งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสืบค้นสารสนเทศ อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสืบค้นสารสนเทศ อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสืบค้นสารสนเทศ อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

2 การสืบค้นสารสนเทศ (Information Retrieval - IR)
การสืบค้นการสืบค้นสารสนเทศด้วยระบบมือ (Manual system) เช่น บัตรรายการ บัตรดรรชนีวารสาร บรรณานุกรม การสืบค้นสารสนเทศด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (Computer system) สามารถกระทำได้โดยผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ในการค้นหาข้อมูลจาก ฐานข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ ฐานข้อมูล OPAC (Online Public Access Catalog) - ฐานข้อมูลออนไลน์ - ฐานข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต

3 1. กลยุทธ์และเทคนิคการค้นสารสนเทศ
การสืบค้นขั้นพื้นฐาน (Basic Search ) เป็นวิธีการสืบค้นสารสนเทศโดยใช้คำโดดหรือคำผสมเพียง 1 คำ ในการสืบค้นข้อมูลโดยไม่ต้องสร้างประโยคคำค้นที่ยุ่งยาก ซับซ้อน อาจจะ ระบุหรือไม่ระบุเขตของข้อมูล สืบค้นจากคำสำคัญหรือสืบค้นจากทุกเขต ข้อมูล ซึ่งผลที่ได้จากการสืบค้นจะมีจำนวนมาก ต้องกลั่นกรองเพื่อให้ได้ สารสนเทศที่ต้องการ

4

5 1. กลยุทธ์และเทคนิคการค้นสารสนเทศ
2. การสืบค้นขั้นสูง (Advanced Search ) เป็นวิธีการสืบค้นที่มีความซับซ้อนมากกว่าแบบพื้นฐาน มีเทคนิค และรูปแบบในการสืบค้นที่ผู้สืบค้นสามารถจำกัดขอบเขตของการค้นหา สารสนเทศให้เจาะจงเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความ ต้องการมากที่สุด

6 เทคนิคตรรกบูลีน (Boolean logic)
สืบค้นโดยอาศัยตัวกระทำ 3 ตัว คือ AND, OR, NOT AND หรือเครื่องหมาย + ใช้เชื่อมคำค้นเพื่อจำกัดขอบเขตการ ค้นให้แคบลง OR ใช้เชื่อมคำค้นเพื่อขยายขอบเขตการค้นให้กว้างขึ้น NOT หรือเครื่องหมาย - ใช้เชื่อมคำค้นเพื่อจำกัดขอบเขตการค้น ให้แคบลง

7 strawberry AND vanilla AND chocolate.
AND ใช้เชื่อมคำเพื่อจำกัดขอบเขตการค้นให้แคบลง ยิ่งเพิ่ม AND การสืบค้นยิ่งแคบมากขึ้น ต้องพิมพ์ AND ด้วยอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ * มักใช้เชื่อมคำค้นที่มีแนวคิดต่างกัน ข้อมูลที่ได้จะมีคำเฉพาะที่ต้องการอยู่ในเอกสาร Research AND Computer

8 OR ใช้เชื่อมคำค้นเพื่อขยายขอบเขตการค้นให้กว้างขึ้น
strawberry OR vanilla OR chocolate. OR ใช้เชื่อมคำค้นเพื่อขยายขอบเขตการค้นให้กว้างขึ้น ยิ่งเพิ่ม OR การสืบค้นยิ่งกว้างมากขึ้น มักใช้เชื่อมคำค้นที่มีแนวคิดเหมือนกัน ข้อมูลที่ได้จะมีคำใดคำหนึ่งปรากฏนึ่งหรือทั้งสองคำปรากฏ เช่น Research OR Computer

9 NOT หรือ AND NOT หรือ OR NOT
ใช้เชื่อมคำค้นเพื่อจำกัดขอบเขตการค้นให้แคบลง โดยตัดเรื่องที่ไม่ต้องการออก strawberry AND Vanilla NOT chocolate. strawberry OR Vanilla NOT chocolate.

10 ส่วนทึบแสดงผลที่ค้นได้
เปรียบเทียบการใช้ตัวเชื่อม 3 ตัวเชื่อมของเทคนิคตรรกบูลีน (ค้นจาก ScienceDirect) ส่วนทึบแสดงผลที่ค้นได้ การกำหนดคำค้น ลักษณะของผลที่ได้ จำนวนผลที่ค้นได้ Research AND Computer สารสนเทศที่เกี่ยวกับทั้งงานวิจัยและคอมพิวเตอร์รวมกัน 23029 รายการ Research OR Computer สารสนเทศที่เกี่ยวกับงานวิจัยหรือ คอมพิวเตอร์อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งเศรษฐกิจพอเพียง และ ธุรกิจ รายการ Research NOT Computer สารสนเทศที่เกี่ยวกับงานวิจัยอย่างเดียวไม่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 88139 รายการ ค้นเมื่อ ธันวาคม ปัจจุบันจำนวนผลที่ค้นได้อาจมีการเปลี่ยนแปลงทั้งมากหรือน้อยลงได้

11 NEAR : NEAR / n NEAR / 3 NEAR / 5 Internet NEAR/3 library
Internet จะปรากฏอยู่ภายใน 3 คำใกล้ library โดยคำใดจะมาก่อนก็ได้

12

13 เทคนิคตรรกบูลีน (Boolean logic)
BEFORE ใช้เมื่อต้องการกำหนดให้คำแรกปรากฏอยู่ข้างหน้าคำหลังในระยะห่างไม่เกิน 8 คำ AFTER ใช้เมื่อต้องการกำหนดให้คำแรกปรากฏอยู่ข้างหลังคำหลังในระยะห่างไม่เกิน 8 คำ ( ) ใช้เมื่อต้องการกำหนดให้ทำตามคำสั่งภายในวงเว็บก่อนคำสั่งภายนอก เช่น (Research OR Quantitative) and Thailand ตัวเล็กตัวใหญ่ จะทำให้ได้ความหมายที่แตกต่างกัน ภาษาธรรมชาติ เป็นการสืบค้นโดยใช้คำถาม

14 การค้นคำวลี เครื่องหมายอัญประกาศ “ ”
การค้นคำวลี เครื่องหมายอัญประกาศ “ ” ใช้สำหรับคำค้นที่เป็นวลี (Searching with phrases) ใส่เครื่องหมายอัญประกาศ ( Double quotation marks ) ไว้หน้าและหลังคำค้นที่ เป็นวลี เพื่อให้ระบบสืบค้นตามลำดับของคำ

15

16

17 การตัดคำ ( Truncation )
เป็นเทคนิคที่ช่วยในการสืบค้น ให้ได้ข้อมูลที่กว้างขึ้น ครอบคลุม มากขึ้น โดยการละข้อความ บางส่วนของคำ และใช้สัญลักษณ์ แทน อาจเป็นสัญลักษณ์ # หรือ ? หรือ $ ขึ้นอยู่กับข้อกำหนดและ ความสามารถของระบบ เช่น Librar# , Model* , Teach$, etc.

18 การตัดคำ ( Truncation )
* = truncation character ตัวอย่าง econom* economy, economics col*r color , colour ? = replace any single character ตัวอย่าง t?re tire / tyre / tore

19 การสืบค้นที่ระบุเขตข้อมูล
All field Author Title Subject Abstract สืบค้นจากทุกเขตข้อมูล สืบค้นจากชื่อผู้แต่ง สืบค้นจากชื่อเรื่อง สืบค้นจากหัวเรื่อง สืบค้นจากสาระสังเขป

20 การสืบค้นที่ระบุเขตข้อมูล
Keyword Full text Publisher ISSN ISBN สืบค้นจากคำสำคัญ สืบค้นจากเอกสารฉบับเต็ม สืบค้นจากชื่อสำนักพิมพ์ สืบค้นจากเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร สืบค้นจากเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

21 2. การใช้เครื่องมือในการสืบค้นสารสนเทศ
2.1 การสืบค้นด้วย OPAC โอเพค (OPAC) หรือ Online Public Access Catalog หรือบางครั้งเรียกว่า Online catalog เป็นเครื่องมือที่ได้มีการบันทึกรายละเอียดข้อมูลบรรณานุกรมของ วัสดุสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุดไว้ในฐานข้อมูลที่มีอยู่ภายในฐานข้อมูล บรรณานุกรมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้ใช้สามารถป้อนคำสำคัญหรือหัวเรื่อง หรือชื่อผู้แต่งที่ต้องการสืบค้นหลังจากนั้นระบบจะแสดงผลการสืบค้นได้ทาง จอภาพ นอกจากนั้นยังสามารถสืบค้นผ่านทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งมักเรียก OPAC ที่ ลักษณะนี้ว่า Web Pac

22 2. 1. 1 วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC

23 ขั้นตอนที่ 2 เลือก สืบค้นหนังสือ OPAC

24 ขั้นตอนที่ 3 เข้าสู่หน้าจอ OPAC

25 ขั้นตอนที่ 4 พิมพ์คำค้น เช่น คำว่า “สารสนเทศ” เลือก “ชื่อเรื่อง”
2 1

26 ขั้นตอนที่ 5 แสดงรายการผลการสืบค้นที่เป็นชื่อเรื่อง สารสนเทศ
เลือกชื่อเรื่อง

27 ขั้นตอนที่ 6 แสดงรายการทางบรรณานุกรม
ขั้นตอนที่ 6 แสดงรายการทางบรรณานุกรม

28 2.1.2 วิธีการหาตัวจริงของวัสดุสารสนเทศในห้องสมุด
หนังสือของสำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์มีการ จัดเรียงหมวดหมู่ระบบดิวอี้ เมื่อนักศึกษาทำจากสืบค้นจาก OPAC แล้ว ได้รายการตามที่ต้องการให้นักศึกษาทำการจดเลขเรียกหนังสือ และชั้น ที่มีการจัดเก็บหนังสือ แล้วทำการขึ้นไปหาตามชั้นที่มีการจัดเก็บหนังสือ เล่มนั้น โดยต้องดูสถานภาพของหนังสือด้วยว่าอยู่บนชั้นหรือไม่

29 ความหมายของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง แหล่งที่ใช้จัดเก็บ รวบรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันไว้ในที่ เดียวกัน อยู่ในรูปแฟ้มข้อมูล เพื่อให้สามารถนำข้อมูลมา ประมวลเพื่อช่วยในการตัดสินใจ และสามารถใช้ข้อมูล ร่วมกันได้

30 โครงสร้างฐานข้อมูล Database Files Recordประกอบด้วย รหัส , Records
Personnel file Department file Payroll file (Project database) Files Fiske, Steven Buckley, Bill Johns, Francine (Personnel file) Recordประกอบด้วย รหัส , นามสกุลและชื่อ Records Fiske, Steven Fields Fiske Field นามสกุล Characters (Byte) ตัวอักษร F ใน ASCII Binary Digit Bit 0,1

31 ฐานข้อมูลออนไลน์ (online Database)
ฐานข้อมูลออนไลน์ เป็นฐานข้อมูลสำหรับสืบค้นสารสนเทศจาก สถาบันบริการที่อยู่ห่างไกล มีให้บริการมาตั้งแต่ปี 1970S นับรวมถึง ปัจจุบัน น่าจะมีจำนวน มากกว่า 10,000 ฐานข้อมูล จากทั่วโลก มีเนื้อหา รูปแบบ การเข้าถึง ค่าบริการแตกต่างกันไปขึ้นกับผู้ผลิต ( database producer/provider ) ผู้ออกแบบ

32 ประเภทของฐานข้อมูลออนไลน์
ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Database) ฐานข้อมูลเอกสารที่มีเนื้อหาเต็มรูปแบบ (Full Text Document Database) ฐานข้อมูลนามานุกรม (Directory Database) ฐานข้อมูลตัวเลข (Numeric Database)

33 รูปแบบของฐานข้อมูล 1. ฐานข้อมูลสำเร็จรูปในรูปแบบซีดีรอม (CD-ROM)
เป็นฐานข้อมูลที่สร้างขึ้นเพื่อคนทั่วไป เนื้อหาไม่ลึก นิยมบรรจุข้อมูลลง ในแผ่นซีดีรอมออกจำหน่ายแทนวัสดุตีพิมพ์ เช่น พจนานุกรม สารานุกรม และหนังสือสารคดีที่ข้อเท็จจริงต่าง ๆ เป็นต้น 2. ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นฐานข้อมูล ที่ให้บริการโดยผ่านระบบออนไลน์ เช่น ฐานข้อมูลที่ หน่วยงานหนึ่ง ๆ สร้างขึ้นเพื่อใช้ภายในหน่วยงานนั้น เช่น ฐานข้อมูลลูกค้า ของธนาคาร ฐานข้อมูลการลงทะเบียน และฐานข้อมูลรายการวัสดุสารสนเทศ ของห้องสมุด เป็นต้น

34 ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ควรรู้จัก
           กลุ่มสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ เช่น Sociofile, ERIC , Emerald Management Extra (EMX)            2. กลุ่มวิทยาศาสตร์ เช่น Science Direct, Chemical Abstracts, Applied Science & Technology Plus, Life Science            3. กลุ่มวิศวกรรมไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ เช่น ACM, IEEE            4. กลุ่มเกษตรศาสตร์ เช่น AGRIS, AGRICOLA            5. กลุ่มธุรกิจ การบัญชี การจัดการ การตลาด การเงิน การประกันภัย เช่น ABI/Inform, Lexis/Nexis           6. กลุ่มการแพทย์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ การพยาบาล เช่น AIDSLINE, MEDLINE, TOXLINE, International Pharmaceutical Abstracts           7. กลุ่มที่มีเนื้อหาหลากหลายสาขา เช่น Proquest, H.W. Wilson

35 2. 1. 1 วิธีการสืบค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ทั่วประเทศ
2.1.1 วิธีการสืบค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ทั่วประเทศ ขั้นตอนที่ 1 เข้าสู่เว็บ

36 2. 1. 1 วิธีการสืบค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ทั่วประเทศ
2.1.1 วิธีการสืบค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ทั่วประเทศ ขั้นตอนที่ 2 เลือก Online Services เลือกวิทยานิพนธ์ไทย

37

38

39

40

41

42

43

44

45 การสืบค้นสารสนเทศด้วย Search engine
พิมพ์คำค้นที่ต้องการหาข้อมูล

46 คลิกเลือกที่การตั้งค่าแล้วคลิกเลือกค้นหาขั้นสูง

47 เลือกประเภทของไฟล์ข้อมูลที่ต้องการ

48

49 เลือกประเภทของไฟล์ข้อมูลที่ต้องการ

50

51

52


ดาวน์โหลด ppt การสืบค้นสารสนเทศ อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google