งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
โครงการเชิงรุก เพื่อยุติการถ่ายทอดเชื้อ HIV มารดาสู่ทารกและเริ่มยาแก่ทารกที่ติดเชื้อ ให้เร็วที่สุด วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก

2 ทบทวน โครงการเชิงรุก เพื่อยุติการถ่ายทอดเชื้อ HIV
มารดาสู่ทารกและเริ่มยาแก่ทารกติดเชื้อ ให้เร็วที่สุด

3 นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก
ปี พ.ศ ทารกที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอดส์ ทุกราย ต้องตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี ให้เร็วที่สุดด้วยวิธี PCR  ส่งเลือดตรวจ dried blood spot ที่แรกเกิด (2-7 วัน)  ทารกความเสี่ยงทั่วไป ตรวจ PCR 2 ครั้ง อายุ 1 , 2- 4 เดือน  ทารกความเสี่ยงสูง ตรวจ PCR 3 ครั้ง อายุ 1 , 2 , 4 เดือน

4 แนวทางการตรวจวินิจฉัยในทารกที่คลอดจากแม่ติดเชื้อเอชไอวี
และแหล่งทุนสนับสนุนการตรวจ อายุเด็ก เสี่ยงทั่วไป เสี่ยงสูง ผู้สนับสนุนงบประมาณ แรกเกิด ( 2-7วัน ) DBS for HIV-PCR# ภายใต้โครงการพิเศษกรมวิทย์ฯนนทบุรี และเทคนิคการแพทย์ มช. 1 เดือน HIV-PCR ครั้งที่ 1 HIV PCR ครั้งที่ 1 กองทุนเอดส์ สปสช 2 เดือน HIV-PCR ครั้งที่ 2 HIV PCR ครั้งที่ 2 4 เดือน HIV PCR ครั้งที่ 3# 12 เดือน Anti HIV - สิทธิ์ UC สปสช 18 เดือน # กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ส่วนกลางและคณะเทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่บริการตรวจ HIV-PCR ฟรี ภายใต้โครงการพิเศษ

5 สรุปสถานที่ส่งตรวจ DBS และ HIV-PCR
กรมวิทยาศาสตร์การ แพทย์ส่วนกลาง นนทบุรี (อ.หรรษา) คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อ.ดร.ธนวรรณ) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เขต 9 พิษณุโลก ( คุณดุจดาว) HIV-PCR แรกเกิด (DBS) HIV-PCR (Whole Blood) (อายุ 1 และ 2 เดือน) HIV-PCR และ ครั้งที่ 3 เมื่อ ครั้ง 1 ,2 มีผลขัดแย้ง ครั้งที่ 3 เมื่อ ครั้ง 1 ,2 HIV-PCR ครั้งที่ 3 (กรณีเด็กมีความเสี่ยงสูง) เด็กไร้สิทธิ์/สิทธิ์ต่างด้าว ทุกกรณี

6 การจัดการรายบุคคลโดยใช้เครือข่ายการจัดการเชิงรุก
ทารกที่มีผล HIV PCR +ve รายงานทันทีโดย PCR labs กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โรงพยาบาล ส่งอีเมลให้ผู้จัดการส่วนกลาง กรมอนามัย กรมควบคุมโรค ศูนย์ความร่วมมือไทยสหรัฐด้านสาธารณสุข กรมวิทย์ HIVNAT เพื่อช่วยติดตามการดำเนินงานในภาพรวม - เริ่มยาต้านฯ สูตรรักษาโดยเร็วที่สุด - ตรวจ HIV PCR ซ้ำเร็วที่สุด - คีย์โปรแกรมสปสช.(NAP) - ติดตาม adherence ผู้จัดการภาคเหนือ รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ ติดตามผู้ประสานงานเอชไอวีของโรงพยาบาลว่าทารกได้รับการตรวจเลือดและเริ่มยาโดยเร็วที่สุดตามแนวทางการรักษาของประเทศและสอบสวนสาเหตุของการติดเชื้อรายใหม่ในทารก

7 สรุป. ปัญหาอุปสรรค โครงการเชิงรุกฯ (โรงแรมเรือนแพ รอยัล ปาร์ค 24 พ. ค
สรุป...ปัญหาอุปสรรค โครงการเชิงรุกฯ (โรงแรมเรือนแพ รอยัล ปาร์ค 24 พ.ค. 59) การติดต่อประสานงาน โครงการเชิงรุกฯ  ติดต่อหาผู้รับผิดชอบงานโครงการเชิงรุกฯ ยาก  ผู้รับผิดชอบงานติดราชการ/เปลี่ยน/เพิ่งมารับงานใหม่  ผู้รับผิดชอบงานของแต่ละหน่วยบริการมีภาระงานเยอะ ไม่สะดวกให้ข้อมูล

8 สรุป. ปัญหาอุปสรรค โครงการเชิงรุกฯ (โรงแรมเรือนแพ รอยัล ปาร์ค 24 พ. ค
สรุป...ปัญหาอุปสรรค โครงการเชิงรุกฯ (โรงแรมเรือนแพ รอยัล ปาร์ค 24 พ.ค. 59) 2. หน่วยบริการ เจ้าหน้าที่  จนท.ไม่ทราบแนวปฏิบัติ ขาดทักษะ ประสบการณ์  ใช้ guide line เดิมไม่ประเมินความเสี่ยง หญิงตั้งครรภ์และเริ่มยาต้านไวรัสไม่ถูกต้อง  ไม่ได้ส่งตรวจ PCR แรกคลอด  ไม่ระบุความเสี่ยงของเด็ก / ระบุความเสี่ยงผิด  ข้อมูลใบนำส่งไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ผู้ประสานงาน เปลี่ยนแล้วไม่แจ้งข้อมูล

9 สรุป. ปัญหาอุปสรรค โครงการเชิงรุกฯ (โรงแรมเรือนแพ รอยัล ปาร์ค 24 พ. ค
สรุป...ปัญหาอุปสรรค โครงการเชิงรุกฯ (โรงแรมเรือนแพ รอยัล ปาร์ค 24 พ.ค. 59) 2. หน่วยบริการ เจ้าหน้าที่  เด็กย้ายที่อยู่ ย้าย รพ. ส่งตรวจซ้ำมากกว่า 1 ห้องปฏิบัติการ  ขาดการประสานในโรงพยาบาล และในจังหวัด  ไม่มียา stock / ยาหมดอายุ

10 สรุป. ปัญหาอุปสรรค โครงการเชิงรุกฯ (โรงแรมเรือนแพ รอยัล ปาร์ค 24 พ. ค
สรุป...ปัญหาอุปสรรค โครงการเชิงรุกฯ (โรงแรมเรือนแพ รอยัล ปาร์ค 24 พ.ค. 59) 3. ผู้ป่วย ครอบครัว  NO ANC , ไม่ได้เจาะ anti HIV ก่อนคลอด  ผลเลือด ANC ลบ แต่สามี Positive  ย้ายถิ่นฐาน ต่างด้าว (ปัญหาด้านภาษา)  ฐานะทางสังคม : ยากจน ทำงานต่างจังหวัด กลัวความลับ เข้าถึงยาก  ให้ยาไม่ถูกต้อง ตา/ยาย เลี้ยง  ทารกเสียชีวิตเร็ว รักษากด viral load ลงไม่ดี

11  สำหรับทารกแรกเกิด (อายุ 2-7 วัน)ที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อเอชไอวี
แบบฟอร์มขอรับชุดเก็บตัวอย่าง ชนิดกระดาษซับเลือด เพื่อตรวจการติดเชื้อ HIV-PCR สถาบันชีววิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จ.นนทบุรี โทรศัพท์ /โทรสาร ………………………………… ข้อมูล หน่วยงาน/โรงพยาบาล (เพื่อจัดส่งชุดเก็บตัวอย่างกระดาษซับเลือด) ชื่อ-สกุล เบอร์โทรศัพท์ ที่อยู่ ขอรับชุดเก็บตัวอย่างชนิดกระดาษซับเลือด  สำหรับทารกแรกเกิด (อายุ 2-7 วัน)ที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อเอชไอวี จำนวน ชุด  สำหรับตรวจตามสิทธิ์ (สปสช.) เด็กอายุ 1-2 เดือน และ 2-4 เดือน เมื่อท่านกรอกข้อมูลเรียบร้อย กรุณาส่งแฟกซ์กลับมาที่ โทรศัพท์ /โทรสาร

12 แบบฟอร์มส่งตรวจ DBS ของ กรมวิทย์ฯนนทบุรี

13

14 แบบรายงาน...ที่ รพ. ต้องรับทราบ ต้องมีการรายงาน
ในกรณีพบเด็กติดเชื้อรายใหม่และ กรณีเสียชีวิตจากการติดเชื้อเอชไอวี ในเด็กอายุต่ำกว่า 18 เดือน

15

16

17 จัดส่ง...สำนักส่งเสริมสุภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
จัดส่ง...สำนักส่งเสริมสุภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 88/22 ม.4 ต.ตลาดขวัญ ถ.ติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 ผู้ประสานงานโครงการ นายปริวรรต ตั้งพงษ์ โทรศัพท์ , โทรสาร

18 ผู้ประสานงาน เรื่องยาต้านไวรัส (สคร.2) ภก.เชิดเกียรติ แกล้วกสิกิจ
เรื่องยาต้านไวรัส (สคร.2) ภก.เชิดเกียรติ แกล้วกสิกิจ เรื่องงบ สปสช คุณเปรมฤดี (แอน) เรื่อง Lab ศูนย์วิทยาศาสตร์เขตพิษณุโลก คุณดุจดาว

19 ผู้ประสานงานศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
อ้อยทิพย์ นิธิโอภาส วันชนา จีนด้วง

20 THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google