งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

SPP Firm Cogeneration ตามระเบียบปี 2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "SPP Firm Cogeneration ตามระเบียบปี 2550"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 SPP Firm Cogeneration ตามระเบียบปี 2550
โดย แผนกจัดการสัญญาซื้อไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก กลุ่มงานวิเคราะห์เทคนิคในประเทศ ฝ่ายสัญญาซื้อขายไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผู้บรรยาย : นายนิติรัฐ มหัทธนาภิวัฒน์ คำเตือน : ข้อมูลของการนำเสนอนี้เป็นข้อมูลปัจจุบัน และอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ กฟผ. ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลง และไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ อันเกิดจากการอ้างอิงข้อมูลที่นำเสนอเหล่านี้ ...

2 การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
สารบัญ 1. แนะนำหน่วยงานหลักของ กฟผ. 2. หลักการซื้อขายไฟฟ้า 3. พลังไฟฟ้าและการคำนวณเงิน (P1) 4. พลังงานไฟฟ้าและการคำนวณเงิน (P2, P3) 5. ค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิง(P4) 6. การเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้า (P1, P2, P3,P4) 7. การพิจารณา : Minimum Take / กระบวนการผลิตไฟฟ้า 8. การเปลี่ยนแปลงปริมาณพลังไฟฟ้าตามสัญญา 9. สรุปหลักปฏิบัติที่สำคัญตาม SPP Grid Code 10. ภาคผนวก

3 การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
หน่วยงานหลัก ของ กฟผ. ที่ SPP จะต้องประสานงานเป็นประจำภายหลัง COD ฝ่ายสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (อสฟ.) จะเป็นผู้บริหารสัญญา และการจัดการทั่วไปตามเงื่อนไข ของสัญญา รวมทั้งการตรวจสอบการแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้าประจำเดือน และรับรองรายงาน การหยุดรับซื้อไฟฟ้า ฝ่ายควบคุมระบบกำลังไฟฟ้า (อคฟ.) จะเป็นผู้บริหารและจัดการด้านปฏิบัติการโรงไฟฟ้า, การหยุดบำรุงรักษา, การควบคุมทางเทคนิคให้เป็นไปตาม SPP Grid Code ฝ่ายระบบควบคุมและป้องกัน (อรค.) จะเป็นผู้บริหารและจัดการระบบมาตรวัดไฟฟ้า และระบบป้องกัน ฝ่ายบัญชีและงบประมาณสายงานระบบส่งและควบคุมฯ (อบส.) จะเป็นผู้บริหารและ จัดการเกี่ยวกับระบบบัญชีซื้อขายและการเงิน

4 2. พลังงานไฟฟ้า (Energy)
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) หลักการ : กฟผ. จะซื้อ และ SPP จะขาย ... 1. พลังไฟฟ้า (Capacity) 2. พลังงานไฟฟ้า (Energy)

5 พลังไฟฟ้า การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
พลังไฟฟ้า คือ ความสามารถของโรงไฟฟ้าในการผลิตไฟฟ้า พลังไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับการคิดเงินค่าไฟฟ้ามี 4 ประเภท คือ 1. พลังไฟฟ้าตามสัญญา (Contracted Capacity, CC) 2. พลังไฟฟ้าจริง (Actual Capacity, AC) 3. พลังไฟฟ้าเสมือนจริง (Virtual Capacity, VC) 4. พลังไฟฟ้าคิดเงิน (Billing Capacity, BC) (สัญญาข้อ 7.2,18)

6 CC การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
กฟผ. และ SPP จะซื้อขายไฟฟ้าที่พลังไฟฟ้า 100% ของ CC ตลอดเวลา ยกเว้น 1. มากกว่า CC : กรณี กฟผ. ร้องขอให้จ่ายมากกว่าสัญญา และ SPP ยินยอม 2. น้อยกว่า CC : กรณี ช่วงที่ระบบไฟฟ้ามีความต้องการต่ำ OffPeak โดย กฟผ. จะซื้อไม่ต่ำกว่า 65% ของ CC หรือในช่วงที่ระบบไฟฟ้า ของการไฟฟ้ามีความจำเป็นทางเทคนิคไม่สามารถรับไฟฟ้าได้ หรือ เหตุสุดวิสัย (สัญญาข้อ 9.5) 3. น้อยกว่า CC : กรณี SPP ผลิตไฟฟ้าไม่ได้ตามที่ กฟผ. สั่งการ, SPP หยุดซ่อม, SPP ขอลดการผลิต

7 การพิจารณาพลังไฟฟ้าจริง
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณาพลังไฟฟ้าจริง พิจารณาเฉพาะช่วงเวลา Peak ซึ่งโดยปกติ กฟผ. สั่งการเดินเครื่อง 100% โดยปริมาณพลังไฟฟ้าจริง (Actual Capacity, AC) หาได้ดังนี้ (สัญญาข้อ 18.1)

8 ช่วงเวลาของการพิจารณาพลังไฟฟ้า
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ช่วงเวลาของการพิจารณาพลังไฟฟ้า วันปกติ Peak : น Symbol : P Off Peak : – น Symbol : OP วันอาทิตย์และวันหยุดพิเศษ Off Peak : – น Symbol : OP กฟผ. สามารถปรับเปลี่ยนตารางเวลากำหนด Peak และ Off Peak รายปีได้ โดยแจ้งล่วงหน้าให้บริษัทฯ ทราบไม่น้อยกว่า 3 เดือน (สัญญาข้อ 18.1)

9 ตัวแปรของการพิจารณาพลังไฟฟ้าจริง
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ตัวแปรของการพิจารณาพลังไฟฟ้าจริง EP = Sum Actual Energy( P ) Every 15 Minutes (If Over 102%, Use 100%) - Utility Outage Energy( P ) - Maintenance Energy( P ) TP = Monthly Hours( P ) - Utility Outage Hours( P ) (สัญญาข้อ 18.1, 18.2 และ 18.3) (Unit : E = kWh, T = Hours)

10 เหตุผลของการพิจารณาตัวแปรต่างๆ
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) เหตุผลของการพิจารณาตัวแปรต่างๆ การกำหนดเพดาน 102% เพื่อต้องการควบคุมให้ SPP เดินเครื่องตรงตามที่สั่งการ หาก SPP เดินเครื่องเข้าระบบเกินกว่า 102% กฟผ. จะพิจารณาพลังงานไฟฟ้าที่ 100% ในการคำนวณ การหัก Energy และช่วงเวลา ที่เกิดปัญหาต่างๆ ออกจากการคำนวณ หัก Energy ในช่วงที่มีปัญหา (ระบบไม่พร้อม, โรงไฟฟ้าไม่พร้อม และ แจ้งซ่อม) หัก ชั่วโมงในช่วงที่มีปัญหา (ระบบไม่พร้อม) ออกจากการคำนวณ (สัญญาข้อ 18.1, 18.2 และ 18.3)

11 การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
แผนภูมิแสดงการพิจารณาตัวแปรต่างๆ (สัญญาข้อ 18.1, 18.2 และ 18.3) (Non-Scale) SPP เดินเครื่องเกิน 102% -> กฟผ. จะใช้คำนวณเพียง 100% (18.1) กฟผ. สั่งการต่ำกว่าสัญญา -> หักช่วงนี้ออกจากการคำนวณ (18.2) SPP หยุดซ่อมตามแผนที่แจ้ง กฟผ. -> หัก Energy ออกจากการคำนวณ (18.3) 102% 100% 65%

12 การพิจารณาพลังไฟฟ้าเสมือนจริง
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณาพลังไฟฟ้าเสมือนจริง Ep = Sum Actual Energy( P ) Every 15 Minutes (If Over 102%, Use 100%) - Utility Outage Energy( P ) - Maintenance Energy( P ) Tpd = Monthly Hours( P ) - Utility Outage Hours( P ) - Maintenance Hours( P ) ทั้งนี้ VC จะมีค่าไม่เกิน CC (VC ≤ CC) (สัญญาข้อ )

13 การพิจารณาพลังไฟฟ้าคิดเงิน
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณาพลังไฟฟ้าคิดเงิน ปริมาณพลังไฟฟ้าคิดเงิน (Billing Capacity, BC หน่วย kW) หาได้จากการเปรียบเทียบปริมาณพลังไฟฟ้าจริงและพลังไฟฟ้าเสมือนจริง กับ พลังไฟฟ้าตามสัญญาและดังนี้ 1. ในกรณีที่ AC = CC BCT = CC (18.4.1) 2. ในกรณีที่ AC < CC BCT = AC x (CC - VC) (18.4.2) 3. ในกรณีที่ AC > CC BCT = CC (18.4.3) (สัญญาข้อ 18.4 )

14 การพิจารณาพลังไฟฟ้าคิดเงิน (ต่อ)
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณาพลังไฟฟ้าคิดเงิน (ต่อ) 4. ในกรณีที่ EP = 0, TP = 0 ทำให้ไม่สามารถคำนวณ AC ได้ ให้ใช้ โดย 1. n = 6 (เฉลี่ยย้อนหลังนับ 6 เดือน เดือนที่เกิดเหตุสุดวิสัยให้เว้นไป) 2. กรณีที่ซื้อขายไฟฟ้าน้อยกว่า 6 เดือน ให้เฉลี่ยย้อนหลังจนถึง COD (สัญญาข้อ )

15 การพิจารณาพลังไฟฟ้าคิดเงิน (ต่อ)
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณาพลังไฟฟ้าคิดเงิน (ต่อ) สัญญาข้อ ในกรณีที่ AC < CC จะได้ BCT = AC x (CC - VC) ซึ่งเป็นไปได้ว่า BCT อาจมีค่าน้อยกว่า 0 หรือ พลังไฟฟ้าคิดเงินมีค่าติดลบ ในกรณีนี้ กฟผ. จะนำเงินที่เกิดจากพลังไฟฟ้าคิดเงินมีค่าติดลบดังกล่าวไปหักออกจากค่าไฟฟ้าส่วนที่ บริษัทฯ ได้รับทั้งนี้เมื่อหักแล้ว ค่าไฟฟ้ารวมทั้งหมดประจำเดือนดังกล่าวต้องไม่น้อยกว่าศูนย์

16 อัตราค่าพลังไฟฟ้า (หน่วย บาท/kW/เดือน)
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) อัตราค่าพลังไฟฟ้า (หน่วย บาท/kW/เดือน) โดย CP0 = อัตราค่าพลังไฟฟ้าฐาน (บาท/kW/เดือน) ระยะเวลาสัญญา GAS COAL ปี FXT = อัตราแลกเปลี่ยนเงินเหรียญสหรัฐฯ ณ วันทำการสุดท้ายของเดือน เฉลี่ยซื้อขายทางโทรเลข (บาท/US$) FX0 = FXT (โดย T=0)=37(฿/US$) FP = สัดส่วนการลงทุนเงินต่างประเทศ (0.5) DP = สัดส่วนการลงทุนเงินในประเทศ (0.5)

17 จำนวนเงินค่าพลังไฟฟ้า
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) จำนวนเงินค่าพลังไฟฟ้า จำนวนเงินค่าพลังไฟฟ้า (Capacity Payment) (P1) จำนวนเงิน บาท (ไม่รวม VAT)

18 พลังงานไฟฟ้า การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
- พลังงานไฟฟ้า เป็นปริมาณที่ใช้วัดพลังไฟฟ้าภายในระยะเวลา - พลังงานไฟฟ้า คำนวณได้จาก ปริมาณพลังไฟฟ้า x ระยะเวลา 102% 100% 65% พลังงานไฟฟ้าคือพื้นที่ใต้กราฟ kW-Hours kW Hours (Non-Scale)

19 การพิจารณาพลังงานไฟฟ้าตามสัญญาปกติ
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณาพลังงานไฟฟ้าตามสัญญาปกติ การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. และ SPP จะพิจารณาพลังไฟฟ้าทุก 15 นาทีดังนั้น ปริมาณพลังงานไฟฟ้าในคาบ 15 นาที = ปริมาณพลังไฟฟ้า * 15 / 60

20 การพิจารณา Minimum Take
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณา Minimum Take กฟผ. รับประกันการซื้อพลังงานไฟฟ้าขั้นต่ำในแต่ละรอบปี (Minimum Take) ดังนี้ Minimum Take = x CC x 1000 x (365 หรือ 366) x 24 - E(SPP ผลิตไม่ได้ตามที่ กฟผ. สั่งการ, หักปลายปี) และ/หรือ - E(SPP ขอหยุดหรือลดการผลิต) และ/หรือ - E(ที่ กฟผ. รับซื้อไม่ได้เนื่องจากเหตุสุดวิสัย) kWh การพิจารณา กรณีซื้อครบ AE > Minimum Take : กฟผ. ไม่ต้องรับซื้อเพิ่ม 2. กรณีซื้อขาด AE < Minimum Take : กฟผ. ต้องรับซื้อเพิ่ม ... (สัญญาข้อ 7.3)

21 การพิจารณา Minimum Take (ต่อ)
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณา Minimum Take (ต่อ) หากต้องรับซื้อเพิ่ม กฟผ. จะชำระเงินให้ SPP ไปก่อนตามปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ซื้อไม่ครบด้วยค่าเฉลี่ยของอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าในรอบปีนั้นๆ และเมื่อ กฟผ. ได้ชำระเงินค่า Minimum Take ให้ SPP ไปแล้ว กฟผ. จะเรียกคืน เงินจำนวนนั้นได้ (1) ภายในปีใดปีหนึ่งของระยะเวลา 5 ปีถัดไป (2) ปีที่ กฟผ. จะเรียกเงินคืนนั้น จะต้องเป็นปีที่ กฟผ. ซื้อเกิน (3) เมื่อ กฟผ. ซื้อได้เกิน SPP จะต้องคืนเงินตามที่ กฟผ. ซื้อ เกิน แต่ทั้งนี้จะไม่เกินจำนวนเงินที่ SPP ได้เคยรับไปแล้ว

22 การพิจารณาพลังงานไฟฟ้าในช่วง Off Peak
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณาพลังงานไฟฟ้าในช่วง Off Peak ตามสัญญาข้อ 19.2 ในช่วง Off Peak หาก SPP ผลิตไฟฟ้าเข้าระบบเกินกว่าที่ กฟผ. สั่งการ กฟผ. จะชำระค่าพลังงานไฟฟ้าส่วนที่จ่ายเกินนั้นในอัตรา 50% 102% 100% 65% kW Hours (Non-Scale) Off Peak กฟผ. ชำระเงิน ในอัตรา 50% หักออกจากการรับซื้อเพิ่มเมื่อครบปี Minimum Take

23 การพิจารณาพลังงานไฟฟ้าตามแผนปกติ
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณาพลังงานไฟฟ้าตามแผนปกติ ปกติในช่วง Peak กฟผ. จะสั่งการเดินเครื่องครบ 100% ปกติในช่วง Off Peak กฟผ. จะสั่งการเดินเครื่องขั้นต่ำ 65% 102% 100% 65% kW Hours (Non-Scale) OP P OP กฟผ. ชำระเงิน ในอัตรา 100% 30 นาที นาที

24 การพิจารณาพลังงานไฟฟ้ากรณีซื้อพลังไฟฟ้าเพิ่ม จากสัญญา
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณาพลังงานไฟฟ้ากรณีซื้อพลังไฟฟ้าเพิ่ม จากสัญญา 1.02xCC 1.00xCC 0.65xCC kW กรณีซื้อไฟเพิ่ม = P kW กฟผ. จะสั่งเดินเครื่องที่ CC + P Hours (Non-Scale) Peak / Off Peak แต่จะให้อัตราพลังงานไฟฟ้า 100% จนถึง 1.02xCC + P P 1.02xCC + P ชำระค่าพลังงานไฟฟ้า ในอัตรา 100% ในอัตรา 50% ไม่มีเพดาน กฟผ. ให้ EP ได้ถึง 1.02xCC โดยไม่ปรับลดลง

25 การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
การพิจารณาพลังงานไฟฟ้า(แผนรับซื้อปกติ) ส่วนเกินไม่ชำระเงิน พลังไฟฟ้าตามสัญญา +5% ชำระเงิน 50 % ชำระเงิน 50 % พลังไฟฟ้าตามสัญญา +2% ชำระเงิน 100 % พลังไฟฟ้าตามสัญญา กฟผ.ลดการรับซื้อ ตามข้อ 9.6 ชำระเงิน 100 % ชำระเงิน 100 % 08.00 24.00 08.00 Peak Off Peak 25

26 การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
การพิจารณาพลังงานไฟฟ้า(แผนรับซื้อเพิ่ม) ส่วนเกินชำระเงิน 50 % ชำระเงิน 50 % ส่วนรับซื้อเพิ่มชำระเงิน 100 % พลังไฟฟ้าตามสัญญา +2% ชำระเงิน 100 % พลังไฟฟ้าตามสัญญา กฟผ.ลดการรับซื้อ ตามข้อ 9.6 ชำระเงิน 100 % ชำระเงิน 100 % 08.00 24.00 08.00 Peak Off Peak 26

27 การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
เกินกว่าสัญญาไม่ชำระเงิน ชำระเงิน 50 % ชำระเงิน 50 % SPP ขายช่วงซ่อมบำรุง ชำระเงิน 100 % ชำระเงิน 100 % 08.00 24.00 08.00 Peak Off Peak 27

28 กฟผ. ลดการรับซื้อตามข้อ 9.6
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การพิจารณาพลังงานไฟฟ้า(แผน กฟผ. ลดการรับซื้อในวันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์) ส่วนเกินไม่ชำระเงิน พลังไฟฟ้าตามสัญญา +5% ชำระเงิน 50 % พลังไฟฟ้าตามสัญญา +2% ชำระเงิน 50 % ชำระเงิน 100 % ชำระเงิน 50 % พลังไฟฟ้าตามสัญญา กฟผ. ลดการรับซื้อตามข้อ 9.6 ชำระเงิน 100 % ชำระเงิน 100 % 08.00 24.00 08.00 Off Peak Peak Off Peak 28

29 การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
ปริมาณพลังงานไฟฟ้า ปริมาณพลังงานไฟฟ้าจริง (Actual Energy, AE) คือปริมาณพลังงานไฟฟ้า ทั้งหมดที่จ่ายเข้าระบบโดยตลอดทั้งเดือน สำหรับการคิดเงินค่าพลังงานไฟฟ้า ปริมาณพลังงานไฟฟ้าจะประกอบด้วย 1. ปริมาณพลังงานไฟฟ้ารวมส่วนที่ชำระเงิน 100% : E1 kWh 2. ปริมาณพลังงานไฟฟ้ารวมส่วนที่ชำระเงิน 50% : E2 kWh 3. ปริมาณพลังงานไฟฟ้ารวมส่วนที่ไม่ชำระเงิน : E3 kWh ดังนั้น ปริมาณพลังงานไฟฟ้าคิดเงิน (Billing Energy, BE) = E x E2

30 อัตราค่าพลังงานไฟฟ้า
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) อัตราค่าพลังงานไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าฐาน (EP0) : บาท/kWh 2. อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าตามสูตรปรับค่าพลังงานไฟฟ้า (EST) ขึ้นกับราคาค่าเชื้อเพลิงต่างๆ ในแต่ละเดือน มีค่าเป็นได้ทั้งบวกและลบ มีรายละเอียดดังนี้ ...

31 อัตราค่าพลังงานไฟฟ้า (ต่อ)
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) อัตราค่าพลังงานไฟฟ้า (ต่อ) อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าตามสูตรปรับค่าพลังงานไฟฟ้า (EST) : บาท/kWh GAS : COAL : PT = ราคาค่าเชื้อเพลิง, FXT = อัตราแลกเปลี่ยนเงินเหรียญสหรัฐฯ เฉลี่ยซื้อขาย ณ วันทำการสุดท้ายของเดือน Heat Rate = ค่าความสิ้นเปลืองในการใช้เชื้อเพลิงเฉลี่ย เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้า มีค่าเท่ากับ 8,000 BTU/kWh สำหรับก๊าซธรรมชาติ และ 9,600 BTU/kWh สำหรับถ่านหิน

32 จำนวนเงินค่าพลังงานไฟฟ้า
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) จำนวนเงินค่าพลังงานไฟฟ้า จำนวนเงินค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment) (P2) (P3) หรือ จำนวนเงิน บาท (ไม่รวม VAT)

33 ค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิง(Fuel Saving:FS)
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิง(Fuel Saving:FS) กฟผ. จะชำระเงินค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิง สำหรับปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่บริษัทฯ จ่ายจริงในแต่ละเดือน ในอัตราค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิงตามสูตรการคำนวณดังนี้

34 ค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิง(Fuel Saving:FS)
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิง(Fuel Saving:FS) โดยที่ FSt = อัตราค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิงในเดือน t (บาท/kWh) FSo = อัตราค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิงฐาน =0.36 (บาท/kWh) PESt = ดัชนีที่ใช้ชี้วัดความสามารถในการใช้พลังงานปฐมภูมิใน กระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อนร่วมกัน ที่ใช้สำหรับเดือน t (เอกสารแนบท้ายสัญญาหมายเลข 5) ทั้งนี้ PESt > ร้อยละ 10  PESt = ร้อยละ 10 PESt < ร้อยละ 0  PESt = ร้อยละ 0 FSt ที่คำนวณได้ในแต่ละเดือน มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ FS0

35 จำนวนเงินค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิง
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) จำนวนเงินค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิง จำนวนเงินค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิง(Fuel Saving:FS) (P4) จำนวนเงิน บาท(ไม่รวม VAT)

36 การเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้า
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้า จำนวนเงินไฟฟ้าประกอบด้วย 4 ส่วน คือ (P1), (P2), (P3) และ (P4) หรือ P1 = จำนวนเงินค่าพลังไฟฟ้า (Capacity Payment) P2 = จำนวนเงินค่าพลังงานไฟฟ้า - ส่วนฐาน (Energy Payment) P3 = จำนวนเงินค่าพลังงานไฟฟ้า - ส่วนเพิ่ม (Escalation) P4 = จำนวนเงินค่าการประหยัดการใช้เชื้อเพลิง (Fuel Saving) SPP สามารถเรียกเก็บได้ 2 กรณี คือ 1. เรียกเก็บ 1 งวด คือ เรียกเก็บรวม P1+P2+P3+P4 ในใบแจ้งหนี้เดียวกัน 2. เรียกเก็บ 2 งวด คือ เรียกเก็บรวม P1+P2 +P ในใบแจ้งหนี้งวดที่ 1 และเรียกเก็บส่วน P ในใบเพิ่มหนี้งวดที่ 2

37 การเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้า (ต่อ)
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้า (ต่อ) SPP รายที่ต้องทำการเรียกเก็บเงิน 2 งวด ได้แก่ SPP ที่ใช้เชื้อเพลิงประเภท GAS ในการผลิตไฟฟ้า ส่วน SPP ที่ใช้เชื้อเพลิงประเภท COAL จะสามารถ เรียกเก็บเงินรวมเป็นงวดเดียวได้ เนื่องจากราคา COAL จะประกาศใช้เป็นรายปี การเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในกรณีอื่นๆ เช่น การปรับปรุงค่าไฟฟ้าเนื่องจากคิดผิด 1. การเพิ่มหนี้ (Debit Note) 2. การลดหนี้ (Credit Note) การแจ้งหนี้/เพิ่มหนี้ จะมีระยะเวลาเรียกเก็บ 30 วัน นับจากวันที่ กฟผ. ประทับตรารับและจำนวนเงินที่แจ้งหนี้/เพิ่มหนี้/ลดหนี้ ให้เรียกเก็บรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ด้วย

38 การเปลี่ยนแปลงปริมาณพลังไฟฟ้าตามสัญญา
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) การเปลี่ยนแปลงปริมาณพลังไฟฟ้าตามสัญญา ในกรณีที่ SPP ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าให้ กฟผ. ได้ครบตามปริมาณพลังไฟฟ้าตามสัญญาเป็นเวลารวม18 เดือน ในรอบ 24 เดือนที่ผ่านมา สิ้นสุดในเดือนปัจจุบัน กฟผ. จะกำหนดปริมาณพลังไฟฟ้าตามสัญญาใหม่ให้เท่ากับปริมาณพลังไฟฟ้าเสมือนจริงตามข้อ ที่บริษัทฯทำได้ในเดือนที่ 18 นั้น ทั้งนี้บริษัทฯจะต้องคืนเงินค่าพลังไฟฟ้าที่ กฟผ. ได้ชำระไปแล้ว สำหรับพลังไฟฟ้าส่วนที่ลดลง ตามเงื่อนไขสัญญาข้อ 14.1

39 การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
แผนหยุดเครื่องล่วงหน้า 1 ถึง 3 ปี COD 1 ต.ค. 1 พ.ย. 15 พ.ย. ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม ของทุกปี SPP ต้องยืนยันแผนเดิมที่ได้ส่งมาแล้ว หรือเสนอขอปรับปรุงใหม่พร้อมทั้งแจ้งแผนหยุดเครื่องล่วงหน้า 3 ปี ถัดไปให้ กฟผ. ก่อนวันที่ 1 พฤศจิกายน ของทุกปี กฟผ. แจ้งผลการพิจารณาหากไม่สามารถให้หยุดตามเวลา ที่ SPP แจ้ง กฟผ. จะเสนอวันอื่นให้ทราบ หาก SPP ไม่พอใจช่วงเวลาที่ กฟผ. เสนอให้ SPP ต้องติดต่อ กฟผ. และ พิจารณาหาข้อสรุปภายในวันที่ 15 พฤศจิกายน โดยคำนึงถึงความมั่นคงของระบบไฟฟ้าเป็นหลัก ก่อน COD 30 วัน SPP ส่งแผนบำรุงรักษาตลอดอายุโรงไฟฟ้าและ กำหนดหยุดเครื่องในแต่ละปี ล่วงหน้า 3 ปี ให้ กฟผ. แผนหยุดเครื่องประกอบด้วย ก. กำลังผลิตพร้อมจ่ายให้ กฟผ. ข. ช่วงเวลาที่ต้องการจะเริ่มหยุดและจำนวนวันที่หยุดเครื่อง ค. ช่วงเวลาอื่นถ้า กฟผ. ไม่สามารถจัดแผนให้หยุดได้ตามที่เสนอในข้อ ข.

40 การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
แผนหยุดเครื่องรายเดือน กำหนดหยุดเครื่องตามแผนรายปี (Planned Outage ที่ กฟผ. อนุมัติไปแล้วเมื่อ 1 พ.ย. 30 วัน SPP มีเหตุจำเป็นไม่สามารถหยุดเครื่องตามช่วงเวลาที่ได้ตกลงไว้แล้ว SPP ต้องแจ้งให้ กฟผ. ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนกำหนดเวลาตามแผน ซึ่ง กฟผ. กับ SPP จะตกลงหาช่วงเวลาที่เหมาะสมโดยยึดความมั่นคงของระบบเป็นหลัก หาก SPP ยังยืนยันจะหยุดนอกช่วงเวลาที่ กฟผ.เห็นสมควร กฟผ. จะคิดชั่วโมงหยุดเครื่องดังกล่าวเป็นการหยุดเพื่อบำรุงรักษา(Maintenance Outage) เพิ่มจากแผนรายปี (Planned Outage)

41 บำรุงรักษาต่อเนื่องเกิน 24 ช.ม.
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) แผนหยุดเครื่องรายสัปดาห์ กำหนดหยุดเครื่องตามแผนรายปี (Planned Outage ที่ กฟผ. อนุมัติไปแล้วเมื่อ 1 พ.ย. บำรุงรักษาต่อเนื่องเกิน 24 ช.ม. 7 วัน ถ้า SPP มีเหตุจำเป็นต้องหยุดเดินเครื่องเพื่อบำรุงรักษา (Maintenance Outage) ต่อเนื่องเกิน 24 ช.ม. นอกเหนือจากแผนรายปี(Planned Outage) ถ้า SPP แจ้งให้ กฟผ. ทราบน้อยกว่า 7 วัน กฟผ. จะถือเป็นการแจ้งกระชั้นชิด และจะยอมรับการแจ้งกระชั้นชิดนี้ได้ปีละไม่เกิน 3 ครั้งโดยจะนับเป็นชั่วโมงหยุดเครื่องปกติ แต่ถ้า SPP แจ้งกระชั้นชิดเกิน 3 ครั้ง กฟผ. จะคิดชั่วโมงสะสมการหยุดเครื่องเท่ากับ 1.5 เท่าของชั่วโมงหยุดเครื่องจริงเพื่อชดเชยความเสียหายในส่วนของ กฟผ. SPP ต้องแจ้งให้ กฟผ. ทราบล่วงหน้า 7 วัน เพื่อ กฟผ. จะได้มีเวลาจัดแผนเดินเครื่องให้สอดคล้องกับแผนบำรุงรักษาระบบส่งโดยกระทบต้นทุนการผลิตน้อยที่สุด

42 12.00 น. ของวันก่อนหยุดเครื่อง
การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) แผนหยุดเครื่องรายวัน 00.00 น น. 12.00 น. ของวันก่อนหยุดเครื่อง บำรุงรักษาไม่เกิน 24 ช.ม. ถ้า SPP มีเหตุจำเป็นต้องหยุดเดินเครื่องเพื่อบำรุงรักษา (Maintenance Outage) ไม่เกิน 24 ช.ม. นอกเหนือจากแผนรายปี(Planned Outage) ถ้า SPP แจ้งขอหยุดเครื่องหลัง น. ของวันก่อนที่ SPP จะหยุดเครื่อง ทำให้ กฟผ. ไม่สามารถจัดแผนใหม่ได้ทันที มีผลให้กำลังผลิตสำรองต่ำ กฟผ. จะคิดชั่วโมงดังกล่าวเป็นชั่วโมงจำหน่ายไฟฟ้าตามปกติ ถ้า SPP แจ้งล่วงหน้าในแผนความพร้อมรายวันให้ กฟผ. ทราบก่อนเวลา น. ของวันก่อนที่ SPP จะหยุดเครื่องจริง เพื่อให้ กฟผ. มีเวลาพอที่จะสามารถวางแผนการเดินเครื่องใหม่ โดยมีผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตและกำลังผลิตสำรองน้อยที่สุด กฟผ. จะถือว่าชั่วโมงหยุดเครื่องนั้นเป็นชั่วโมงหยุดเครื่องปกติ

43 การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
แผนการผลิตรายปี 1 ม.ค. ปีถัดไป 1 ธ.ค. ปีถัดไป 1 ต.ค. ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม SPP จะต้องส่งปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่คาดว่าจะจำหน่ายให้ กฟผ. ในแต่ละเดือนของปีถัดไป ให้ กฟผ. โดยแผนนี้จะต้องสอดคล้องกับแผนหยุดเครื่องที่ได้ตกลงไว้แล้ว

44 ภาคผนวก การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
ก. อัตราแลกเปลี่ยนฐาน (FX0 หน่วย ฿/US$) ALL FUEL = 37 ข. อัตราค่าพลังไฟฟ้าฐาน (CP0 หน่วย บาท/kW/เดือน) ระยะเวลาสัญญา GAS COAL ปี

45 ภาคผนวก (ต่อ) การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
ค. สัดส่วนของเงินลงทุน (FP/DP Unitless) 0.5/0.5 ง. อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าฐาน (EP0 หน่วย บาท/kWh) GAS COAL จ. อัตราค่าเชื้อเพลิงฐาน (P0 หน่วยตามประเภทเชื้อเพลิง) ฿/mBTU ฿Ton

46 ภาคผนวก (ต่อ) การซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
ฉ. หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ กฟผ. (ระดับปฏิบัติการ) 1. อสฟ. โทร 2. อคฟ. โทร 3. อรค. โทร 4. อบส. โทร หมายเหตุ ติดต่องานบริหารสัญญาซื้อขายไฟฟ้าได้ที่ วทน-ส. ห้อง 500 อาคาร ท.102 ชั้น 5 กฟผ. สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ , โทรสาร


ดาวน์โหลด ppt SPP Firm Cogeneration ตามระเบียบปี 2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google