ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วางแผนการเงิน เพื่อความมั่นคงของชีวิต
วิวรรณ ธาราหิรัญโชติ นายกสมาคมนักวางแผนการเงินไทย
2
การเงินไม่ใช่เรื่องไกลตัว
ปัญหาครอบครัวลดน้อยลง เมื่อมีความมั่นคงทางการเงิน การสอนเรื่องการใช้และออมเงินเริ่มที่บ้าน พ่อและแม่เป็นคนสำคัญที่จะช่วยให้บุตรหลานได้เรียนรู้เรื่องการเงิน
3
แหล่งรายได้ การทำงาน vs. ให้เงินทำงาน
รายได้ของคนทั่วไปมาจาก 2 ทาง รายได้จากการทำงาน (Work) รายได้จากการลงทุนในทรัพย์สินและหลักทรัพย์ (Earning Assets) อิสรภาพทางการเงิน : เกิดขึ้นเมื่อ รายได้จากการลงทุนเพียงพอต่อการใช้จ่าย
4
ดูแลการเงิน...เริ่มต้นอย่างไร
สำรวจทรัพย์สินของครอบครัว ดูแลรายจ่าย ดูแลรายรับ และบริหารสภาพคล่อง บริหารหนี้สิน ดูแลการลงทุน ป้องกันรักษาความมั่งคั่ง บริหารภาษี วางแผนเรื่องมรดก
5
ขั้นตอนบริหารความมั่งคั่ง
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินทั้งหมด ตั้งเป้าหมายการบริหาร วิเคราะห์สถานะทางการเงิน วางแผนการเงิน นำแผนไปปฏิบัติ ทบทวนแผน รวบรวมข้อมูล ตั้งเป้า หมาย วิเคราะห์สถานะ ทำแผนและนำไปปฏิบัติ ทบทวนแผน
6
1. สำรวจฐานะการเงินของตนเอง
ทรัพย์สิน เงินฝาก เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เช่น หน่วยลงทุน พันธบัตร หุ้นกู้ หุ้น บ้าน ที่ดิน รถยนต์ กรมธรรม์ประกันชีวิต กรมธรรม์ประกันภัย กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ฯลฯ หนิ้สิน เงินผ่อนบ้าน เงินผ่อนรถ เงินกู้เพื่อการศึกษาบุตร เงินกู้นอกระบบ ฯลฯ ความมั่งคั่งสุทธิ เป็น “บวก” หรือ “ลบ”
7
ตั้งเป้าหมาย แผนการเงิน = แผนชีวิต
แผนการเงิน = แผนชีวิต เป้าหมายระยะสั้น : เพื่อการซื้อรถ เพื่อการศึกษา ของบุตร เพื่อการท่องเที่ยว ฯลฯ เป้าหมายระยะปานกลาง : เพื่อการซื้อที่อยู่อาศัย เป้าหมายระยะยาว: เพื่อการเกษียณอายุงาน เพื่อการส่งต่อความมั่งคั่งให้ทายาท ฯลฯ
8
วัฏจักรความมั่งคั่งส่วนบุคคล (Individual Wealth Cycle)
25 35 45 55 65 75 ระยะตั้งตัว(Accumulation) ระยะยาว : เพื่อการเกษียณ เพื่อการศึกษาของบุตร ระยะสั้น : บ้านและรถ ช่วงสะสมความมั่งคั่ง (Consolidation Phase) ระยะสั้น : เพื่อการท่องเที่ยว พักผ่อน ช่วงใช้จ่ายและเป็นผู้ให้ (Spending & Gifting) ระยะยาว : เพื่อสินทรัพย์ระยะยาว ระยะสั้น : ให้รางวัลแก่ชีวิต ความมั่งคั่ง อายุ Source: Reilly, Frank K. and Brown, Keith C. Investment Analysis and Portfolio Management, P. 39 8 8
9
2. ดูแลรายจ่าย จัดแบ่งหมวดหมู่ เพื่อจัดสรรงบประมาณ
จดรายการใช้จ่าย เพื่อดูความผิดปกติ วางแผนการซื้อ วางแผนการใช้เงิน โดยเฉพาะรายจ่ายใหญ่ๆ เช่น ค่าเทอม ค่าซื้อสินค้าชิ้นใหญ่ ค่าผ่อนบ้าน ฯลฯ มีเงินไว้เผื่อฉุกเฉิน เช่น การรักษาพยาบาล การว่างงานกะทันหัน ฯลฯ ลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น กรณีรายได้ไม่เพียงพอ
10
3. ดูแลรายรับ จัดแบ่งหมวดหมู่ แยกแยะรายได้พิเศษออกจากรายได้ประจำ
แบ่งเก็บออมไว้ส่วนหนึ่งเสมอ ก่อนที่จะนำไปใช้ หารายได้เพิ่ม กรณีรายได้ประจำไม่เพียงพอ รายได้จากการรับทำงานพิเศษ รายได้จากการลงทุน รายได้จากงานอดิเรก
11
4. ดูแลหนี้สิน แบ่งประเภท หมวดหมู่ตาม ระยะเวลาใช้คืน อัตราดอกเบี้ย
ค่าปรับกรณีผิดนัดชำระ หลักประกัน เงื่อนไขต่างๆ เช่น การชำระคืนก่อนกำหนด ฯลฯ
12
แหล่งเงินที่จะสามารถนำมาใช้คืนหนี้ได้
นำเงินออมที่ให้ผลตอบแทนต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้หรือหนี้สินของท่าน มาจ่ายคืนหนี้ การประหยัดเพิ่มอีกเดือนละเล็กละน้อย เช่น ค่าโทรศัพท์ รายจ่ายบันเทิงบางอย่าง ลดอัตราดอกเบี้ยก็จะได้เงินมาจ่ายคืนเงินต้นเพิ่ม หารายได้เพิ่มเติมด้วยการทำงานล่วงเวลา ทำงานพิเศษ ค้าขายเล็กๆน้อยๆ ขายทรัพย์สินบางส่วนเพื่อนำไปชำระหนี้
14
เปรียบเทียบหนี้สินภาคครัวเรือนของประเทศต่างๆ
ไต้หวัน (โดยประมาณ) สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไทย (ปี 2552) ระดับหนี้ เทียบเป็น % ของรายได้ 170.0% 136.0% 130.0% 148.0% 61.6%
15
5. บริหารการลงทุน “เงินเฟ้อ” คือศัตรูตัวฉกาจของเงินออม
เป้าหมายการลงทุนคือ เอาชนะเงินเฟ้อ และมีผลตอบแทนที่เหมาะสมกับความเสี่ยงที่รับได้ การลงทุนย่อมมีความเสี่ยง (ความผันผวน ความไม่แน่นอนของผลตอบแทน) ความเสี่ยงสูง ควรจะตั้งผลตอบแทนที่คาดหว้งสูงด้วย (high risk, high expected rate or return) ปรึกษากันก่อน ทั้งในการตั้งเป้าหมาย และความเสี่ยงที่รับได้
16
ความสัมพันธ์ของภาวะเศรษฐกิจกับการลงทุน
Falling Inflation SECTOR Telecommunication Media Technology SECTOR Pharmaceuticals Insurance BONDS COMMON STOCKS Economy Slowing Down Economy Speeding Up CASH NATURAL RESOURCES ภาวะเศรษฐกิจกำลังฟื้นตัว – การเติบโตของเศรษฐกิจดีขึ้น แต่อัตราเงินเฟ้อยังต่ำ และตลาดหลักทรัพย์เริ่มจะฟื้นตัว เป็นช่วงเวลาที่เหมาะในการลงทุนในหุ้น และลงทุนในธุรกิจที่เป็น cycle เช่น สื่อสาร เทคโนโลยี ภาวะเศรษฐกิจขยายตัวร้อนแรง – เศรษฐกิจเริ่มขยายตัวเกินกำลังการผลิต อัตราเงินเฟ้อและดอกเบี้ยจะปรับตัวสูงขึ้น การลงทุนในสินค้าโภคภัณฑ์จะเป็นทางเลือกที่ดีเนื่องจากไม่สูญมูลค่าแม้เงินเฟ้อสูง สำหรับหุ้น จะเหมาะในธุรกิจที่เป็นกลุ่มอุตสาหกรรม ภาวะเศรษฐกิจชะงักงัน – อัตราเงินเฟ้อปรับตัวขึ้นไปสูงสุดแล้ว เศรษฐกิจเริ่มชะงัก ควรถือเงินสดเพื่อรอดูทิศทาง หรือลงทุนในธุรกิจที่เป็นสิ่งจำเป็น เช่น สาธารณูปโภค เนื่องจากจะได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจตกต่ำน้อย เพราะเป็นสิ่งจำเป็น ภาวะเศรษฐกิจที่มีการกระตุ้นเศรษฐกิจ – มีอัตราดอกเบี้ยต่ำเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ เริ่มมีการขยายกำลังการผลิต ภาคธนาคารมีการปล่อยกู้มากขึ้น การลงทุนในตราสารหนี้ระยะยาวจะให้ผลตอบแทนที่ดี รวมถึงภาคธนาคารและการเงินจะมีผลการดำเนินงานที่ดี SECTOR Utilities Food Tobaco SECTOR Mining Oil Paper Source: Adapted from Schabacker, Jay. Winning in Mutual Funds, PP. 54 Inflation Rising
17
การลงทุนแบบไหนให้เหมาะกับท่าน
“ขึ้นกับความสามารถในการรับความเสี่ยงของท่าน” ความสามารถในการรับความเสี่ยงขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้ อายุ: อายุน้อยรับความเสี่ยงได้มาก อายุมากรับความเสี่ยงได้น้อย ความมั่งคั่งโดยรวม: ผู้มีความมั่งคั่งโดยรวมสูง รับความเสี่ยงได้สูง ความมั่นคงของอาชีพ: ผู้ที่มีอาชีพประจำที่มีรายได้สม่ำเสมอจะรับความเสี่ยงได้สูงกว่า ภาระทางการเงินที่มี: ผู้มีภาระทางการเงินน้อย จะรับความเสี่ยงได้สูงกว่า ระยะเวลาการลงทุน: หากลงทุนในระยะสั้น จะรับความเสี่ยงได้น้อยกว่า ความวิตกกังวลส่วนบุคคล: ผู้ที่มีความวิตกกังวลสูง ไม่ควรลงทุนในสิ่งที่มีความผันผวนสูง
18
แนวทางในการจัด Asset allocation
เป็นวิธีการบริหารความเสี่ยงด้วยการกระจายการลงทุน จัดให้เหมาะสมกับความสามารถในการรับความเสี่ยงของผู้ลงทุน และ ผลตอบแทนที่คาดหวัง การลงทุนส่วนใหญ่ควรอยู่ในสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่ำ จัดสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงปานกลางและสูงเข้ามาปน ลักษณะเป็นปิรามิด
19
ปิรามิด การลงทุน เสี่ยงสูง ตราสาร อนุพันธ์ หุ้นทุน หุ้นกู้
พันธบัตรรัฐบาล เงินฝาก เสี่ยงต่ำ
20
เปรียบเทียบทางเลือกในการลงทุน
32
21
เปรียบเทียบทางเลือกในการลงทุน
33
22
6. ป้องกันรักษาความมั่งคั่ง
ทำประกันภัยเพื่อบรรเทาความเสียหายของทรัพย์สิน กรณีเกิดเหตุไม่คาดฝัน ทำประกันชีวิต เพื่อไม่ให้คนอยู่ข้างหลังเดือดร้อนกรณีเราจากไปก่อนวัยอันควร จากหนี้สินที่มีอยู่ จากรายได้ที่หายไป ทำประกันเป็นการออมเงินเพื่อการเกษียณในรูปแบบหนึ่ง
23
7. ดูแลบริหารภาษี การบริหารภาษีคือ การเสียภาษีเท่าที่ควรจะเสีย ไม่เสียมากกว่าที่ควร ใช้สิทธิประโยชน์ในการหักค่าลดหย่อนให้ครบถ้วน ศึกษาการลงทุนที่ประหยัดภาษีได้ เช่น กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ กองทุนรวมหุ้นระยะยาว การทำประกันชีวิตแบบออมทรัพย์ระยะยาว การหักลดหย่อนเลี้ยงดูบุพการี ฯลฯ นำส่งภาษีให้ตรงตามกำหนด
24
8. วางแผนการเกษียณและวางแผนมรดก
ชีวิตมีความไม่แน่นอน จึงเป็นการเตรียมพร้อม และไม่ประมาท วางแผนเกษียณแต่เนิ่นๆ เพื่อไม่ให้เป็นภาระของลูกหลาน วางแผนมรดก เพื่อคนข้างหลังจะไม่เดือดร้อน และไม่เกิดความแตกแยกเมื่อเราจากไป วางแผนเพื่อสืบทอดกิจการ และความมั่งคั่งสู่รุ่นต่อไป
25
โครงสร้างประชากรไทย หน่วย : พันคน 2541 2545 2548 2553 2563 รวม
วัยเด็ก (0-14 ปี) วัยทำงาน (15-60 ปี) วัยสูงอายุ (60 ปี ขึ้นไป) 61,096 16,182 39,639 5,275 63,430 15,765 41,675 5,990 64,758 14,894 43,194 6,670 67,042 14,213 44,985 7,776 70,821 13,456 45,467 11,898 สัดส่วนประชากร วัยเด็ก วัยทำงาน วัยสูงอายุ 26.5% 64.9% 8.6% 24.9% 65.7% 9.4% 23.0% 66.7% 10.3% 21.2% 67.1% 11.6% 19.0% 64.2% 16.8% อัตราการเป็นภาระของวัยทำงาน 54.1 40.8 13.3 52.2 37.8 14.4 49.9 34.4 15.5 48.9 31.6 17.3 55.8 29.6 26.2 ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ
26
สัดส่วนผู้สูงอายุ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
สัดส่วนผู้สูงอายุ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่าจากปี 2543 เป็น 17%ของประชากรรวมในปี 2563 ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ
27
วางแผนเพื่อการเกษียณ (1)
เก็บออมเงินให้สม่ำเสมอ และเก็บในระยะยาว เป้าหมายระยะยาว ปี ลำดับความสำคัญในการวางแผน วางแผนลงทุน วางแผนการออม วางแผนภาษี วางแผนการใช้จ่าย อย่าลืม: การแบ่งเงินไว้พักผ่อน ท่องเที่ยว ดูแลสุขภาพ กระจายการลงทุน ทำพินัยกรรม อย่าทำ: อย่ากู้เงินมาลงทุน อย่าคิดว่าการเกษียณอายุต้องรอเริ่มคิดหลังจากอายุ 50 ปี อย่ากลัวความเสี่ยงมากเกินไป
28
วางแผนเพื่อการเกษียณ (2)
คำนวณเงินที่ต้องการเพื่อการเกษียณ 1.1 หา มูลค่าปัจจุบัน (PV) ณ วันเกษียณ ของเงินที่ต้องการใช้ต่อเดือนหลังเกษียณ รวบรวมเงินเพื่อการเกษียณ 2.1 หามูลค่าอนาคต (FV) ณ วันเกษียณ ของเงินที่มีอยู่ในปัจจุบัน 2.2 หามูลค่าอนาคต (FV) ณ วันเกษียณ ของเงินที่กำลังออม/ลงทุน และจะออม/ ลงทุนเพื่อการเกษียณ หาส่วนต่างของข้อ 1. และ 2. วางแผนออมเพิ่ม หรือ ลงทุนเพื่อให้ได้ผลตอบแทนเพิ่มเติม
29
วางแผนเพื่อการเกษียณ (3)
เงินที่ต้องการเมื่อเกษียณ โดยทั่วไปจะเป็นสัดส่วนประมาณ 50-70% ของรายได้ก่อนเกษียณ หรือ ประมาณ % ของค่าใช้จ่ายก่อนเกษียณ อย่าลืมคำนึงถึงภาระที่มีด้วย เช่น การอุปการะหลาน ฯลฯ
30
วางแผนเพื่อการเกษียณ (4)
แหล่งเงินเพื่อการเกษียณ เงินบำเหน็จ หรือ เงินบำนาญ จากกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กรณีเป็นข้าราชการ) ดูรายละเอียดการคำนวณที่ กองทุนประกันสังคมกรณีชราภาพ เมื่ออายุครบ 55 ปี จ่ายเงินสมทบ ≥180 เดือน และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง จะมีสิทธิ์ได้รับเงินบำนาญชราภาพ เมื่ออายุครบ 55 ปี จ่ายเงินสมทบ <180 เดือน และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง จะมีสิทธิ์ได้รับเงินบำเหน็จชราภาพ ดูรายละเอียดการคำนวณที่ โดยใช้เลขทะเบียนสมาชิก กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ เงินออมส่วนบุคคล
31
เป็นเวลา 25 ปี (อัตราเงินเฟ้อ 3 เปอร์เซ็นต์)
ตารางเงินที่ต้องออมเพื่อให้มีเงินใช้หลังเกษียณเดือนละ 20,000 บาท (ค่าเงินปัจจุบัน) เป็นเวลา 25 ปี (อัตราเงินเฟ้อ 3 เปอร์เซ็นต์) อัตราผลตอบแทน 4.00% 6.00% 8.00% อายุที่เริ่มออม จำนวนเงินใช้ต่อเดือน ณ วันเกษียณ(ค่าเงินอนาคต) เงินออมที่ต้องมี ณ วันเกษียณ(ค่าเงินอนาคต) เงินที่ต้องออมต่อเดือน 22 61,496 11,650,570 10,907 9,544,601 5,472 7,967,700 2,697 25 56,277 10,661,817 11,668 8,734,577 6,131 7,291,503 3,179 30 48,545 9,196,970 13,251 7,534,517 7,500 6,289,710 4,220 35 41,875 7,933,323 15,430 6,499,287 9,379 5,425,514 5,705 40 36,122 6,843,402 18,658 5,606,382 12,134 4,680,130 7,946 45 31,159 5,903,150 23,987 4,836,090 16,629 4,037,101 11,667 50 26,878 5,092,104 34,581 4,171,650 25,456 3,482,435 19,035 55 23,185 4,392,456 66,252 3,598,471 51,576 3,003,953 40,883
32
การวางแผนภาษี รู้สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ได้รับ
ทดลองคำนวณการยื่นภาษีแบบแยก / แบบรวม ใช้เครดิตภาษีจากเงินปันผลที่ได้รับจากบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัด (ในกรณีที่ยังมีสิทธิได้คืน) ใช้สิทธิการหักลดหย่อน บริจาคเพื่อการศึกษา ( หักได้ 2 เท่าในบางกรณี) ดอกเบี้ยเงินกู้ซื้อบ้าน หักได้สูงสุด 100,000 บาท ค่าลดหย่อนเลี้ยงดูบุพการี หักได้ท่านละ 30,000 บาท เบี้ยประกันชีวิต >10 ปี หักได้ 100,000 บาท กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) (รวมกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ) และ กองทุนหุ้นระยะยาว (LTF) หักได้ 3-15% ของรายได้ และได้สูงสุด 500,000 บาท ต่อปี เงินบริจาคมูลนิธิการกุศล วัด หักได้ไม่เกิน 10% ของรายพึงประเมิน
33
เครดิตภาษีเงินปันผล อัตราการได้คืนภาษีของบุคคลธรรมดาที่มีฐานภาษีอยู่ในระดับต่างๆ (คิดเป็นร้อยละของเงินปันผลก่อนหักภาษีที่ได้รับ) ฐานภาษีของ ผู้รับเงินปันผล อัตราภาษีของบริษัทที่จ่ายเงินปันผล 20% 25% 30% 5% ได้คืน % ได้คืน 36.6 % ได้คืน % 10% ได้คืน % ได้คืน 30.0 % ได้คืน % ได้คืน % ได้คืน 6.64 % ได้คืน % ไม่ควรรวมคำนวณ ได้คืน 3.30 % 37% ไม่ได้คืน
34
วัฏจักรความมั่งคั่งส่วนบุคคล (Individual Wealth Cycle)
25 35 45 55 65 75 ระยะตั้งตัว(Accumulation) ระยะยาว : เพื่อการเกษียณ เพื่อการศึกษาของบุตร ระยะสั้น : บ้านและรถ ช่วงสะสมความมั่งคั่ง (Consolidation Phase) ระยะสั้น : เพื่อการท่องเที่ยว พักผ่อน ช่วงใช้จ่ายและเป็นผู้ให้ (Spending & Gifting) ระยะยาว : เพื่อสินทรัพย์ระยะยาว ระยะสั้น : ให้รางวัลแก่ชีวิต ความมั่งคั่ง อายุ Source: Reilly, Frank K. and Brown, Keith C. Investment Analysis and Portfolio Management, P. 39
35
การวางแผนมรดก ผู้สืบทอดธุรกิจ พินัยกรรม พินัยกรรมแบบปกติ
ต้องทำเป็นหนังสือ (เว้นแต่มีเหตุการณ์พิเศษที่ไม่สามารถทำเป็นหนังสือได้ แต่ต้องมีพยาน 2 คนและพยานต้องไปแสดงตัวต่อผู้อำนวยการเขตหรือนายอำเภอโดยมิชักช้า และพยานต้องลงลายมือชื่อ) ต้องลงวันที่ขณะทำ ต้องลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คน การแก้ไขต้องลงวันที่และลายมือชื่อกำกับต่อหน้าพยาน 2 คน กรณีเขียนด้วยลายมือต้องเป็นลายมือของผู้ทำพินัยกรรม
36
การวางแผนมรดก (2) พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
ผู้ทำพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรม ต้องใส่ซองปิดผนึก แล้งลงลายมือชื่อคาบรอยผนึก นำพินัยกรรมไปแสดงต่อนายอำเภอและพยานอีกอย่างน้อย 2 คน และให้ถ้อยคำว่าเป็นพินัยกรรมของตน ถ้าไม่ได้เขียนพินัยกรรมด้วยตนเอง ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ของผู้เขียนด้วย นายอำเภอจะจดถ้อยคำของผู้ทำพินัยกรรม และวันเดือนปีที่นำพินัยกรรมมาแสดงพร้อมประทับตราประจำตำแหน่ง ผู้ทำพินัยกรรมและนายอำเภอต้องลงลายมือชื่อ
37
การวางแผนมรดก (3) กรณีไม่มีพินัยกรรม
หากมีคู่สมรสจนทะเบียน ให้แบ่งทรัพย์สินระหว่างสามีภรรยาก่อน มรดกจะตกทอดแก่ทายาทโดยธรรม ผู้สืบสันดาน คือ ลูก หลาน เหลน ลื้อ บิดา มารดา พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวัน พี่น้องร่วมบิดา หรือร่วมมารดาเดียวกัน ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา คู่สมรสที่ถูกต้องตามกฎหมาย
38
การวางแผนมรดก (4) ตัวอย่าง: นาย ก.มีมรดก 300,000 บาท
มีบุตร 2 คน คู่สมรสยังมีชีวิตอยู่ : คู่สมรสมีสิทธิ ได้รับเสมือนเป็นบุตร จึงได้รับคนละ 1 แสนบาท บิดามารดายังมีชีวิตอยู่ จะไม่ถูกตัดสิทธิ์ โดยจะมี สิทธิ์เหมือนเป็นบุตรคนหนึ่ง ไม่มีบุตร บิดามารดายังมีชีวิตอยู่ : คู่สมรสได้ ครึ่งหนึ่ง (150,000 บาท) บิดามารดาแบ่งกันอีก ครึ่งหนึ่ง (คนละ 75,000 บาท) ไม่มีทายาทโดยธรรมอยู่เลย : คู่สมรสได้รับ ทั้งหมด 300,000 บาท
39
ข้อผิดพลาดในการวางแผนการเงิน
ไม่เห็นความสำคัญของการวางแผนการใช้จ่าย ประมาณการรายได้ไว้สม่ำเสมอเกินไป ประมาณการสมมุติฐาน และประมาณการผลตอบแทนที่ไม่ realistic จัดการลงทุนที่มีความเสี่ยงไม่เหมาะสมกับตนเอง ไม่ติดตามและปรับปรุงแผนให้เหมาะสมกับในแต่ละช่วง โดยเฉพาะแผนการลงทุน
40
ความสำคัญของแผนการเงินในช่วงเวลาต่างๆของชีวิต
ผู้ใหญ่วัยต้นอายุ ปี คู่สมรสใหม่ อายุ ปี มีครอบครัว มีบุตร อายุ ปี ก่อนเกษียณ อายุ ปี วัยเกษียณ อายุมากกว่า 60 ปี การวางแผนการใช้จ่าย ** *** การวางแผนภาษี * การวางแผนประกันภัย การวางแผนลงทุน การวางแผนเกษียณ การวางแผนมรดก * แสดงถึงระดับของประโยชน์ที่ได้รับจากการวางแผน โดย * แสดงประโยชน์น้อยที่สุด ที่มา : Louis Cheng et.al. Financial Planning & Wealth Management: An International Perspective, McGraw Hill, 2009, p. 220
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.