งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ คืออะไร คือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์นับวันมีบทบาทมากยิ่งขึ้น เนื่องจากความ ตื่นตัวของผู้บริโภคและกระแสโลกานุวัตรกระตุ้นให้รัฐต้องออกกฎหมายมาควบคุม และข้อบังคับที่มีความสำคัญต่อวงการบรรจุภัณฑ์ พร้อมทั้งแหล่งที่จะค้นคว้า รายละเอียดข้อมูล บท/หน้า (8/1) (23/12/2559)

2 การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ พระราชบัญญัติ มาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. 2466 พ.ร.บ. ฉบับนี้ร่างขึ้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้บริโภคสินค้า ตามปริมาณที่กำหนด ซึ่งจะได้ผลดีเพียงใดอยู่กับความร่วมมือของผู้ประกอบการใน การดูแลเอาใจใส่ในการบรรจุสินค้าของตัวเองให้ถูกต้องตามกฎหมาย นอกจากนี้ในประกาศกระทรวงพาณิชย์ฉบับล่าสุดคือ ฉบับที่ 13 ปี พ.ศ ได้กำหนดให้สินค้าบางประเภทบรรจุตามปริมาณที่กำหนด ผลิตภัณฑ์อาหาร ที่กำหนดให้บรรจุตามปริมาณที่กำหนดระบุอยู่ในท้ายประกาศดังกล่าว ประกอบด้วย อาหารปรุงแต่ง เครื่องดื่มและน้ำส้มสายชู บท/หน้า (8/2) (23/12/2559)

3 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 สาระสำคัญในพระราชบัญญัติฉบับนี้สามารถแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การขึ้นทะเบียนตำรับอาหารและฉลากอาหาร 1) การขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ กำหนดให้ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าซึ่งอาหารควบคุมเฉพาะ ต้องนำอาหารนั้นมาขอขึ้น ทะเบียนตำรับอาหารก่อน เมื่อได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนแล้วจึงผลิตหรือนำเข้า เพื่อจำหน่ายได้หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ บท/หน้า (8/3) (23/12/2559)

4 บท/หน้า (8/4) (23/12/2559)

5 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
ประเภทอาหารที่ต้องขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1 อาหารควบคุมเฉพาะ มี 39 ประเภท 2 อาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานมี 9 ประเภท 3 อาหารที่กำหนดให้เป็นอาหารที่ต้องมีฉลากมี 2 กลุ่มคือ 3.1 กลุ่มอาหารที่ต้องส่งมอบฉลากให้คณะกรรมการอาหารและยา (อย) พิจารณาก่อนนำใช้ 3.2 กลุ่มอาหารที่ไม่ต้องส่งมอบให้คณะกรรมการอาหารและยา (อย) พิจารณา บท/หน้า (8/5) (23/12/2559)

6 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
2) การขอขึ้นทะเบียนฉลากอาหาร อาหารควบคุมเฉพาะที่กำหนดคุณภาพและที่กำหนดให้มีฉลากต้องขึ้นทะเบียนอาหาร และขออนุญาตใช้ฉลาก มี 4 กลุ่มคือ 1. อาหารควบคุมเฉพาะที่ผลิตจากสถานที่ผลิตที่ไม่เข้าข่ายเป็น โรงงาน คือ มีเครื่องจักรตั้งแต่ 5 แรงม้า หรือ คนงาน 7 คนขึ้นไป ฉลากอาหารที่ใช้ของ กลุ่มนี้จะเริ่มต้นด้วยตัวอักษร "ผ" เช่น "นป" หมายถึง น้ำปลา และ "ช" หมายถึง น้ำส้มสายชูซึ่งเป็นอาหารควบคุมเฉพาะใน 39 ประเภท บท/หน้า (8/6) (23/12/2559)

7 ตัวอย่าง ฉลากพร้อมเครื่องหมาย อย.
บท/หน้า (8/7) (23/12/2559)

8 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
2. อาหารที่ถูกกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน 3. อาหารที่ถูกนำเข้าประเทศเพื่อจำหน่ายซึ่งไม่ใช่อาหารควบคุม เฉพาะ 4. อาหารอื่นที่มีการจำหน่ายและรัฐมนตรีออกประกาศกำหนดให้ เป็นอาหารที่ต้องมีฉลาก คือ อาหารประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 และบางส่วนของ ประเภทที่ 4 ตามที่ประกาศกำหนดต้องมีฉลากที่ได้รับอนุญาตจากสำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา บท/หน้า (8/8) (23/12/2559)

9 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 พ.ศ ถือได้ว่าเป็นกฎหมายฉบับแรกของประเทศไทยที่มีการ จัดตั้งหน่วยงานของรัฐบาลเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคโดยตรง เนื่องจากกฎหมาย อื่นๆ ส่วนการดำเนินทางแพ่งก็เป็นภาระและเสียค่าใช้จ่ายมากทั้งผู้บริโภคส่วนใหญ่ยัง ไม่อยู่ในฐานะที่จะดำเนินคดีด้วยตนเอง วิธีการดำเนินตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ ได้ บัญญัติให้องค์กรของรัฐมีอำนาจหน้าที่ในการควบคุม การดูแล และประสานการ ปฏิบัติงานของส่วนราชการ บท/หน้า (8/9) (23/12/2559)

10 2 สิทธิที่ตะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าและบริการ โดยปราศจากการผูกขาด
บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 1) สิทธิของผู้บริโภค ผู้บริโภคมีสิทธิจะได้รับความคุ้มครองตาม กฎหมาย 4 ข้อดังนี้ 1 สิทธิที่ได้รับข่าวสาร รวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าและบริการ 2 สิทธิที่ตะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าและบริการ โดยปราศจากการผูกขาด 3 สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือ บริการ 4 สิทธิที่จะได้รับการชดเชยความเสียหายจากการใช้ สินค้าหรือบริการ บท/หน้า (8/10) (23/12/2559)

11 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
2) องค์กรของรัฐตาม พ.ร.บ องค์กรคุ้มครองของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อ คุ้มครองสิทธิ คือ ด้านโฆษณา (มีคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา) และด้านฉลาก รับ เรื่องร้องทุกข์พิจารณาความผิดที่เกิดขึ้นทั้งในกรุงเทพและจังหวัดอื่นๆ 3) การคุ้มครองผู้บริโภคด้วยฉลากสินค้า ความหมายของฉลาก สินค้าตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ คือคำว่า ฉลาก ตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ กำหนดให้หมายถึงรูป รอยประดิษฐ์ กระดาษหรือสิ่งอื่นใดที่ทำให้ปรากฏข้อความเกี่ยวกับสินค้า บท/หน้า (8/11) (23/12/2559)

12 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
สินค้าที่กำหนดให้เป็นสินค้าควบคุมฉลากมีดังนี้ 1 สินค้าที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพร่างกายหรือจิตใจ เนื่องจากการใช้สินค้าหรือโดยสภาพของสินค้านั้น เช่น ภาชนะพลาสติก เต้ารับ- เต้าเสียบเครื่องใช้ไฟฟ้า หลอดฟลูออเรสเซนต์ เครื่องตัดวงจรไฟฟ้า 2 สินค้าที่ประชาชนทั่วไปใช้เป็นประจำซึ่งการกำหนดของฉลาก สินค้านั้นจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภค เกี่ยวกับสินค้านั้น เช่น สีผสมอาหาร สมุด ปากกาลูกลื่น ภาชนะกระดาษที่ใช้กับอาหาร กระดาษเช็ดหน้า กระดาษชำระ เป็นต้น 3 สินค้าที่ยังไม่มีกฎหมายอื่นใดมาควบคุม บท/หน้า (8/12) (24/12/2559)

13 สินค้าที่กำหนดให้เป็นสินค้าควบคุมฉลาก
บท/หน้า (8/13) (24/12/2559)

14 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
พระราชบัญญัติมาตรฐานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือที่รู้จักกันในนามของ "สมอ" เป็น หน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม โดยได้รับการจัดตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 1) ความหมายของมาตรฐานอุตสาหกรรม มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมคือ ข้อกำหนดทิศทางวิชาการที่สำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้จัดทำขึ้น บท/หน้า (8/13) (24/12/2559)

15 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
2) วัตถุประสงค์ของการมีมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สามารถจำแนก ได้ดังนี้ 1. เพื่อสร้างความเชื่อถือผลิตภัณฑ์ทำการปรับปรุงคุณภาพให้ดีขึ้น 2. เพื่อสร้างความเป็นธรรมในการซื้อขาย ขจัดปัญหาและ อุปสรรคทางการค้าต่างๆ 3. เพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตแลทรัพย์สินของประชาชน 4. เพื่อให้เกิดการประหยัดทรัพยากรและค่าใช้จ่ายในการใช้งาน และผลิต 5. เพื่อเป็นสื่อเชื่อมโยงในอุตสาหกรรมต่อเนื่องและประสานกัน ได้พอดี บท/หน้า (8/15) (24/12/2559)

16 เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
บท/หน้า (8/16) (24/12/2559)

17 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
องค์กรที่รับผิดชอบพระราชบัญญัติเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 1) สำนักงานกลางมาตราชั่งตวงวัด กรมทะเบียนการค้า กระทรวง พาณิชย์ 2) คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 3) คณะกรรมการการคุ้มครองผู้บริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี 4) สำนักงานมาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรมอาหาร (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม บท/หน้า (8/17) (24/12/2559)

18 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
8.2 หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ สรุปได้ดังนี้ องค์กรของรัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการบรรจุภัณฑ์ องค์กรทั้งทางส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์มีดังนี้คือ 1) ส่วนอุตสาหกรรมการเกษตร สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษาวิเคราะห์และวิจัย ข้อมูลทางเทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ อุตสาหกรรมการเกษตร 2) ส่วนบรรจุภัณฑ์ สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม มีหน้าที่ให้บริการ บท/หน้า (8/18) (24/12/2559)

19 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
3) ศูนย์บริการการออกแบบ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมการส่งออก 4) ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย196 5) สถาบันค้นคว้าและวิจัยผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บท/หน้า (8/19) (24/12/2559)

20 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
8.3 องค์กรเอกชนที่ให้การส่งเสริมการบรรจุภัณฑ์อาหาร สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย วัตถุประสงค์ของสมาคม มีดังนี้คือ 1. การส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบการเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 2. ส่งเสริมและเผยแพร่วิชาการที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์อาหารทุกประเภท 3. เป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการ 4. ติดต่อประสานงานกับสมาชิกเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ให้ก้าวหน้า บท/หน้า (8/20) (25/12/2559)

21 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.3.2 สถาบันอาหาร
สถาบันอาหาร มีหน้าที่สนับสนุนและให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการอาหารใน 3 ด้าน คือ 1. การบริการวิชาการ 2. การเผยแพร่บริการข้อมูลข่าวสาร 3. การบริการทดสอบวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหาร บท/หน้า (8/21) (25/12/2559)

22 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
สถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย 8.4 รหัสแท่งหรือบาร์โค้ด (Bar Code) รหัสแท่งหรือบาร์โค้ดเป็นเลขหมายประจำตัวสินค้า ผู้ประกอบการใดที่ได้ลงทะเบียนกับ สถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทยจะได้หมายเลขประจำขององค์กรนั้น บท/หน้า (8/22) (25/12/2559)

23 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
ระบบรหัสแท่งที่ใช้กัน 1) UPC (Universal Product Code) พิมพ์บนสินค้าอุปโภคบริโภค เช่น ฉลากและหีบห่อในปัจจุบันใช้อยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาเท่านั้น 2) EAN (European Article Numbering) ทำงานด้านวิชาการเพื่อ สร้างระบบบาร์โค้ด 3) ITF (Interleaved 2 of 5) เป็นรหัสแท่งที่ดัดแปลงจากระบบ EAN ส่วนใหญ่ใช้พิมพ์ด้านนอกกล่องลูกฟูกหรือหน่วยขนส่ง 4) Code 39 เป็นรหัสที่นิยมใช้กันในวงการอุตสาหกรรมทั่วไป บท/หน้า (8/23) (25/12/2559)

24 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.4.2 รายละเอียดของรหัสแท่ง
รายละเอียดของรหัสแท่ง 1) ส่วนที่สำหรับให้คอมพิวเตอร์อ่าน ด้วยเครื่องสแกนเนอร์ 2) ส่วนที่เป็นเลขอารบิค เป็นตัวเลขที่มีไว้อ่าน พิมพ์อยู่ตรง ส่วนล่าง 3) ตัวเลข 5 ตัวหลังถัดจากตรงเส้นคั่นกลาง คือ หมายเลข ประจำตัวสินค้าที่ตั้งขึ้นเอง 4) ตัวเลขสุดท้าย เป็นตัวตรวจสอบของคอมพิวเตอร์ ว่าตัวเลขที่ อยู่ข้างหน้านั้นถูกต้องหรือไม่ บท/หน้า (8/24) (25/12/2559)

25 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.4.3 การทำงานของระบบรหัสแท่ง
การทำงานของระบบรหัสแท่ง สั่งพิมพ์ราคาบนใบเสร็จรับเงินของสินค้าชนิดนั้นๆ หรือตัดสต๊อกของ สินค้าที่จำหน่ายไป เป็นต้น 8.4.4 ข้อควรปฏิบัติในการออกแบบบรรจุภัณฑ์พร้อมรหัสแท่ง 1) ขนาดความกว้างของรหัสแท่ง ควรจะเป็นไปตามมาตรฐานที่ 2) พื้นที่ว่างก่อนและหลังของตัวสัญลักษณ์รหัสแท่ง ควรจะมากกว่า 3.6 มิลลิเมตรทั้ง 2 ข้าง 3) การพิมพ์สัญลักษณ์บาร์โค้ดบนหีบห่อที่เป็นวัสดุโปร่งใส เช่น การ ใช้พลาสติกใสเป็นพื้นที่ว่างด้านหลังของสัญลักษณ์บาร์โค้ด บท/หน้า (8/25) (25/12/2559)

26 บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 8.4.5 สีที่ควรใช้กับรหัสแท่ง
สีที่ควรใช้กับรหัสแท่ง คู่สีที่เหมาะสมสำหรับใช้ในการพิมพ์สัญลักษณ์บาร์โค้ดอัน ประกอบด้วยแท่งบาร์ (Bar) กับพื้นที่ว่างด้านหลัง (Background) การออกแบบตำแหน่งที่ติดรหัสแท่งบนบรรจุภัณฑ์ โดยพิจารณาถึงความสะดวกเมื่อรูดผ่านสแกนเนอร์ ในกรณีที่ สินค้าไม่สามารถคงรูปร่างได้ เช่น เสื้อผ้าหรือสินค้ามีขนาดเล็ก แนะนำให้ใช้วิธีติด รหัสแท่งบนป้ายแขวน ประโยชน์ของรหัสแท่ง การจัดระบบรหัสแท่งที่ได้กล่าวมาแล้วจะพบว่าหมายเลขของ สินค้าแต่ละประเภทของแต่ละบริษัทไม่มีโอกาสซ้ำกัน ด้วยเหตุนี้ บท/หน้า (8/26) (25/12/2559)

27 อาจจะมีข้อสอบอยู่ในนั้น
จบการนำเสนอ ทำแบบฝึกหัดท้ายบท บ้างนะ อาจจะมีข้อสอบอยู่ในนั้น บท/หน้า (8/27) (25/12/2559)


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google