE
(ข) บุคลากรและ อุปกรณ์ในการส่งต่อ ผดท ป่วย (ก) ประเมินสิ่ง อน อุปกรณ์และ บุคลากรในการ รักษา ผดท ป่วย (ค) บุคลากรผ่าน การอบรม ตรวจ ยานพาหนะ (จ) บุคลากรผ่าน อบรมและโครงการ ควบคุมพาหะนำโรค (ง) ดูแลสิ่งแวดล้อม น้ำ อาหาร ขยะ ห้องน้ำ และ บริเวณเสี่ยงเกิดโรค โครงการ ตรวจสอบ QUARANTINE OFFICERS INSPECTOR, Art 22 IHR, DDC ACT 5 components 29

30 แผนฉุกเฉินและการผสานแผนช่องทางเข้าออกประเทศ (เพื่อรับมือโรคและภัยสุขภาพตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548)

31

32

33

34

35

36

37

38 IMPACT FROM HAVING IHR 2005 HEALTH TRUST THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt การสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะ ช่องทางเข้าออกประเทศ ให้ได้มาตรฐานนานาชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google