ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRaul Canela Moreira ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
LAW1303 กฎหมายมหาชนเบื้องต้นIntroduction to Public Law
อาจารย์ไพบูลย์ ชูวัฒนกิจ สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
2
ขอบเขตการศึกษา ศึกษาสถาบันทางกฎหมายมหาชน
ความหมาย องค์ประกอบ และรูปแบบของรัฐ การเป็นนิติบุคคลและสถาบันต่างๆ ของรัฐ ศึกษาความหมายและความจำเป็นของการปกครองโดยกฎหมาย ความเป็นมาและวิวัฒนาการของกฎหมายมหาชน ขอบเขตและลักษณะเฉพาะของกฎหมายมหาชน ศึกษาบ่อเกิดของกฎหมายมหาชน แนวความคิดและนิติวิธี (Juristic Method) ของกฎหมายมหาชน
3
ที่ใดมีสังคม ที่นั่นต้องมีกฎหมาย
4
สังคม วิวัฒนาการของกฎหมาย Social Control ศีลธรรม ขนบธรรมเนียม
จารีตประเพณี ศาสนา กฎหมาย ที่ใดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย Ubi Societas, ibi Jus
5
จากสังคมไปสู่รัฐ 1.ครอบครัว ความอ่อนแอทางกายภาพ สัญชาตญาณความรักลูก
แม่ สถานะ ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ลูก พ่อ ครอบครัว พี่น้อง กฎเกณฑ์ต่างๆ ไม่ตายตัว / ไม่เคร่งครัด “ไม่ใช่การปกครองโดยแท้” ระบบเครือญาติ การสมรส
6
กฎหมาย จากสังคมไปสู่รัฐ 2.ครอบครัวสู่รัฐ โครตตระกูล ชนเผ่า
มีคนจำนวนมาก ความสัมพันธ์เปลี่ยนไป มีการบังคับกันอย่างจริงจัง รุนแรง มีการบังคับบัญชากันอย่างเด็ดขาด มีผู้บังคับบัญชาและผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา จารีตประเพณีอันดีงามของสังคม โครตตระกูล ชนเผ่า การบังคับเริ่มจริงจัง/เคร่งครัดมากขึ้น มีการใช้กำลังเข้าบังคับ กฎหมาย “การปกครองโดยแท้” “สังคมการเมือง” หรือ “รัฐ”
7
จากศีลธรรมไปสู่กฎหมาย
ก่อกำเนิดยุคกฎหมายชาวบ้าน ศีลธรรม ศีลธรรมทั่วไป ความสามารถในการจำได้หมายรู้ ความสามารถในการเทียบคียงความรู้สึก ศีลธรรมเฉพาะเรื่อง ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี ปฏิบัติซ้ำๆ อย่างสม่ำเสมอ มีการบังคับอย่างเป็นกิจจะลักษณะ ประพฤติปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอและนมนาน รู้สึกสำนึกว่าผูกพันต้องปฏิบัติตามถ้าไม่ทำตามจะรู้สึกว่าผิด กฎหมายจารีตประเพณี
8
ยุคกฎหมายนักกฎหมาย (Juristenrecht)
กฎหมายของนักกฎหมาย/ หลักกฎหมาย การเห็นความแตกต่าง ของกฎหมายและศีลธรรม การรวมตัวกันเพื่อลงโทษผู้ฝ่าฝืน การพิจารณาว่าใครถูกใครผิด การบังคับคดี คือ การลงโทษผู้กระทำผิด กระบวนการยุติธรรม การใช้เหตุผลปรุงแต่งหลักเกณฑ์ที่จะชี้ว่าใครถูกหรือใครผิดในการพิจารณาคดีที่เหมาะเจาะเหมาะสมและเป็นธรรม การก่อตัวของวิชานิติศาสตร์
9
กฎหมายเทคนิค (Technical Law)
รัฐสมัยใหม่ ภารกิจของรัฐเพื่อจัดระเบียบสังคมที่ซับซ้อนขึ้น เนื่องจากการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ มาพัฒนาสังคม กระบวนการนิติบัญญัติของรัฐสมัยใหม่ เป็นผลมาจากความคิดเรื่องอำนาจอธิปไตย กำหนดมาตรการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญญาของสังคมในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง กระบวนการนิติบัญญัติในสมัยใหม่ กลวิธีหรือมาตรการเพื่อให้บรรลุวัตุประสงค์ของรัฐในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นเหตุผลทางเทคนิคไม่เกี่ยวกับศีลธรรมหรือจารีตประเพณีโดยตรง
10
สรุปกฎหมาย 3 ยุค ยุค รูปแบบของกฎหมาย เหตุผล
ยุคกฎหมายชาวบ้าน (Volksrecht) กฎหมายประเพณี (จารีตประเพณี) เหตุผลธรรมดาของสามัญชน หรือ สามัญสำนึก (Simple Natural Reason) ยุคกฎหมายนักกฎหมาย (Juristenrecht) หลักกฎหมาย (หลักนิติศาสตร์) เหตุผลปรุงแต่งทางกฎหมาย (Artificial Juristic Reason) กฎหมายเทคนิค (Technical Law) กฎหมายลายลักษณ์อักษร (กฎหมายบัญญัติขึ้น) เหตุผลทางเทคนิค (Technical Reason)
11
สำนักกฎหมายประวัติศาสตร์ สำนักกฎหมายบ้านเมือง
กฎหมายคืออะไร สำนักกฎหมายประวัติศาสตร์ สำนักกฎหมายบ้านเมือง กฎหมายเกิดจากจิตวิญญาณประชาชาติ (Volksgeist) มีรูปร่างลักษณะของมันวิวัฒนาการไปตามประวัติศาสตร์ และปรากฏออกมาในรูปแบบจารีตประเพณีวัฒนธรรม แลวิวัฒนาการต่อมาอีกชั้นหนึ่งในรูปที่เป็นกฎหมายของแต่ละชาติ กฎหมายคือคำสั่งทั้งหลายที่ผู้ปกครองว่าการแผ่นดินต่อราษฎรทั้งหลาย เมื่อไม่ทำตามแล้วธรรมดาต้องมีโทษ
12
Theory of Law กฎหมายคือคำสั่งของรัฐาธิปัตย์
Theory of Legal Science กฎหมายคือเรื่องของเจตจำนง John Austin Theory of Legal Methodology การแยกแยะวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ความสัมพันธ์ระหว่างศีลธรรมกับยุติธรรม (Law as it is, not law as it ought to be)
13
ร.แลงกาต์ กฎหมายหรืออีกนัยหนึ่งที่รวมแห่งข้อบังคับแก่กิจการของมนุษย์ทางชุมชนนั้น ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นตามอำเภอใจของประมุขในชุมชนโดยอิสระหาได้ไม่ เมื่อพิเคราะห์ดูประวัติศาสตร์หรือความแปรผันเป็นมาของกฎหมาย จะเห็นได้ว่าข้อบังคับที่ประกอบกันเรียกว่ากฎหมายนี้ได้เป็นผลเกิดขึ้นโดยตรงจากอาการที่มนุษย์ได้เข้ามาอยู่รวมกันเป็นชุมชนเพื่อดำเนินชีวิต ข้อบังคับนี้ได้ค่อยๆ เกิดขึ้นที่ละน้อยๆ ตามลำพังเป็นลำดับ สำหรับวางระเบียบความเกี่ยวพันอันมากหลายระหว่างมนุษย์ในชุมชนให้ค่อยๆ เข้ารูปเรียบร้อยเห็นได้แน่นอนชัดเจน....
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.