ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSucianty Kusumo ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความเข้าใจในด้านการท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2/4 แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ภาสกร มีชัย สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
2
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
1.ผลกระทบจากโลกาภิวัตน์ทําให้ประเทศที่อ่อนแอกว่าหรือประเทศที่ไม่ได้เตรียมตัว ประเทศที่ไม่ได้สร้างภูมิคุ้มกันว็ก็จะถูกกระทบมากถ้าประเทศไหนเข้มแข็งก็ถูกกระทุบน้อย ทําให้คนไทย หลงคิดว่าการพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว 2.วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ เพื่อให้การดำเนินการสอนที่มีประสิทธิ์ภาพจึงได้เล็งเห็นในด้านการการน้อมนำเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
3
วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อศึกษาความเข้าใจในด้านการท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา ปวช.2/4 แผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
4
กรอบแนวคิด - เพศ - อายุ - ระดับการศึกษา
การใช้พื้นที่อยู่ในการประยุกต์ในการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง - ระดับการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน ความเข้าใจในด้านการท่องเที่ยว ในมิติเศรษฐกิจพอเพียงของ นักศึกษา
5
ประชากรของงานวิจัย ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักศึกษาที่เรียนในรายวิชา การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ระดับชั้น ปวช.2/4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 20 คน
6
กลุ่มตัวอย่างของงานวิจัย
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่นักศึกษาที่เรียนในรายวิชา การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ระดับชั้น ปวช.2/4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 20 คน ได้มาจากการเลือกใช้เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling)
7
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
1. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา การใช้พื้นที่อยู่ในการประยุกต์ในการใช้เศรษฐกิจพอเพียง และระดับการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน ส่วนที่ 2 ความเข้าใจในด้านการท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา ใช้คำถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ได้แก่ ระดับความเข้าใจอยู่ในระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ส่วนข้อเสนอแนะใช้แบบเติมคำ
8
การสร้างเครื่องมือและการหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ
1. ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น โดยศึกษาจากทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างเครื่องมือ 2. สร้างเครื่องมือโดยการศึกษาหลักการสร้างแบบสอบถามและแบบตรวจรายการโดยกำหนดประเด็นและขอบเขตคาถามด้วยการจัดหมวดหมู่ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย
9
3. ทำการศึกษาวิจัยเบื้องต้น (Try out) โดยแจกแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ที่เคยเรียนรายวิชาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เมื่อปีการศึกษา 2556 จำนวน 30 ชุด เพื่อหาความเชื่อมั่น/ความเที่ยง (Reliability) ของแบบสอบถาม จากนั้นเก็บแบบสอบถามวิจัยดังกล่าวมาคำนวณหาค่าความเชื่อมั่น/ความเที่ยง โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ได้ค่า Cronbach’s alpha coefficient เท่ากับ 0.87 4. ปรับปรุงเครื่องมือ แล้วนำไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลต่อไป
10
การรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้นําเครื่องมือ คือ แบบสอบถามไปเก็บรวบรวมข้อมูล โดยวางแผนและปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. นําแบบสอบถาม ที่สมบูรณ์ซึ่งผ่านความเห็นชอบจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว ไปใช้กับ กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. ดําเนินการแจกแบบสอบถามให้กับนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง
11
3. เก็บรวบรวมแบบสอบถาม แล้วตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของ แบบสอบถาม
4. นําข้อมูลจากแบบสอบถามมาประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยและสรุปผลเป็น ค่าเฉลี่ยและอัตราร้อยละและใช้การพรรณนาเพื่ออธิบายข้อมูลที่ได้จากการสํารวจ
12
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์สําหรับการวิจัยในครั้งนี้จะใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้สถิติร้อยละ (Percentage) ตอนที่ 2 แบบสอบถามความเข้าใจในด้านการท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามปลายปิดและปลายเปิดเกี่ยวกับทัศนคติต่อหลักเศรษฐกิจพอเพียง และการนํามาใช้ในชีวิตและข้อเสนอแนะใช้สถิติร้อยละ (Percentage)
13
ลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน
ผลการวิจัย ลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน จำนวน ร้อยละ 1. เพศ ชาย หญิง 3 17 15 85 รวม 20 100 2. อายุ 16 – 18 ปี 19 – 22 ปี 19 1 95 5 3. ระดับการศึกษา ระดับชั้นประกาศนียบัตร (ปวช.)
14
ลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน
จำนวน ร้อยละ 4. นักศึกษาสามารถใช้พื้นที่ของตนเองในการบูรณาการให้อ้างอิงกับเศรษฐกิจพอเพียง ได้ ไม่ได้ 18 2 90 10 รวม 20 100 5. ระดับการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันอยู่ในระดับใด ได้ไม่มีปัญหา ขอคิดดูก่อน -
15
หัวข้อการประเมิน ค่าเฉลี่ยรวม ความหมาย
ค่าเฉลี่ยรวมของการปลูกฝังแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่กับการท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่นักศึกษา ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2557 หัวข้อการประเมิน ค่าเฉลี่ยรวม ความหมาย 1.การน้อมนำเอาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาดำเนินชีวิต 4.21 มากที่สุด 2.นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์กับคำว่า “พอเพียง” 4.17 มาก 3.การท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียง 4.10 รวม 4.16
16
ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย
1. เน้นวางแผนการท่องเที่ยวให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนท้องถิ่นในมากที่สุด และวางแผนการป้องกันการพังทลายของชุมชนท้องถิ่นอันเกิดจาการพัฒนาการท่องเที่ยว 2.ส่งเสริมการศึกษาให้ทั้งนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้มีแนวคิดในการพัฒนาพื้นที่ของตนเองให้เกิดประโยชน์ในการท่องเที่ยวและเน้นการดูแลตนเองได้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.