งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาจักษุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาจักษุ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาจักษุ

2 ผลการดำเนินงานปี 2557 ปัญหา ตัวชี้วัด ผลลัพธ์
แผนพัฒนาปี 58-60 1. Blinding Cataract 1.1) ค้นหา Blinding cataract รายใหม่ในชุมชน (เหตุผล : พบผู้ป่วยตาบอดในชุมชน ทั้งๆที่มีการรณรงค์ผ่าตัดต้อกระจกมาตลอด) อัตราการคัดกรอง วัดสายตาในผู้ป่วยอายุ 60 ปีขึ้นไป (อาจทดลองนำร่องก่อนในบางพื้นที่) (75%) การคัดกรองวัด สายตาในผู้ป่วยอายุ 60 ปีขึ้นไปในจังหวัดได้ % 1.1)กำหนดเขตคัดกรองวัดสายตาในผู้ป่วยอายุ 60 ปีขึ้น ไปในทุกอำเภอ 1.2) จัดทำโครงการค้นหาต้อกระจกเคลื่อนที่เชิงรุกโดยมีจักษุแพทย์และพยาบาลออกหน่วยที่ รพช. 1 อำเภอ/ครั้ง

3 ผลการดำเนินงานปี 2557 ปัญหา ตัวชี้วัด ผลลัพธ์
แผนพัฒนาปี 58-60 1.2) ลดระยะเวลารอคอยผ่าตัดในผู้ป่วย Blinding cataract (เหตุผล : เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ) ในจังหวัดแพร่มีคิวรอผ่าตัดต้อกระจกเฉลี่ยนาน 120 วัน ผู้ป่วย Blinding cataract ได้รับการผ่าตัด ต้อกระจกใน 30 วัน (80%) เวลารอคอยผ่าตัด ต้อกระจกเฉลี่ย 90วัน ต้อกระจกใน 30 วัน (57.82%) ต้อกระจกเฉลี่ย 58วัน 1.2) จักษุแพทย์จัดคิวผ่าตัดต้อกระจกโดยลดระยะเวลารอคอยผ่าตัดลง เช่น แทรกคิวผ่าตัดให้ผู้ป่วย blinding cataract , เพิ่มจำนวนผู้ป่วยผ่าตัดในเวลาราชการให้มากขึ้น 1.3)ประสานงานกับโครงการของภาคเอกชนออกหน่วยผ่าตัดต้อกระจกกรณีมีผู้ป่วยรอคิวจำนวนมาก

4 ผลการดำเนินงานปี 2557 ปัญหา ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ 2. Diabetic Retinopathy
แผนพัฒนาปี 58-60 2. Diabetic Retinopathy 2.1) การคัดกรอง DR ยังไม่ครอบคลุมเนื่องจากจักษุแพทย์ไม่เพียงพอที่จะออกตรวจจอตาได้ทุกพื้นที่ (เหตุผล : เป็นภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานที่สามารถรักษาได้ถ้าเป็นไม่มาก ป้องกันตาบอด) ความครอบคลุม ของการคัดกรอง DR (80%) ผู้ป่วยเบาหวาน ได้รับการคัดกรองDR (76.36%)เนื่องจากระบบการเก็บข้อมูลของ รพช.ยังไม่เป็นระบบ 2.1)พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลโดยใช้โปรแกรมเดียวกัน (HOS xP)ที่รพช.และรพ.แพร่เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายขึ้น 2.2)ฝึกอบรมให้พยาบาล /พยาบาลรพช.ทุกแห่งสามารถถ่ายภาพจอตาได้ และแปลผลเบื้องต้นได้

5 ผลการดำเนินงานปี 2557 ปัญหา ตัวชี้วัด ผลลัพธ์
แผนพัฒนาปี 58-60 2.2) ผู้ป่วย DR ที่ต้องได้รับการยิงเลเซอร์ มีคิวบริการยาว บางรพ.เครื่องเลเซอร์เสีย (เหตุผล : ผู้ป่วยจะตาบอดถ้าไม่ได้รับการรักษาในเวลาเหมาะสม) ผู้ป่วย High risk DR ได้รับการรักษาภายใน 30 วัน (100 %) ผู้ป่วย High risk DR ได้รับการรักษาภายใน 30 วัน (100 %) รพ.แพร่ได้ เครื่องเลเซอร์เพิ่ม 1 ตัวสามารถให้การรักษาผู้ป่วยได้มากขึ้น

6 ผลการดำเนินงานปี 2557 ปัญหา ตัวชี้วัด ผลลัพธ์
แผนพัฒนาปี 58-60 3. การดูแลผู้ป่วยโรคตาที่มีปัญหาซับซ้อน เกินศักยภาพในปัจจุบัน (เหตุผล : มีการส่งต่อออกนอกเครือข่ายบริการค่อนข้างมาก) Retinal disease : DR , ROP , RD ,AMD,… Glaucoma : Cornea : ลดอัตราการส่งต่อออกนอกเครือข่ายลง (20%) ข้อมูลยังไม่ชัดเจน เพิ่มศักยภาพของการรักษา เช่นรักษาโรคทางกระจกตา ,ใช้อุปกรณ์ในการผ่าตัดเพิ่มขึ้นเพื่อแก้ไขภาวะเลนส์เคลื่อน

7 ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P)
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม 6 Plus Building Blocks ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) 1.ระบบบริการ(Service Delivery) ให้บริการรักษาและผ่าตัดโรคต้อกระจก ให้บริการรักษาและผ่าตัดโรคต้อหิน ให้บริการรักษาโรคตาด้วยเลเซอร์ ให้บริการตรวจคัดกรองและรักษาโรคตาอย่างง่าย การให้บริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ให้บริการตรวจวัดสายตา การคัดกรองผู้ป่วยที่มีภาวะตาบอด การเตรียมผู้ป่วยเพื่อการตรวจตา 2.กำลังคนด้านสุขภาพ (Workforce) จักษุแพทย์ พยาบาลเวชปฏิบัติทางตา พยาบาลเวชปฏิบัติที่ได้รับการฝึกอบรมในการตรวจตา เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ที่ได้รับการฝึกอบรมการวัดสายตา 3.ระบบข้อมูลข่าวสาร (Information Technology) พัฒนาการจัดการระบบฐานข้อมูล

8 ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P)
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม 6 Plus Building Blocks ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) 4. เทคโนโลยีทางการแพทย์ (Drug & Equipment) กล้องขยายตรวจตา เครื่องมือผ่าตัดทางตา กล้องขยายผ่าตัดตา phacoemulsifier A SCAN IOL BIOMETRY BY LASER Visual field analyser เครื่องวัดความดันลูกตา LASER PHOTOCOAGULATION (PATTERN LASER) YAG laser Fundus camera OCT Direct ophthalmoscope เครื่องวัดความดันลูกตาชนิด schiotzz แผ่นป้ายวัด สายตา Oculuder ปิดตา Pinhole

9 ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P)
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม 6 Plus Building Blocks ระดับหน่วยบริการ/กระบวนงาน โรงพยาบาลทั่วไป (S) โรงพยาบาลชุมชน (F) โรงพยาบาลเสริมสุขภาพตำบล (P) 5.ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (Financing) งบประมาณของ รพ. งบค่าเสื่อม ,งบ UC งบของ service plan 6.ภาวะผู้นำและธรรมมาภิบาล (Good Governance) คณะกรรมการระดับจังหวัดดำเนินงานและติดตามความก้าวหน้า 6+ การมีส่วนร่วมของชุมชน (Participation) อสม. เครือข่ายสุขภาพในชุมชน

10 โครงการปี 2558-2560 โครงการพัฒนาคุณภาพบริการผ่าตัดต้อ กระจก
โครงการคัดกรองต้อกระจกเคลื่อนที่เชิงรุก โครงการคัดกรอง DR โครงการผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา

11 ด้านบริหาร โครงการคัดกรองต้อกระจกเคลื่อนที่เชิงรุก
1.จัดหาบุคลากรในการออกหน่วยคัดกรองต้อกระจก เชิงรุก 2.สนับสนุนแพทย์/เครื่องมือพร้อมอุปกรณ์ 2.1 slit lamp สำหรับออกหน่วย 2.2 IOL biometry by laser 2.3 B scan โครงการคัดกรอง DR 1. เครื่องถ่ายภาพจอประสาทตา Fundus camera 2.ส่งอบรม Ophthalmic technician

12 ด้านบริการ โครงการคัดกรองต้อกระจกเคลื่อนที่เชิงรุก
1. ประสานสสจ.แพร่ เสนอโครงการ 2. ประชุมรพช./รพ.สต. ดำเนินการตามโครงการฯในกาคัดกรองต้อ กระจก 3. ดำเนินการคัดกรองในชุมชน 4. ลงทะเบียนในระบบ Data Center เพื่อขึ้นทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย 5. จักษุแพทย์จัดระบบบริการผ่าตัดต้อกระจกในแต่ละรพ.ให้ลด ระยะเวลารอคอยผ่าตัดลง เช่น ลัดคิวผ่าตัดให้ผู้ป่วย blinding cataract , เพิ่มจำนวนวันผ่าตัด ,ผ่าตัดนอกเวลาราชการ , ออกหน่วย ผ่าตัดที่รพช. 6. สสจ.,รพ.แพร่และรพช. จัดให้มีการผ่าตัดต้อกระจกเพิ่มเติมจาก ระบบบริการปกติโดยนำทีมจักษุของหน่วยงานเอกชนช่วยผ่าตัดต้อ กระจกที่ รพช. เพื่อลดระยะเวลารอคอยผ่าตัด 7. กำกับติดตามการคัดกรองทุกอำเภอ/ตำบล ในจังหวัดแพร่

13 ด้านบริการ โครงการคัดกรอง DR
2. ฝึกอบรมให้พยาบาล/จนท.รพช.ทุกแห่งสามารถถ่ายภาพจอ ตาได้ 3. หมุนเวียน Fundus camera อำเภอละ 1 เดือน (ปีละ 2 ครั้ง) 4. จัดระบบให้จักษุแพทย์อ่านภาพจอตา

14 ด้านบริการ โครงการผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา
1.มีระบบการบริจาคดวงตาจากผู้เสียชีวิตในโรงพยาบาลแพร่ 2.มีจุดรับแสดงความจำนงบริจาคดวงตาจากประชาชนทั่วไป 3.ติดต่อประสานงานกับสภากาชาดไทยเพื่อนำส่งดวงตาและส่ง ดวงตามาผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตาที่รพ.แพร่ 4.มีความพร้อมของเครื่องมือ,อุปกรณ์ และบุคลากรในการผ่าตัด เปลี่ยนกระจกตา 5.รณรงค์ และให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริจาค ดวงตาให้กับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย รวมทั้งประชาชนทั่วไป 6.ร่วมกับสมาชิกเหล่ากาชาดจังหวัดแพร่และพยาบาลที่ออกไป รับบริจาคเลือดแจกแผ่นพับเมื่อมีการรับบริจาคเลือดเพื่อขอรับ แสดงความจำนงบริจาคดวงตาจากประชาชนทั่วไป

15 ด้านวิชาการ อบรม อสม.วัดสายตาผู้สูงอายุทุกราย
เป็นสถานฝึกอบรมให้แพทย์/พยาบาล จาก รพช. รับเชิญไปเป็นวิทยากร พัฒนาองค์ความรู้แพทย์ พยาบาลและผู้เกี่ยวข้อง จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคตา

16 THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาจักษุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google