ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
PROVE YOUR CLAIM! Basic Legal Research 1/60
2
การวิจัยเบื้องต้นทางกฎหมาย Basic Legal Research
1. การค้นคว้าวิจัย 2. การเขียนรายงานการวิจัย
3
Outline การวิจัยคืออะไร? ทำไมต้องวิจัย? การค้นคว้าข้อมูลทางกฎหมาย
ข้อคิดที่สำคัญในการทำวิจัย Basic Legal Research 1/60
4
ขั้นตอนของการทำวิจัย/รายงาน
คิด ต้องการศึกษาเรื่องอะไร – วางโครงสร้างของเรื่องที่จะศึกษา ตั้งคำถาม ค้นคว้าข้อมูล – ข้อเท็จจริง, แนวคิด, หลักกฎหมาย, การใช้ การตีความ วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอ – เขียนรายงาน Basic Legal Research 1/60
5
การค้นคว้าวิจัย การวิจัยเชิงเอกสาร
– เอกสารชั้นต้น กฎหมาย คำพิพากษา ข่าว – เอกสารลำดับรอง ตำรา บทวิจารณ์ ความเห็น การวิจัยเชิงประจักษ์ – การเก็บข้อมูลภาคสนาม – การวิจัยเชิงปริมาณ – เก็บสถิติ มีตัวเลข การทำแบบสำรวจ – การวิจัยเชิงคุณภาพ – การสัมภาษณ์เชิงลึก การฝังตัวในชุมชน การสังเกตการณ์ – การวิจัยเชิงปฏิบัติการ – การวิจัยแบบมีส่วนร่วม focus group Basic Legal Research 1/60
6
ข้อสังเกตของการค้นคว้าวิจัย
การจัดข้อมูล – ข้อสังเกต การจัดว่ากฎหมายเป็นข้อมูลชั้นต้น ขึ้นอยู่กับมุมมองการวิจัย ว่าเราจัดสิ่งนั้นเป็นข้อเท็จจริง หรือเป็นวรรณกรรม – “เรื่องเล่า มีผู้เล่า ผู้เล่ามีเป้าหมายของการเล่าเรื่องเสมอ” – ประวัติศาสตร์ ขึ้นอยู่กับมุมมองของผู้เล่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ – ก้อนหิน และอิฐ (คือ fact ข้อเท็จจริง) ประวัติศาสตร์นิพนธ์ คือการตีความและให้ความหมายเอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบ – เป็นมุมมองของผู้เล่า (คือวรรณกรรม) Basic Legal Research 1/60
7
การจัดการกับข้อมูล-เอกสารที่ได้
Source of Authorities – เอกสารนั้น/ข้อความนั้นมาจากไหน ใครเป็น “ผู้เล่า” – มีความน่าเชื่อถือเพียงใด มาจากใคร จุดยืนของผู้เล่านั้นเป็นอย่างไร – ต้องรู้จุดยืนและอุดมการณ์ของผู้เล่า และเราจะจัดการวางตำแหน่งของวรรณกรรมนั้น ในงานของเราอย่างไร ใครคือผู้ที่น่าเชื่อถือในเรื่องนั้นๆ (อย่างไรคือน่าเชื่อถือ?) – นักวิชาการที่เป็นเจ้าทฤษฎีในเรื่องนั้น – หรือผู้ที่ค้นคว้าข้อมูลใหม่ๆ เวลาเปลี่ยน สิ่งต่างๆล้วนเปลี่ยน – ต้องอ้างเวลากำกับเสมอ! – กฎหมายมีเวลาในการบังคับใช้ – ความคิดและจุดยืนของคนเปลี่ยน Basic Legal Research 1/60
8
การทบทวนวรรณกรรม – “เราต่างยืนอยู่บนบ่าของยักษ์”
งานที่มีอยู่บนโลกนี้ ต่างมีผู้คนค้นคิดและอธิบายมาแล้ว เราไม่ใช่คนแรกที่คิด ค้นพบเรื่องนั้นใช่หรือไม่ ถ้าไม่ใช่ ต้องอ้างอิงเสมอ และต้องอ่านว่าคนอื่นๆก่อนหน้านั้น เขาคิดและอธิบายเรื่องที่เราสนใจ มาอย่างไร ดังนั้นงานทางวิชาการ ต้องมีการทบทวนวรรณกรรมเสมอ (ไม่ใช่การเขียนไดอารี่) จะต้องเขียนทบทวนวรรณกรรมอย่างไร – ต้องไม่ใช่การพรรณาว่าวรรณกรรมเรื่องนั้น เขียนว่าอย่างไร (ไม่ใช่ย่อความ) – วรรณกรรมเหล่านั้น “สนธนา” กันอย่างไร และเกี่ยวข้องกับงานของเราอย่างไร (เราใช้วรรณกรรมเหล่านั้นเป็นบันได มาถึงงานของเราได้อย่างไร?) การจัดระบบในการนำเสนอ การทบทวนวรรณกรรม – จัดตามความคิด – ความเห็นหลัก และความเห็นโต้แย้ง – จัดตามพัฒนาการของความคิด Basic Legal Research 1/60
9
การตั้งโจทย์วิจัย 1. Topic: I’m doing Question: because I want to find out what/why/how Significance: in order to help my reader understand... Basic Legal Research 1/60
10
โจทย์วิจัย การมองปรากฎการณ์ทางกฎหมายที่เกิดขึ้นในสังคม
ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ผ่านมุมมอง/ประเด็นทางกฎหมาย มีปัญหากฎหมายอย่างไร? เป็นปัญหากฎหมาย หรือปัญหาข้อกฎหมาย Basic Legal Research 1/60
11
ปัญหาข้อกฎหมาย บทบัญญัติของกฎหมายนั้น การตีความ คำพิพากษา
Basic Legal Research 1/60
12
ปัญหากฎหมาย การบังคับใช้กฎหมายนั้นๆ โครงสร้างทางกฎหมาย สถาบันทางกฎหมาย
ผู้ใช้กฎหมาย ช่องว่างของกฎหมาย Basic Legal Research 1/60
13
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
เวปโซด์ของหน่วยงานต่างๆ หน่วยงานทางกฎหมายของรัฐ เช่น รัฐสภา วิธีการเชื่อมโยงไปที่ link ที่ให้มาข้างบน – อยู่ในสถานะทั่วไป ที่ไม่ใช่ slide show ลากเม้าท์ไปที่ link แล้วคลิกขวา เลือกคำสั่ง open hyperlink ขณะที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เนท จะเปิดไปที่หน้าเวปไซด์ Basic Legal Research 1/60
14
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
รัฐสภา Basic Legal Research 1/60
15
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
รัฐสภา Basic Legal Research 1/60
16
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
รัฐสภา Basic Legal Research 1/60
17
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
องค์กรอิสระต่าง ๆ เช่น ปปช. Basic Legal Research 1/60
18
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
ส่วนราชการ เช่น กระทรวงต่างๆ เช่น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Basic Legal Research 1/60
19
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
หน่วยงานอื่นๆ เช่น Pub-law.net Basic Legal Research 1/60
20
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
หน่วยงานอื่นๆ เช่น UN Basic Legal Research 1/60
21
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
ตัวบทกฎหมาย – ราชกิจจานุเบกษา Basic Legal Research 1/60
22
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
ตัวบทกฎหมาย – ราชกิจจานุเบกษา Basic Legal Research 1/60
23
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
ตัวบทกฎหมาย - สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา Basic Legal Research 1/60
24
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
คำวินิจฉัยของศาล - ศาลรัฐธรรมนูญ Basic Legal Research 1/60
25
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
คำวินิจฉัยของศาล - ศาลปกครอง Basic Legal Research 1/60
26
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
คำวินิจฉัยของศาล - ศาลฎีกา Basic Legal Research 1/60
27
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
แหล่งข้อมูลจาก CIA! Basic Legal Research 1/60
28
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
แหล่งข้อมูลจาก CIA! Basic Legal Research 1/60
29
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
วารสารทางวิชาการ วารสารกฎหมายจุฬาลงกรณ์ วารสารกฎหมายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วารสารกฎหมายปกครอง ดุลพาห วารสารอัยการ ศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒน คณะนิติศาสตร์ ห้องสมุดอีเล็กทรอนิกส์ ศาลยุติธรรม Basic Legal Research 1/60
30
แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
ข้อเท็จจริง ข่าว เหตุการณ์ (แยกแยะระหว่างข้อเท็จจริงกับความเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์) BBC News Aljazeera สำนักข่าวINN กรุงเทพธุรกิจ สำนักข่าวประชาไท Basic Legal Research 1/60
31
จริยธรรมงานวิจัย การวิจัยด้วยความจริง นำเสนอข้อมูลที่เที่ยงตรง
การคุ้มครองแหล่งข้อมูล ไม่ทำให้ผู้ให้ข้อมูลเสียหาย – ปกปิดชื่อ, ผู้ให้ข้อมูลยินยอมให้นำข้อมูลของเขามาเผยแพร่ (informed consent) - จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ Basic Legal Research 1/60
32
จริยธรรมงานวิจัยในมนุษย์
หลักปฏิบัติที่เหมาะสมในกลุ่มคนหรือสังคมให้สอดคล้องกับหลักสากลและไม่ขัดต่อวัฒนธรรมและประเพณีของท้องถิ่น งานวิจัยในคน เช่น การทดลอง การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับคน การมีคนเข้ามามีส่วนร่วมในงานวิจัย เช่น การทดลองยา การสัมภาษณ์ การเก็บข้อมูลของบุคคล การทำวิจัยเกี่ยวกับชีวิตของบุคคล แนวทางจากปฏิญญาเฮลซิงกิ Declaration of Helsinki แนวทางจริยธรรมการทำวิจัยในคน ในประเทศไทย 2550 โดยชมรมจริยธรรมการทำวิจัยในคนในประเทศไทย Forum for Ethnical Review Committee in Thailand – FERCIT Basic Legal Research 1/60
33
Belmont Report หลักจริยธรรมการทำวิจัยในคน
1 หลักความเคารพในบุคคล Respect for person 2 หลักคุณประโยชน์ ไม่ก่ออันตราย Beneficence 3 หลักความยุติธรรม Justice Basic Legal Research 1/60
34
Respect for person เคารพในการให้ข้อมูล อย่างอิสระ ไม่มีการข่มขู่ บังคับ หลอกลวง หรือให้สินจ้าง Free Informed Consent เก็บรักษาความลับของบุคคล Confidentiality รวมถึงการเก็บรักษาข้อมูลที่ได้จากการวิจัยด้วย เคารพในความเป็นส่วนตัวของบุคคล เช่น การจัดสถานที่ในการให้ข้อมูล Privacy ผู้อ่อนด้อย หรือมีความเปราะบาง Vulnerable Persons ผู้ที่มีอำนาจต่อรองด้อยกว่า เช่น ผู้ป่วย นักโทษ นักศึกษา ผู้ใต้บังคับบัญชา ลูกจ้าง ชนกลุ่มน้อย Basic Legal Research 1/60
35
Beneficence การประเมินความเสี่ยง หรืออันตรายที่อาจเกิดจากการวิจัย ต่อร่างกาย จิตใจ สถานะทางสังคม และผลทางกฎหมาย ประโยชน์ที่อาจได้รับจากการวิจัย ทางร่างกาย เช่น อาการของโรคดีขึ้น ทางจิตใจ เช่น สบายใจขึ้น ทางเศรษฐกิจ เช่น รับเงินจากการเข้าร่วมวิจัย ประโยชน์ทางวิชาการ เช่น การได้ยารักษาโรคที่ดีขึ้น ชั่งน้ำหนักจากความเสี่ยงและประโยชน์ที่ได้ - บนพื้นฐานของลดความเสี่ยง ให้เหลือน้อยที่สุด (minimal risk) เพิ่มให้เป็นประโยชน์มากที่สุด Basic Legal Research 1/60
36
Justice การคัดเลือกอาสาสมัคร – มีเกณฑ์การคัดเลือก และการคัดออกที่ชัดเจน ไม่มีอคติ ไม่เลือกสุ่มตัวอย่างที่หาง่าย สั่งง่าย การจัดอาสาสมัครเข้ากลุ่มศึกษา – การสุ่ม Basic Legal Research 1/60
37
Informed Consent Process
การติดต่อครั้งแรก Initial Contact Information Comprehension Voluntariness – free of coercion , undue inducement & unjustifiable pressure แบบฟอร์ม – เอกสารอธิบายว่างานวิจัยเป็นอย่างไร และเอกสารแสดงความยินยอม Basic Legal Research 1/60
38
กระบวนการในการทำวิจัยโดยการได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมงานวิจัย (อยู่ในระหว่างจัดทำ)
มีโครงร่าง – อธิบายว่าทำวิจัยเรื่องอะไร กำหนดวิธีวิจัย ขั้นตอนการขอความยินยอม กำหนดแผนการวิจัย ยื่นขออนุมัติให้ดำเนินการวิจัย Ethics Approval Certificate of Approval มีอายุ 1 ปี ต่ออายุได้ หากการวิจัยมีการเปลี่ยนแปลง ต้องยื่นขออนุญาตอีก Basic Legal Research 1/60
39
Research Misconduct นำเสนอข้อมูลที่ไม่เป็นจริง ปกปิดข้อมูลบางส่วน ตกแต่งข้อมูล บิดเบือนการนำเสนอ การขโมยความคิดของคนอื่น Plagiarism – ละเมิดลิขสิทธิ์ Basic Legal Research 1/60
40
Plagiarism การตัด-แปะข้อมูลของคนอื่น การให้ผู้อื่นทำงานให้ตัวเอง
การใช้แนวคิดของคนอื่นโดยไม่มีการอ้างอิง แม้มีการอ้างอิงแล้ว ก็ต้องเขียนเป็นภาษาของตัวเอง paraphrase Self-plagiarism การนำงานของตัวเองมาเวียนนำเสนอซ้ำ Basic Legal Research 1/60
41
Paraphrase วิธีการ อ่านเนื้อหาของเรื่องจนเข้าใจความหมายอย่างแท้จริง
ปิด/เก็บต้นฉบับ แล้วเขียนตามความเข้าใจของเราเอง เป็นภาษาของเราเอง (อย่าลืมจดว่าข้อความนี้เอามาจากแหล่งอ้างอิงไหน หน้าอะไร) ตรวจสอบกับต้นฉบับว่าใจความสำคัญที่เราเขียน ถูกต้องหรือไม่ Basic Legal Research 1/60
42
การนำเสนอ - วิธีการทำรายงาน
การจัดเรียงลำดับในการนำเสนอ ใช้ภาษาที่ชัดเจน (ใคร ทำอะไร) กระชับ ตรรกะ ความเป็นเหตุเป็นผลในการนำเสนอ มี Road Map และเดินเรื่องตามนั้น มีเลขหน้า การเรียงหัวข้อ 1. 1.1 1.1.1 Transitional paragraph ความเชื่อมโยง Consistency ระวังเรื่องเวลา – กฎหมายที่แก้ไข Self editing อ่านทวนงานที่ตัวเองเขียน ใช้เครื่องมือของ MS Word จัด format ตั้งแต่แรก มีระบบบันทึกที่มา เก็บข้อมูล folder backup your work > hard copy + to yourself! Basic Legal Research 1/60
43
Self Editing ในการอ่านและแก้ไขงานเขียนด้วยตัวเอง มีขั้นตอนที่ควรตรวจสอบ ดังนี้ เราเขียนอธิบายเรียงตามลำดับเหตุการณ์ เรามีการเขียน โดยมีจุดมุ่งหมายอธิบายไปที่เป้าหมายเดียว (one main idea) ไม่ใช่ฟุ้งไปเรื่อย เรามีการตอบคำถามครบถ้วนว่า ใคร/อะไร เมื่อไร ที่ไหน อย่างไร เราเขียนในรูปประโยคที่ชัดเจน กระชับ เรามีเกริ่นนำ บอกเล่าเหตุการณ์ การวิเคราะห์ และสรุป (อาจมีการเสนอแนะด้วย) Basic Legal Research 1/60
44
การอ้างอิง Reference II Bibliography บรรณานุกรม I Citation
1. Footnote เชิงอรรถ – การเขียนแหล่งที่มาของข้อมูล หรือแนวคิดที่เรานำเสนอ โดยเขียนไว้ด้านล่างของหน้าที่มีการอ้างอิงนั้น Canadian guide to uniform legal citation = McGill Law Journal. McGill Guide Bluebook : A uniform system of citation. Harvard Law Review Association. 2. In note (ระบบ นามปี) – การเขียนอ้างอิงไว้ในเนื้อหา โดยการใส่ไว้ในวงเล็บ 3. Endnote – การเขียนอ้างอิง ไว้ตอนท้ายของหนังสือในแต่ละบท II Bibliography บรรณานุกรม Basic Legal Research 1/60
45
ตัวอย่างการอ้างอิงแบบเชิงอรรถ
Basic Legal Research 1/60
46
ตัวอย่างการอ้างอิงแบบนามปี
Basic Legal Research 1/60
47
ตัวอย่างการอ้างอิงแบบ Endnote
Basic Legal Research 1/60
48
แบบฝึกหัด - การวิจัยเบื้องต้น
ให้นักศึกษาทำวิจัยทางกฎหมายมา 1 เรื่อง วิธีการ-ค้นหาปรากฎการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย แล้วเขียนมาเป็นรูปแบบของบทความ โดยใช้วิธีการค้นคว้าและทำวิจัยทางกฎหมายตามที่ได้รับจากการอบรมในวันนี้ – ต้องมีเชิงอรรถ และบรรณานุกรม ให้มีการนำเสนอข้อเท็จจริง การอธิบายหลักกฎหมายและตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ยกมา และการวิเคราะห์/ความเห็นของนักศึกษาประกอบด้วย ส่งใน cmu online ไม่เกิน 1000 คำ โดย attach file Microsoft Word จะเปิดระบบในวันพรุ่งนี้และให้ส่งภายใน ศุกร์ที่ 20 เมษ. (ส่งได้ตั้งแต่วันเปิดระบบเป็นต้นไป) จบ ☃ Basic Legal Research 1/60
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.