งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“เทคนิคการคำนวณต้นทุน เพื่อขอใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“เทคนิคการคำนวณต้นทุน เพื่อขอใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “เทคนิคการคำนวณต้นทุน เพื่อขอใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร”
มิถุนายน 2559 กองสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ

2 ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร
สินค้าที่ส่งออกของไทยจะได้รับสิทธิพิเศษในการยกเว้น หรือ ลดหย่อนภาษีขาเข้าจากประเทศผู้นำเข้าที่ให้สิทธิ หรือ จากประเทศที่มี ข้อตกลงกับไทย ระบบ GSP : Generalized System of Preferences ระบบ ATIGA : ASEAN Trade in Goods Agreement ระบบ GSTP : Global System of Trade Preferences ข้อตกลงเขตการค้าเสรี FTA : Free Trade Agreement กองสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ

3 ระบบการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป GSP : Generalized System of Preferences
ประเทศที่พัฒนาแล้วให้สิทธิพิเศษเพียงฝ่ายเดียวแก่ประเทศกำลังพัฒนา - สหรัฐอเมริกา * - นอร์เวย์ - ญี่ปุ่น สวิตเซอร์แลนด์ - รัสเซีย ไทยถูกตัดสิทธิ GSP ตั้งแต่ 1 มกราคม 2558 กรณีส่งออกไปสหภาพยุโรป (EU) 28 ประเทศ , ตุรกี, แคนาดา

4 ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน ATIGA : ASEAN Trade in Goods Agreement
สิทธิพิเศษภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน (Asean Free Trade Area : AFTA) ที่ตกลงกันระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ - ไทย สิงคโปร์ ลาว - อินโดนีเซีย บรูไน พม่า - มาเลเซีย เวียดนาม กัมพูชา - ฟิลิปปินส์

5 ระบบสิทธิพิเศษทางการค้าระหว่างประเทศกำลังพัฒนา GSTP : Global System of Trade Preferences
สิทธิพิเศษฯ ที่แลกเปลี่ยนกันระหว่างประเทศกำลังพัฒนา เช่น แอลจีเรีย อาร์เจนตินา บราซิล ไนจีเรีย เม็กซิโก โมรอคโค อียิปต์ ปากีสถาน บังคลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย เวียดนาม ไทย เป็นต้น

6 ข้อตกลงเขตการค้าเสรี FTA : Free Trade Agreement
สิทธิพิเศษที่ไทยทำข้อตกลงกับประเทศต่างๆ - ไทย - อินเดีย อาเซียน - อินเดีย - ไทย - นิวซีแลนด์ อาเซียน - จีน - ไทย - ญี่ปุ่น อาเซียน - ญี่ปุ่น - ไทย - ออสเตรเลีย อาเซียน - เกาหลี - อาเซียน - ออสเตรเลีย - นิวซีแลนด์ - ไทย - เปรู - ไทย - ชิลี

7 สิทธิประโยชน์ทางการค้า สิทธิประโยชน์ทางการค้า
ข้อมูลเพิ่มเติม บริการข้อมูล สิทธิประโยชน์ทางการค้า สิทธิประโยชน์ทางการค้า

8 หัวข้อสำคัญของระบบสิทธิพิเศษทางการค้า
รายการสินค้าที่ได้รับสิทธิ ในการลดหรือยกเว้นภาษีขาเข้า พิกัดศุลกากร การตรวจคุณสมบัติ ถิ่นกำเนิดสินค้า (การตรวจสอบต้นทุนการผลิต) กฎถิ่นกำเนิดสินค้า ๏ หนังสือรับรอง FORM ๏ SELF-CERTIFICATION เอกสารหลักฐานที่ใช้ในการขอรับสิทธิ

9 หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า
GSP FORM A ATIGA FORM D GSTP FORM GSTP FTA ASEAN - CHINA FORM E FTA THAI - AUSTRALIA, INDIA FORM FTA FTA THAI - JAPAN FORM JTEPA FTA ASEAN - JAPAN FORM AJ FTA ASEAN - KOREA FORM AK FTA ASEAN - INDIA FORM AI FTA ASEAN - AUS - NEW ZEALAND FORM AANZ FTA THAI - PERU FORM TP FTA THAI - CHILE FORM TC * CERTIFICATE OF ORIGIN (ไม่ต้องยื่นตรวจสอบคุณสมบัติฯ) FORM C/O

10 สินค้าอะไรบ้างที่มีการกำหนดหลักเกณฑ์การผลิต
กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า : หลักเกณฑ์การผลิต สินค้าอะไรบ้างที่มีการกำหนดหลักเกณฑ์การผลิต หลักเกณฑ์การผลิตแต่ละประเทศต่างกันหรือไม่ ถ้าผลิตไม่ได้ตามหลักเกณฑ์การผลิตจะมีผลอย่างไร

11 สรุปหลักเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้าภายใต้สิทธิพิเศษฯ
สินค้าที่เป็น “ผลผลิตทั้งหมด” หรือ “ได้มาทั้งหมด” จากในประเทศ (WHOLLY PRODUCE / WHOLLY OBTAINED : WO) สินค้าที่มีการใช้วัตถุดิบนำเข้า ต้องได้รับ “การแปรสภาพอย่างเพียงพอ” ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ หลักเกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดศุลกากรระหว่าง “วัตถุดิบนำเข้า” กับ “สินค้าที่ส่งออก” หลักเกณฑ์ “สัดส่วนของต้นทุนวัตถุดิบนำเข้า” หลักเกณฑ์ “สัดส่วนของต้นทุน” และ “มูลค่าเพิ่มของการผลิต” ในประเทศ หลักเกณฑ์ “กระบวนการผลิต” ของสินค้า

12 พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ (Harmonized System – HS)
หมวด (Section) มี 21 หมวด ตอน (Chapter) ใช้เลข 2 หลัก (01 ถึง 97) ประเภท (Heading) ใช้เลข 4 หลัก (01.01 ถึง 97.06) ประเภทย่อย (Sub-heading) ใช้เลข 6 หลัก ( ถึง ) 12

13 ลิปสติก หมวด 6 หมวด (Section) ผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมทางเคมี
ตอน (Chapter) ตอนที่ 33 เครื่องสำอาง หรือ สิ่งปรุงแต่งสำหรับประทินร่างกาย ประเภท 3304 สิ่งปรุงแต่งที่ใช้แต่งเสริมความงาม ประเภท (Heading) สิ่งปรุงแต่งที่ใช้แต่งริมฝีปาก ประเภทย่อย (Sub-heading)

14 เสื้อเชิ้ตบุรุษทำด้วยฝ้าย
หมวด 11 สิ่งทอและของทำด้วยสิ่งทอ หมวด (Section) ตอนที่ 61 เครื่องแต่งกายและของใช้ ประกอบถักแบบนิตหรือโครเชต์ ตอน (Chapter) ประเภท 6105 เสื้อเชิ้ตบุรุษ ถักแบบนิตหรือโครเชต์ ประเภท (Heading) ประเภท เสื้อเชิ้ตบุรุษ ถักแบบนิตหรือโครเชต์ทำด้วยฝ้าย ประเภทย่อย (Sub-heading)

15 รองเท้ากีฬา ผ้าใบ หมวด 12 หมวด (Section) รองเท้า เครื่องสวมศีรษะ ร่ม
ตอนที่ 64 รองเท้า สนับแข้ง และส่วนประกอบ ตอน (Chapter) ประเภท 6404 รองเท้าพื้นด้านนอกทำด้วยยาง ส่วนบนทำด้วยวัตถุทอ ประเภท (Heading) รองเท้ากีฬา (ส่วนบนทำด้วยผ้า พื้นรองเท้าด้านนอกทำด้วยยาง) ประเภทย่อย (Sub-heading)

16 สายไฟของไฟหน้ารถยนต์ จะใช้พิกัดศุลกากรใดจึงจะถูกต้อง
ประเภท 8544 เคเบิล ชุดสายไฟ เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับ ให้แสงสว่างชนิดที่ใช้กับยานยนต์ ประเภท 8512 ส่วนประกอบยานยนต์ ประเภท 8708

17 ตัวอย่างการใช้หลักเกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดศุลกากร การเปลี่ยนพิกัดฯ ในระดับ 2 หลัก (CHANGE OF CHAPTER – CC) วัตถุดิบนำเข้า หนังโคฟอก (HS 41XXXX) ห่วงโลหะ (HS 83XXXX) ซิบไนล่อน (HS 96XXXX) สินค้าส่งออก กระเป๋าหนัง (HS 42XXXX) 17

18 ตัวอย่างการใช้หลักเกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดศุลกากร การเปลี่ยนพิกัดฯ ในระดับ 4 หลัก (CHANGE OF TARIFF HEADING – CTH) สินค้าส่งออก วัตถุดิบนำเข้า แผ่นพลาสติก (HS 3921XX) ห่วงพลาสติก (HS 3926XX) ผ้า (HS 5603XX) รองเท้า (HS 6404XX) 18

19 ตัวอย่างการใช้หลักเกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดศุลกากร การเปลี่ยนพิกัดฯ ในระดับ 6 หลัก (CHANGE OF TARIFF SUB-HEADING – CTSH) วัตถุดิบนำเข้า ไม้ที่เลื่อยแล้ว (HS ) น้ำยาเคลือบเงา (HS ) ตะปู(HS ) ส่วนประกอบ (HS ) สินค้าส่งออก เฟอร์นิเจอร์ไม้ (HS ) 19

20 ตัวอย่าง การใช้หลักเกณฑ์ “ มูลค่าเพิ่มของการผลิต” ของ ASEAN
สินค้า “ส่วนประกอบและอุปกรณ์ของยานยนต์” (HS 8708) หลักเกณฑ์ : สัดส่วนของต้นทุนและมูลค่าการผลิตในประเทศภาคี (REGIONAL VALUE CONTENT:RVC) ต้องไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 40 ของราคาสินค้า F.O.B. 20

21 วิธีที่ 2 วิธีการคำนวณสัดส่วนมูลค่าการผลิตในภูมิภาค
(Regional Value Content : RVC ) วิธีที่ 1 มูลค่าวัตถุดิบในประเทศ + ต้นทุนการผลิต + กำไร+ ค่าขนส่ง X > 40% ราคา F.O.B. วิธีที่ 2 ราคา F.O.B. – มูลค่าวัตถุดิบนำเข้า X 100 > 40% ราคา F.O.B.

22 สินค้าสิ่งทอ หลักเกณฑ์
ตัวอย่างการใช้หลักเกณฑ์ “กระบวนการผลิต” ของ ASEAN (SPECIFIC PROCESS : SP) สินค้าสิ่งทอ หลักเกณฑ์ เครื่องแต่งกาย/เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผลิตโดยผ่านกระบวนการตัด (พิกัดฯ ตอนที่ 61 และ 62) (CUTTING) และประกอบ (ASSEMBLY) ชิ้นส่วนเข้า ด้วยกันจาก “ผ้าผืน”

23 ข้อมูลที่ผู้ส่งออกต้องตรวจสอบ ก่อนการขอใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร
 พิกัดศุลกากรสินค้าที่ส่งออก หรือ ผู้นำเข้า  สินค้าอยู่ในบัญชีรายการที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ หรือไม่ หรือ หน่วยงานที่ออกหนังสือรับรอง  กฎถิ่นกำเนิดสินค้า  การตรวจคุณสมบัติถิ่นกำเนิดสินค้า  การขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (FORM) กองสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ

24 www.dft.go.th ตรวจสอบรายการที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ บริการอิเล็กทรอนิกส์
ระบบให้บริการออกหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า บริการอิเล็กทรอนิกส์

25 ตรวจสอบรายการที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ
พิกัดภาษีศุลกากร พิกัดศุลกากร ฟอร์ม ประเทศ

26 ที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ
รายการสินค้า ที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ

27 www.dft.go.th สินค้าที่ต้องยื่นตรวจคุณสมบัติ ถิ่นกำเนิดสินค้า
สินค้าเกษตร (พิกัดศุลกากรที่ 01 – 24) พร้อม กับการยื่นขอหนังสือรับรองฯ แบบขอรับการตรวจ คุณสมบัติของสินค้าฯ สินค้าอุตสาหกรรม (พิกัดศุลกากรที่ 25 – 97) ก่อน การยื่นขอหนังสือรับรองฯ

28 สิ่งสำคัญที่ใช้ประกอบการพิจารณาถิ่นกำเนิดสินค้า
 รายละเอียดการใช้วัตถุดิบ รายการวัตถุดิบ  แหล่งที่มา/ถิ่นกำเนิดของวัตถุดิบ  พิกัดศุลกากรของวัตถุดิบนำเข้า  ต้นทุนวัตถุดิบ ที่ใช้ใน การผลิต สินค้า 1 หน่วย  การผลิต  รายละเอียดกระบวนการผลิต/ขั้นตอนการผลิต  ต้นทุนการผลิต  ราคาสินค้า

29 วัตถุดิบ/วัสดุ/ชิ้นส่วน ภายในประเทศ
 วัตถุดิบ  ผลิตขึ้นภายในประเทศ และ  ผลิตถูกต้องตามหลักเกณฑ์ถิ่นกำเนิดของประเทศผู้ให้สิทธิฯ หรือข้อตกลงฯ กำหนดไว้ ใช้ราคาซื้อขาย ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) วัตถุดิบที่ใช้กฎถิ่นกำเนิดสะสม (ACCUMULATION)

30 วัตถุดิบ/วัสดุ/ชิ้นส่วน ภายในประเทศ
วัตถุดิบที่ใช้กฎถิ่นกำเนิดสะสม (ACCUMULATION)  กรณีใช้สิทธิ ATIGA ของ ASEAN  FORM D  กรณีใช้สิทธิ FTA นำเข้าจากประเทศคู่ภาคี  หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า ที่ออกภายใต้ข้อตกลงของแต่ละ FTA เช่น กรณีส่งไปอินโดนีเซีย (FORM D) โดยใช้วัตถุดิบ B จากเวียดนาม จะใช้ กฎถิ่นกำเนิดสะสม วัตถุดิบ B จากเวียดนามจะต้องมี FORM D กำกับมาด้วย เช่น กรณีส่งไปญี่ปุ่น (FORM AJ (ASEAN-JAPAN) โดยใช้วัตถุดิบ B จาก เวียดนาม จะใช้กฎถิ่นกำเนิดสะสม วัตถุดิบ B จากเวียดนามจะต้องมี FORM AJ กำกับมาด้วย

31  วัตถุดิบที่ใช้กฎถิ่นกำเนิดสะสม
 กรณีใช้สิทธิ ATIGA ของ ASEAN  กรณีใช้สิทธิ FTA ของ ASEAN – JAPAN  กรณีใช้สิทธิ FTA ของ ASEAN – CHINA ► FORM D ► FORM AJ ► FORM E ► FORM AK ► FORM AI ► FORM AANZ  กรณีใช้สิทธิ FTA ของ ASEAN – KOREA  กรณีใช้สิทธิ FTA ของ ASEAN – INDIA  กรณีใช้สิทธิ FTA ของ ASEAN – AUSTRALIA – NEW ZEALAND กองสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ

32 วัตถุดิบ/วัสดุ/ชิ้นส่วนนำเข้า
นำเข้าจากต่างประเทศ ใช้ราคา C.I.F. ในการคำนวณต้นทุน ซื้อในประเทศจากผู้นำเข้า หรือ ไม่ทราบแหล่งที่มา ซื้อในประเทศแต่ผลิตไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ ใช้ราคาตาม Invoice ที่ซื้อขายจริง

33 ต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ค่าแรง/เงินเดือนพนักงาน รวมทั้งสวัสดิการแรงงาน ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร/โรงงาน ค่าบำรุงรักษา ค่าประกันภัย ค่าดอกเบี้ย ค่าน้ำ/ค่าไฟฟ้า/ ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าออกแบบผลิตภัณฑ์ ค่าตรวจสอบ ค่าใช้จ่ายในการอบรมพนักงาน ค่าจ้างในการบริหาร ค่าขนส่งวัตถุดิบ ฯลฯ

34 ราคาสินค้า = ต้นทุนการผลิตทั้งหมด + กำไร
 ราคาสินค้าหน้าโรงงาน (Ex-works Price) = ต้นทุนการผลิตทั้งหมด + กำไร  ราคาสินค้า F.O.B. = ราคาสินค้าหน้าโรงงาน + ค่าขนส่ง

35 วิธีการยื่นคำขอรับการตรวจคุณสมบัติฯ
ยื่นเอกสารแบบ Manual ที่เคาน์เตอร์เซอร์วิส สำนักบริการการค้าต่างประเทศ ชั้น 3 กรมการค้าต่างประเทศ ส่งข้อมูลทาง Internet ยื่นคำรับรองข้อมูลการผลิตฯ ที่กองบริหารการนำเข้าและรับรองถิ่นกำเนิด ชั้น 5 ยื่นที่สำนักงานการค้าต่างประเทศในส่วนภูมิภาค (8 แห่ง) : เชียงใหม่ สงขลา (หาดใหญ่) ชลบุรี สระแก้ว หนองคาย เชียงราย ตาก และมุกดาหาร แบบขอรับการตรวจฯ

36 แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติฯ
ยื่นเอกสารแบบ Manual บริการจากกรม คู่มือการรับบริการยื่นขอตรวจสอบฯ ขั้นตอนการบันทึกและส่งข้อมูลทาง internet ประกาศแบบฟอร์ม - ตัวอย่าง แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติฯ (ตรวจต้นทุน) ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม

37 เอกสารแบบ Manual

38 ยื่นเอกสารแบบ Internet ตรวจถิ่นกำเนิดสินค้า บริการอิเล็กทรอนิกส์
ตรวจถิ่นกำเนิดสินค้า (ตรวจต้นทุน) บริการอิเล็กทรอนิกส์

39 ขั้นตอนการยื่นคำขอฯ ทาง Internet
ลงทะเบียนเพื่อพิมพ์คำขอรับ Username / Password เจ้าหน้าที่รับรองผลการตรวจฯ ยื่นคำขอลงทะเบียนให้เจ้าหน้าที่อนุมัติ Password Login เข้าใช้ระบบ ยื่นคำรับรองข้อมูลให้เจ้าหน้าที่ บันทึกข้อมูลของสินค้า พิมพ์คำรับรองข้อมูลจากระบบ ส่งข้อมูลให้ระบบประมวลผล

40 ระบบค้นหาอัตราภาษี FTA ระบบค้นหาอัตราภาษี GSP
ค้นหาพิกัดรายการที่ได้สิทธิ ลงทะเบียนใหม่ วิธีและคู่มือการลงทะเบียน

41 เอกสารที่ต้องนำมายื่น
แบบคำขอลงทะเบียน เอกสารที่ต้องนำมายื่น

42 ยื่นคำขอลงทะเบียนให้เจ้าหน้าที่อนุมัติ PASSWORD

43 LOG IN เข้าใช้ระบบ

44 ข้อมูลผู้ขอ

45 ชื่อสินค้า, ประเทศ พิกัดศุลกากร โรงงานผู้ผลิตสินค้า

46 กระบวนการผลิต

47 บันทึกรายการเกี่ยวกับวัตถุดิบ เอกสารอ้างอิงกรณีวัตถุดิบสะสม

48 รายการวัตถุดิบนำเข้า
ในประเทศ

49 คำนวณ วัตถุดิบสะสม บันทึก

50 ส่งข้อมูลภายใน 30 วัน

51 บันทึกแล้ว รอส่งคำขอ

52 ส่งข้อมูล

53 พิมพ์คำรับรองข้อมูลฯ มายื่นภายใน 30 วัน

54 พิมพ์คำรับรอง

55 นำคำรับรองข้อมูลการผลิตฯ มายื่นให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ
หลักเกณฑ์

56

57

58 แก้ไขข้อมูลโดยใช้ เลขที่คำขอฉบับเดิม
ส่งคำขอแล้วผ่านกฎ รอการอนุมัติ

59 Save As

60 ผลการตรวจสอบคุณสมบัติฯ นับตั้งแต่วันที่กรมการค้าต่างประเทศ
มีอายุใช้ได้ 2 ปี นับตั้งแต่วันที่กรมการค้าต่างประเทศ รับรองผลการตรวจสอบ ********* การเก็บรักษาเอกสาร การตรวจสอบย้อนหลัง

61 ขอบคุณค่ะ สอบถามเพิ่มเติม www.dft.go.th
สอบถามเกี่ยวกับการตรวจถิ่นกำเนิดสินค้า กองบริหารการนำเข้าและรับรองถิ่นกำเนิด โทร , หรือ 1385 ต่อ 4806, 4808 สอบถามเกี่ยวกับการใช้งานระบบ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ 1385 ต่อ 4603


ดาวน์โหลด ppt “เทคนิคการคำนวณต้นทุน เพื่อขอใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google