ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Ob-Gyn, Surg, Med, Ped, Ortho
Service plan 5 สาขาหลัก Ob-Gyn, Surg, Med, Ped, Ortho พญ. สุวรรณา ตีระวณิชย์ ประธานกรรมการ 5 สาขาหลัก
2
สาขาหลักสูติกรรม
3
สภาพปัญหาของบริการปัจจุบัน
สาขาหลักสูติกรรม: พัฒนาระบบบริการเพื่อลดอัตราการเกิด birth asphyxia และ low birth weight สภาพปัญหาของบริการปัจจุบัน จำนวนผู้ใช้บริการเพิ่มมากขึ้น และหญิงตั้งครรภ์/ หญิงคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนมีจำนวนมากขึ้น เป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์/หญิงคลอด หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิดได้รับบริการที่มีคุณภาพและ มีสุขภาพที่ดีตามมาตรฐาน
4
สาขาหลักสูติกรรม: พัฒนาระบบบริการเพื่อลดอัตราการเกิด birth asphyxia และ low birth weight
การพัฒนาปี 2557 CPG การดูแลหญิงตั้งครรภ์/หญิงคลอด พัฒนาระบบ Refer-in จากรพช. มา รพ.แพร่ เพิ่มศักยภาพบุคลากร ความรู้ด้านแม่และเด็ก ทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพแม่และเด็ก การวิจัยและพัฒนา
5
สาขาหลักสูติกรรม: พัฒนาระบบบริการเพื่อลดอัตราการเกิด birth asphyxia และ low birth weight
ผลการดำเนินงาน การดูแลตาม CPG ทำได้ถูกต้อง 100% รพช.ได้รับการพัฒนาด้านการดูแลฯ และส่งต่อ 100% อัตราการเกิด BA=20.1 (ไม่เกิน 25/1000 การเกิดมีชีพ) อัตราการเกิด LBW =8.5 (ไม่เกิน 7%) การพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ รพ.แพร่ ผ่านการอบรมความรู้และฝึกทักษะการ CPR แม่และเด็ก 100% มีผลงานวิจัย 3 เรื่อง
6
สาขาหลักสูติกรรม: พัฒนาระบบบริการเพื่อลดอัตราการเกิด birth asphyxia และ low birth weight
แผนการพัฒนาปี พัฒนามาตรฐานการฝากครรภ์ การคลอดและหลังคลอด เชื่อมโยงสู่เครือข่ายในกลุ่มโรคสำคัญของ PCT (top 3) พัฒนากำลังคน พัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ Central fetal monitor, Pipeline, Infusion pump, NIBP Newborn resuscitation
7
สาขาหลักศัลยกรรม
8
สาขาหลักศัลยกรรม: การดูแลผู้ป่วย Appendicitis
สภาพปัญหาของบริการ ผู้ป่วยโรคไส้ติ่งอักเสบเป็นโรคที่ต้องได้รับการรักษา ฉุกเฉินด้วยการผ่าตัด การวินิจฉัยโรคที่ถูกต้อง รวดเร็ว การนัดติดตามทำให้เกิดความแออัด ระยะเวลารอตรวจที่ OPD นาน
9
สาขาหลักศัลยกรรม: การดูแลผู้ป่วย Appendicitis
เป้าหมาย ได้รับการคัดกรอง/วินิจฉัยโรค/ผ่าตัดที่ถูกต้อง รวดเร็ว ลดการเกิดไส้ติ่งแตก ลดวันนอนและค่าใช้จ่ายในการเข้ารับการรักษา ในรพ.แพร่ นัดติดตามดูแลแผล ตัดไหมหรือเอาลวดออกใน ชุมชนใกล้บ้าน
10
สาขาหลักศัลยกรรม: การดูแลผู้ป่วย Appendicitis
การพัฒนาปี 2557 เพิ่มพูนความรู้และทักษะแก่แพทย์ Intern ที่ ต้องออกไปปฏิบัติงานใน รพช. พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยไส้ติ่ง ก่อน/ระหว่าง/หลังผ่าตัด หลังผ่าตัด ส่งนัดตัดไหมที่ รพสต. ส่งนัดเอาลวดออกที่ รพช.
11
สาขาหลักศัลยกรรม: การดูแลผู้ป่วย Appendicitis
ผลการดำเนินงาน ลดความแออัดในผู้ป่วยนอกเขตหลังผ่าตัดไส้ติ่ง ที่นัดF/U OPD ลดได้ 70 % อัตราครองเตียงลดลงจาก 5 วันเหลือ 3 วัน ผู้ป่วยที่ส่งไปรพช. รพสต. เอาลวดออก/ตัดไหม ทำได้ 100 %
12
สาขาหลักศัลยกรรม: การดูแลผู้ป่วย Appendicitis
แผนการพัฒนาปี พัฒนา CPG โรค Appendicitis เพื่อลดการเกิด ไส้ติ่งแตกก่อนผ่าตัด ให้นัดฟังผลชิ้นเนื้อที่ปกติที่ รพช. ให้นัดตัดไหม/เอาลวดออกที่รพสต. ทุกแห่งทั้ง จังหวัด ( สนับสนุน Staple remover )
13
สาขาหลักศัลยกรรม: แผลเรื้อรัง
สภาพปัญหาของบริการ ผู้ป่วยแผลเรื้อรังมีวันนอนใน รพ.นาน เฉลี่ย 15 วัน- 3 เดือน ต้นทุนค่ารักษาสูง เฉลี่ย 20,000 บาท/ราย อัตราการครองเตียงในตึกศัลยกรรมสูงเกิน เกณฑ์ เฉลี่ย 124.8
14
สาขาหลักศัลยกรรม: แผลเรื้อรัง
เป้าหมาย ผู้ป่วยแผลเรื้อรังเข้าถึงบริการได้สะดวก รวดเร็ว มีคลินิกแผลเรื้อรัง รพ.แพร่เป็นศูนย์กลางและ เครือข่ายมีการสื่อสารด้วยระบบ online
15
สาขาหลักศัลยกรรม: แผลเรื้อรัง
การพัฒนาปี 2557 จัดตั้งคลินิกแผลเรื้อรังที่รพ.แพร่ เป็นศูนย์กลางการ ดูแลแผลเรื้อรังทั้งจังหวัด อบรม จนท.รพช. รพสต. เรื่องการดูแลแผล จัดทำฐานข้อมูลผู้ป่วยแผลเรื้อรัง จัดทำ Line wound care
16
สาขาหลักศัลยกรรม: แผลเรื้อรัง
ผลการดำเนินงาน ดำเนินการจัดตั้งคลินิกแผลเรื้อรัง อบรม จนท. รพช. รพสต. เรื่องการดูแลแผล ครบทั้งจังหวัด อัตราการ Readmit ลดลงตามลำดับ เป็น 20.2, 18.5, 13.6 (55, 56, 57 [ตค.-มีค.]) อัตราการถูกตัดแขนขาลดลงตามลำดับ เป็น 1.49, 1.05, 0.78 (55, 56, 57 [ตค.-มีค.])
17
สาขาหลักศัลยกรรม: แผลเรื้อรัง
แผนการพัฒนาปี เพิ่มศักยภาพจนท.รพช./รพสต. อบรมเรื่องแผล Complex wound พัฒนาเครื่องมือ/อุปกรณ์ eg. เครื่องวัด ABI, วัสดุ ทำแผล พัฒนาระบบการส่งต่อ การสื่อสารของเครือข่าย ให้รวดเร็ว พัฒนาการดูแล Sepsis wound ตาม CPG Sepsis
18
สาขาหลักศัลยกรรม: โรคนิ่วระบบทางเดินปัสสาวะ
สภาพปัญหาของบริการ ผู้ป่วยโรคนิ่วระบบทางเดินปัสสาวะที่อยู่ชุมชน ห่างไกล การเข้าถึงบริการเพื่อให้ได้รับการรักษา กับแพทย์เฉพาะทางต้องเดินทางลำบากหลายครั้ง เสียเวลา และค่าใช้จ่ายสูง
19
สาขาหลักศัลยกรรม: โรคนิ่วระบบทางเดินปัสสาวะ
เป้าหมาย ผู้ป่วยได้รับการคัดกรองรักษาเบื้องต้นในชุมชน และส่งต่อรพ.แพร่ได้สะดวก รวดเร็ว ลดภาวะแทรกซ้อน ลดจำนวนครั้งการมาพบ แพทย์ก่อนรับการรักษา และลดระยะเวลารอ ตรวจกับแพทย์เฉพาะทาง
20
สาขาหลักศัลยกรรม: โรคนิ่วระบบทางเดินปัสสาวะ
การพัฒนาปี 2557 โครงการสร้างชุมชนเพื่อการดูแลผู้ป่วยระบบทางเดิน ปัสสาวะในพื้นที่ห่างไกล (อ.สอง อ.วังชิ้น และ อ.ร้องกวาง) เปิดคลินิกบริการผู้ป่วยระบบทางเดินปัสสาวะในชุมชน เพิ่มศักยภาพการรักษาโรคนิ่วแบบครบวงจร โดยไม่ต้องส่งต่อ
21
สาขาหลักศัลยกรรม: โรคนิ่วระบบทางเดินปัสสาวะ
ผลการดำเนินงาน เกิดเครือข่ายบริการ 3 เครือข่าย พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วย ระบบทางเดินปัสสาวะ 3 รพช. ลดจำนวนครั้งของการมาพบแพทย์ก่อนการรักษา จาก ครั้ง ลดระยะเวลารอตรวจกับแพทย์เฉพาะทาง จาก วัน รพ.แพร่สลายนิ่วได้ครบวงจร อัตราการส่งต่อสลายนิ่ว = 0%
22
สาขาหลักศัลยกรรม: โรคนิ่วระบบทางเดินปัสสาวะ
แผนพัฒนาปี พัฒนาเครือข่ายการให้บริการแบบเชิงรุก พัฒนาระบบการนิเทศงานโรคนิ่วในระบบ ทางเดินปัสสาวะ พัฒนาการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการสลายนิ่ว ใน รพ.แพร่
23
สาขาหลักอายุรกรรม
24
สาขาหลักอายุรกรรม: SEPSIS
สภาพปัญหาของบริการ ผู้ป่วยอาการไม่ชัดเจน/วินิจฉัยโรคล่าช้า/ อาการรุนแรง การรักษาไม่เป็นแนวทางเดียงกัน อัตราการตายสูง
25
สาขาหลักอายุรกรรม: SEPSIS
เป้าหมาย มีการดูแลผู้ป่วยตาม CPG เป็นมาตรฐาน เดียวกัน การรักษาบรรลุตาม EGDT ( early goal directed therapy) อัตราตายลดลง (< 28 %)
26
การพัฒนาปี 2557 พัฒนา CPG การดูแลผู้ป่วย severe sepsis/septic shock
อบรมวิชาการ
27
สาขาหลักอายุรกรรม: SEPSIS
ผลการดำเนินงาน อัตราตายลดลงจาก 40% เหลือ % (ตค.56-พค. 57: Med) มีการใช้ CPG >80 % (บรรลุตามเป้าหมาย) รักษาถึง EGDT >80 % (บรรลุตามเป้าหมาย) ตรวจ Basic Lab ก่อนให้ ABO >90 % (บรรลุตามเป้าหมาย) ได้ ABO ใน 1 ชม.หลัง Dx>80 % (บรรลุตามเป้าหมาย)
28
สาขาหลักอายุรกรรม: SEPSIS
แผนการพัฒนาปี ทำ CPG เพื่อใช้ใน รพช.ก่อนส่งต่อ สร้างเครือข่ายกับ รพช. เปิด consult ทาง Line App. อบรมวิชาการ ทบทวนเวชระเบียนเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
29
สาขาหลักกุมารเวชกรรม
30
สาขาหลักกุมารเวชกรรม: โรคธาลัสซีเมีย
สภาพปัญหาของบริการ โรคธาลัสซีเมียเป็นโรคเรื้อรังทางพันธุกรรม ผู้ปกครองและผู้ป่วยต้องดูแลสุขภาพต่อเนื่อง ตลอดชีวิต เป้าหมาย เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อป้องกันการเกิดผู้ป่วยรายใหม่
31
การพัฒนาปี 2557โครงการสานสัมพันธ์เครือข่ายครอบครัวผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมียเพื่อเสริมพลังอำนาจ
32
สาขาหลักกุมารเวชกรรม: โรคธาลัสซีเมีย
การพัฒนาปี 2557 2. โครงการลดขั้นตอนและระยะเวลา รอคอยการให้บริการในกลุ่มผู้ป่วยเด็ก โรคธาลัสซีเมีย
33
สาขาหลักกุมารเวชกรรม: โรคธาลัสซีเมีย
ผลการดำเนินงาน มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแล สุขภาพผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมีย อุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง ความพึงพอใจต่อบริการเพิ่มขึ้น ลดระยะเวลารอคอยการให้บริการ
34
สาขาหลักกุมารเวชกรรม: โรคธาลัสซีเมีย
แผนการพัฒนาปี พัฒนา CPG การดูแลผู้ป่วยเด็กโรคธาลัสซีเมีย การให้ยาขับเหล็ก การให้เลือดในรพช. พัฒนาฐานข้อมูลผู้ป่วยธาลัสซีเมียทั้งจังหวัด การส่งต่อ ไป-กลับ พัฒนาศักยภาพเครือข่าย สนับสนุนวิชาการ
35
สาขาหลักออร์โธปิดิกส์
36
สาขาหลักออร์โธปิดิกส์: พัฒนาระบบบริการศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์
สภาพปัญหาของบริการ ความแออัดของผู้รับบริการที่ OPD ห้องผ่าตัดไม่เพียงพอ Refer case ไปรักษาต่อระดับ A มากในกรณี C-Spine, Tumor Sport Med, Hand replantation การปรึกษา case โดย Line App. ยังไม่เป็นระบบ
37
สาขาหลักออร์โธปิดิกส์: พัฒนาระบบบริการศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์
เป้าหมาย การเข้าถึงบริการ ความพึงพอใจบริการ
38
โครงการผ่าตัดโรคทางมือสัญจร (เด่นชัย วังชิ้น ลอง สอง ร้องกวาง)
การพัฒนาปี 2557 โครงการผ่าตัดโรคทางมือสัญจร (เด่นชัย วังชิ้น ลอง สอง ร้องกวาง)
39
ผลการพัฒนา ผู้ป่วยโรคทางมือเข้ารับการตรวจในรพช. 276 ราย
40
สาขาหลักออร์โธปิดิกส์: พัฒนาระบบบริการศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์
ผลการดำเนินงาน ผู้ป่วยโรคทางมือเข้ารับการตรวจในรพช. ราย ผ่าตัดผู้ป่วยโรคทางมือ ราย ผ่าตัดและมีภาวะแทรกซ้อน ราย ความพึงพอใจต่อการให้บริการในชุมชน > 80 %
41
ระบบการปรึกษาทาง Line App. ของ Ward กับแพทย์เวร
42
ระบบการปรึกษาทาง Line App. ของ Ward กับแพทย์เวร
43
สาขาหลักออร์โธปิดิกส์: พัฒนาระบบบริการศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์
แผนพัฒนาปี ส่งแพทย์เรียน General ortho 2 คน (กำลังศึกษา) ส่งแพทย์เรียน Spine ortho 1 คน (ปี 58) วางแผนส่งแพทย์เรียน Sport Med Hand surgery ส่ง RN incharge อบรมเฉพาะทางออร์โธฯ ครบทุกคนภายในปี 60 (ปีละ 2 คน)
44
สาขาหลักออร์โธปิดิกส์: พัฒนาระบบบริการศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์
แผนพัฒนาปี เพิ่มอัตรากำลังทางการพยาบาล กรณีมีผู้ป่วย on Ventilator ในหอผู้ป่วย ส่งพยาบาล รพช. อบรมเฉพาะทางออร์โธฯ 1 คน/รพช. ภายในปี 60 เพิ่มจนท. X-Ray ในรพช.เพื่อให้บริการครอบคลุมนอกเวลา เพิ่มนักกายภาพบำบัดและบริการกายภาพบำบัด ให้ครบทุกรพช.
45
สาขาหลักออร์โธปิดิกส์: พัฒนาระบบบริการศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์
แผนพัฒนาปี ด้านอุปกรณ์/เครื่องมือ เพิ่มเครื่องมือในการผ่าตัดตามเกณฑ์ จัดหาเครื่องมือสื่อสารระหว่างรพ.แพร่กับรพช. (ใบ refer, mobile phone) เพิ่มอุปกรณ์ทางกายภาพบำบัดให้ครบตามเกณฑ์ทุกรพช. ด้านระบบ จัดทำโครงการผ่าตัดมือสัญจรต่อเนื่อง พัฒนา CPG การ Consult ทาง Line App. ให้ชัดเจน ปรับปรุงใบ Refer
46
Thank You for Your Attention Thank You for Your Attention
Slide 20: That’s all my presentation. Thank you for your attention and I would be welcome to answer any questions or comments.
47
5 สาขาหลัก: ปัญหา/อุปสรรค
การส่งต่อไม่ได้เขียนประวัติยาเดิม/ไม่ได้นำยาเดิมมาด้วย ส่งต่อเข้ามารับยาเนื่องจากไม่มียาที่ รพช. การส่งต่อผู้ป่วยให้มีญาติมาด้วยเพราะอาจมีการทำหัตถการ เช่น on ET Tube, on IJ, Cutdown รพช.ส่งต่อ case sepsis มาโดยไม่ได้ take H/C ก่อนให้ ABO
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.