ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
11 ตุลาคม 2559 ห้องประชุมชั้น 4 กรมสุขภาพจิต
สรุป ผลคะแนนการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน แยกรายหมวด ของปี2559รอบ 6 เดือนแรกและของปี2558 รอบ12 เดือน 11 ตุลาคม 2559 ห้องประชุมชั้น 4 กรมสุขภาพจิต
2
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 1 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์การ โดยผู้บริหารของส่วนราชการ ก. วิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ 1. วิสัยทัศน์และค่านิยม ผู้บริหารส่วนราชการกำหนดวิสัยทัศน์และค่านิยม ผู้บริหารส่วนราชการถ่ายทอดวิสัยทัศน์และค่านิยมสู่การปฏิบัติไปยังบุคลากร ผู้บริหารปฏิบัติตนที่แสดงถึงความมุ่งมั่นต่อค่านิยมของส่วนราชการ 1. มีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ครอบคลุมในเรื่องวิสัยทัศน์ค่านิยม เป้าประสงค์หรือผลการดำเนินการที่คาดหวังขององค์กร โดยมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวสู่บุคลากร เพื่อให้เกิดการรับรู้ความเข้าใจ และการนำไปปฏิบัติของบุคลากร อันจะส่งผลให้การดำเนินการบรรลุตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ 1.1 แผนที่ยุทธศาสตร์กลุ่มศูนย์สุขภาพจิตและหนังสือนำส่งถึงศูนย์สุขภาพจิตทุกแห่ง ศูนย์ฯ9 √ 1.2 หลักฐานการแจ้งเวียนแผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์สุขภาพจิตแต่ละศูนย์ให้บุคลากรทราบ ทุกศูนย์ฯ 2. การส่งเสริมการประพฤติปฏิบัติตามหลักนิติธรรม ความโปร่งใส และความมีจริยธรรม - ผู้บริหารส่วนราชการแสดงความมุ่งมั่นต่อการประพฤติตามหลักนิติธรรมความโปร่งใส และความมีจริยธรรม - ผู้บริหารส่วนราชการได้สร้างสภาพแวดล้อมในองค์การเพื่อสิ่งเหล่านี้ 2.ผู้บริหารส่วนราชการมีการสื่อสารนโยบายการสร้างความโปร่งใสและความมีจริยธรรมให้บุคลากรเข้าใจและมีการดำเนินการตามแนวทางที่กรมสุขภาพจิตกำหนด 2.1 คำสั่งศูนย์สุขภาพจิต เรื่องแต่งตั้งคณะทำงานศูนย์ประสานราชการใสสะอาด 2.2 แผนการดำเนินงานราชการใสสะอาด/แผนป้องกันการปราบปรามทุจริตของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต
3
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 1 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 3. การสร้างองค์การคุณภาพที่ยั่งยืน - ผู้บริหารส่วนราชการสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อให้เกิดการบรรลุพันธกิจ การปรับปรุงผลการดำเนินงานและการเรียนรู้ระดับองค์การและระดับบุคคล - ผู้บริหารส่วนราชการสร้างวัฒนธรรมการทำงานของบุคลากรที่ส่งมอบประสบการณ์ที่ดีให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ผู้บริหารส่วนราชการมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดการเรียนรู้ระดับองค์การและการพัฒนาผู้นำในอนาคต 1. ผู้บริหารส่วนราชการกำหนดแนวทางการจัดสรรทรัพยากรการดำเนินงานการสร้างสภาพแวดล้อม การสร้างวัฒนธรรมการทำงาน และการพัฒนานวัตกรรมของกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต รวมถึงมีการกำหนดแนวทางการกำกับ ติดตามผลการดำเนินงานของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต 2. มีการถ่ายทอดการเรียนรู้ระดับองค์การและการพัฒนาผู้นำในอนาคตโดยผู้บริหาร ในเวทีสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต 3.1 สรุปผลการสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์สุขภาพจิตครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์ PMQA ศูนย์เจ้าภาพ √ ข. การสื่อสารและผลการดำเนินการขององค์การ 4. การสื่อสาร - ผู้บริหารส่วนราชการดำเนินการสื่อสารและสร้างความผูกพันกับบุคลากรทั่วทั้งองค์การและกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่สำคัญ - ผู้บริหารส่วนราชการกระตุ้นให้เกิดการสื่อสารที่ตรงไปตรงมาสองทิศทาง ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารให้ทราบถึงการตัดสินใจที่สำคัญ - ผู้บริหารส่วนราชการจูงใจบุคลากร ให้รางวัลและยกย่องชมเชย 1. มีการสื่อสารและใช้เทคโนโลยีร่วมกันระหว่างผู้บริหารส่วนราชการกับบุคลากรทุกเดือน เช่น line Facebook website และอื่นๆ 2. มีแผนการสร้างความผูกพันบุคลากรและมีกิจกรรมยกย่องชมเชยบุคลากรในหน่วยงาน 3. มีการสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต หรือการสัมมนาเครือข่ายเพื่อชี้แจงการดำเนินงานประจำปี แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานประจำปี 4.1 เอกสารที่แสดงถึงการสื่อสาร เช่น สรุปรายงานการประชุม / สรุปการสื่อสารระหว่างผู้บริหารกับบุคลากรด้วย Social Media ทุกศูนย์ฯ 4.2 แผนการสร้างความผูกพันของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต และเอกสาร/ภาพถ่ายที่แสดงถึงกิจกรรมยกย่องชมเชยบุคลากรในหน่วยงาน
4
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 1 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 3. การสร้างองค์การคุณภาพที่ยั่งยืน 4.3 เอกสารที่แสดงถึงการชี้แจงการดำเนินงานประจำปี แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานประจำปี เช่น - สรุปผลการสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต ศูนย์เจ้าภาพ √ -สรุปผลการสัมมนาเครือข่ายของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต/สรุปผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต ทุกศูนย์ฯ 5. การทำให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง - ผู้บริหารส่วนราชการทำให้เกิดการปฏิบัติเพี่อให้ส่วนราชการบรรลุวัตถุประสงค์ ปรับปรุงผลการดำเนินการ ส่งเสริมนวัตกรรม และบรรลุวิสัยทัศน์ - ผู้บริหารส่วนราชการพิจารณาถึงการสร้างความสมดุลของคุณค่าระหว่างผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่ม ต่างๆ 1. ผู้บริหารมีการประชุมเพื่อกำกับ ติดตาม ดูแล ปรับปรุงการดำเนินงาน ตาม SLA ในปีที่ผ่านมา เพื่อพัฒนาคู่มือการปฏิบัติงาน/คู่มือการให้บริการประชาชน 2. นำผลการวิเคราะห์ความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาปรับปรุงพัฒนางาน 5.1 สรุปการพัฒนาการดำเนินงานตาม SLA ในปีที่ผ่านมา และแผนปรับปรุงการดำเนินงานของกลุ่มศูนย์ ศูนย์ฯ11
5
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 1 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 1.2 การนำองค์การ โดยผู้บริหารของส่วนราชการ ก. การกำกับดูแลองค์การ 6. ระบบการกำกับดูแลองค์การ ส่วนราชการทบทวนและกำกับดูแลเรื่องที่สำคัญ ดังนี้ • ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงาน • ความรับผิดชอบด้านการเงิน พัสดุและการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ • การปกป้องผลประโยชน์ของประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. ผู้บริหารกลุ่มศูนย์สุขภาพจิตมีการทบทวน ภารกิจการดำเนินงาน การมอบหมายงาน ผลการดำเนินงานและกำกับ ติดตาม ดูแลเรื่องการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พัสดุ การเงิน การจัดซื้อจัดจ้าง) 2. วิเคราะห์ความต้องการ ทบทวนความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6.1 หนังสือ/คำสั่งมอบหมายงานของกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต ศูนย์ฯ9 √ 6.2 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทุกศูนย์ฯ 6.3 คำสั่งศูนย์สุขภาพจิต เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงาน/คณะกรรมการ ได้แก่ ควบคุมภายใน บริหารความเสี่ยง จัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ 6.4 รายงานผลการควบคุมภายใน บริหารความเสี่ยง ปีงบประมาณที่ผ่านมา จัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ ที่บรรจุในเวทีสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์ ศูนย์เจ้าภาพ
6
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 1 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 7. การประเมินผลการดำเนินการ - ส่วนราชการประเมินผลการดำเนินการของผู้บริหารส่วนราชการ รวมทั้งระบบกำกับดูแลองค์การ - ผู้บริหารส่วนราชการใช้ผลการทบทวนผลการดำเนินการไปพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิผลของระบบการนำองค์การ 1. มีการประเมินผลการดำเนินงานของผู้บริหารโดยบุคลากรในองค์การ 2. มีการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของผู้บริหาร และใช้ผลการทบทวนผลการดำเนินการไปพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิผลของระบบการนำองค์การ 7.1 รายงานการประเมินผลการดำเนินงานของผู้บริหารที่ได้จากการประเมินความผูกพันในองค์กรของบุคลากร ศูนย์ฯ9 √ 7.2 ผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการและผลการจัดกลุ่มแบ่งระดับของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตในปีที่ผ่านมา ศูนย์ฯ1 7.3 สรุปรายงานการประชุมกลุ่มศูนย์ที่ระบุผลการทบทวนการดำเนินงานไปพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิผลของระบบการนำองค์การ
7
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 1 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ข. การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและอย่างมีจริยธรรม 8. การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ - ส่วนราชการได้คาดการณ์ล่วงหน้าถึงความกังวลของสาธารณะที่มีต่อการบริการและการปฏิบัติงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคต - ส่วนราชการมีการเตรียมการเชิงรุกถึงความกังวลและผลกระทบเหล่านี้ - ส่วนราชการมีกระบวนการ ตัววัด และเป้าประสงค์ที่สำคัญเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับที่กำหนดหรือดีกว่า - ส่วนราชการมีการดำเนินการเรื่องความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการบริการและการปฏิบัติงาน 1. ผู้บริหารมีการพิจารณาและคาดการณ์ล่วงหน้าถึงความกังวลในเรื่องวินัย กฎระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย มาตรฐานวิชาชีพ 2. ผู้บริหารสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตและประพฤติ มิชอบของหน่วยงาน 3. ผู้บริหารสนับสนุนให้มีการบริหารความเสี่ยงและการจัดการข้อคิดเห็นข้อร้องเรียนของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 8.1 คำสั่งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จัดการข้อคิดเห็นข้อร้องเรียนของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และรายงานผลการดำเนินการ ทุกศูนย์ฯ √ 8.2 มาตรฐานวิชาชีพ (ผู้อำนวยการ นักวิชาการสาธารณสุข นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักกิจกรรมบำบัด เป็นต้น) ศูนย์ฯ9 8.3 สรุปรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต
8
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 1 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 9. การประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม - ส่วนราชการส่งเสริมและสร้างความมั่นใจว่าการปฏิบัติการทุกด้านของส่วนราชการมีการประพฤติอย่างมีจริยธรรม - ส่วนราชการมีกระบวนการและตัวชี้วัดที่สำคัญในการส่งเสริมและกำกับดูแลให้มี การประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม - องค์การมีวิธีการในการกำกับดูแลและดำเนินการในกรณีที่มีการกระทำที่ขัดต่อหลักจริยธรรม 1. ผู้บริหารสนับสนุนให้มีการวางระบบป้องกัน กำกับดูแลเพื่อป้องกันการกระทำผิดต่อหลักจริยธรรม 9.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต ทุกศูนย์ฯ √ 9.2 แผนการดำเนินงานตามปฏิบัติการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต 9.3 สรุปรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต
9
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 1 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ค. ความรับผิดชอบต่อสังคมและการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ 10. ความผาสุกของสังคม 10. ส่วนราชการคำนึงถึงความผาสุกและประโยชน์สุขของสังคมเป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการประจำวัน มีส่วนในการสร้างความสมบูรณ์ให้กับระบบสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ 1. ผู้บริหารสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาความเข้มแข็งแก่ชุมชนผ่านกลไก DHS 10.1 สรุปผลการดำเนินงาน DHS ของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต โดยเพิ่มเติมประเด็นเกี่ยวกับ การประเมินเรื่องความสุข ความเศร้า ความเครียดด้วย ทุกศูนย์ฯ √ 11. การสนับสนุนชุมชน 11.1 ส่วนราชการดำเนินการในการสนับสนุนชุมชนให้มีความเข้มแข็งแก่ชุมชนที่สำคัญของส่วนราชการ 11.2 ส่วนราชการมีวิธีการในการกำหนดชุมชนดังกล่าว รวมถึงวิธีการกำหนดกิจกรรมที่ส่วนราชการเข้าไปมีส่วนร่วม ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่ใช้ประโยชน์ของสมรรถนะหลักของส่วนราชการ 11.3 ผู้บริหารของส่วนราชการและบุคลากรมีส่วนร่วมในการดำเนินการดังกล่าว 1. ผู้บริหารสนับสนุนการดำเนินงานตามแนวทาง CSR ของหน่วยงาน และกำหนดนโยบายในการลดผลกระทบที่มีต่อลูกค้า ต่อชุมชน สังคม ที่เกิดจากกิจกรรม/งานที่กลุ่มศูนย์ดำเนินการ รวมถึงการรักษาสิ่งแวดล้อม ลดการใช้พลาสติก โฟม งดการใช้วัสดุที่ทำลายสิ่งแวดล้อม 11.1 สรุปการประชุมผู้บริหารกลุ่มศูนย์ที่กำหนดนโยบายในการลดผลกระทบที่มีต่อลูกค้า ต่อชุมชน สังคม ที่เกิดจากกิจกรรม/งานที่กลุ่มศูนย์ดำเนินการ ศูนย์ฯ9 11.2 คำประกาศนโยบายในการลดผลกระทบที่มีต่อลูกค้า ต่อชุมชน สังคม ที่เกิดจากกิจกรรม/งานที่กลุ่มศูนย์ดำเนินการ 11.3 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ CSR 11.4 แผนการดำเนินงาน CSR ของกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต 11.5 สรุปรายงานผลการดำเนินงาน CSR ของกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต (การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม)
10
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 2 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ก. กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ 1. กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ - ส่วนราชการมีวิธีการในการวางแผนยุทธศาสตร์ มีการกำหนดขั้นตอนที่สำคัญของกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ และกำหนดผู้เกี่ยวข้องที่สำคัญ - มีกรอบเวลาในการวางแผนระยะสั้น ระยะยาว และวิธีการทำให้กระบวนการวางแผนฯ มีความสอดคล้องกับกรอบเวลาดังกล่าว - กระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ได้คำนึงถึงความต้องการของส่วนราชการในด้านความคล่องตัว และความยืดหยุ่นในการปฏิบัติการ 1. รับทราบนโยบายกรมสุขภาพจิต 2. สื่อสารนโยบายภายในหน่วยงาน 3. คณะทำงานร่วมประชุมจัดทำแผนของกลุ่มศูนย์ฯ 1.1 สรุปการประชุมจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ของกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต ศูนย์ฯ9 √ 1.2 แผนที่ยุทธศาสตร์ประจำปีของหน่วยงานตามเล่มแผนที่ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต 2. นวัตกรรม - มีวิธีการในการสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการสร้างนวัตกรรม - มีวิธีการในการกำหนดโอกาสเชิงยุทธศาสตร์ - มีโอกาสเชิงยุทธศาสตร์ที่สำคัญ 1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำเสนอนวัตกรรม 2.1 สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนวัตกรรม จากการสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต ศูนย์เจ้าภาพ 3. การวิเคราะห์และกำหนดยุทธศาสตร์ - มีวิธีการในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล และพัฒนาสารสนเทศเพื่อใช้ในกระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ และความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ - ความเสี่ยงที่คุกคามต่อความยั่งยืนของส่วนราชการ - จุดบอดที่อาจเกิดขึ้นในกระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และในสารสนเทศ - ความสามารถของส่วนราชการในการนำแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ 1. กลุ่มศูนย์สุขภาพจิตวิเคราะห์ SWOT ร่วมกัน 3.1 ผลการวิเคราะห์ SWOT ของกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต ในแผนที่ยุทธศาสตร์กลุ่มศูนย์สุขภาพจิต
11
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 2 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 4. ระบบงานและสมรรถนะหลักของส่วนราชการ - มีวิธีการในการตัดสินใจเรื่องระบบงานที่สำคัญ - มีวิธีการในการตัดสินใจว่ากระบวนการใดจะดำเนินการโดยผู้ส่งมอบและพันธมิตร การตัดสินใจได้คำนึงถึงสมรรถนะหลักของส่วนราชการ และสมรรถนะหลักของผู้ส่งมอบและพันธมิตรที่มีศักยภาพ - มีวิธีการในการกำหนดสมรรถนะหลักในอนาคตของส่วนราชการ 1. มอบหมายงานให้แต่ละศูนย์ฯรับผิดชอบ 2. มอบหมายงานให้บุคลากรในหน่วยงานรับผิดชอบ 4.1 สรุปการประชุมผู้บริหารกลุ่มศูนย์สุขภาพจิตที่แสดงถึงการมอบหมายงานให้แต่ละศูนย์สุขภาพจิตรับผิดชอบ ศูนย์ฯ9 √ 4.2 สรุปการประชุมหรือเอกสารการมอบหมายงานของศูนย์สุขภาพจิตแต่ละศูนย์และแจ้งเวียนให้บุคลากรทราบ ทุกศูนย์ฯ
12
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 2 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ข.วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 5. วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่สำคัญ - มีการกำหนดวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่สำคัญ มีการระบุกรอบเวลาที่จะบรรลุ - มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ในด้านผลผลิตและบริการ ผู้รับบริการ และกลุ่มเป้าหมาย ผู้ส่งมอบและพันธมิตร และได้วางแผนการปฏิบัติการไว้ 1. ประชุมจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ของกลุ่มศูนย์ฯ 5.1 รายงานการประชุมจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มศูนย์ฯ ศูนย์ฯ9 √ 5.2 แผนที่ยุทธศาสตร์ของแต่ละศูนย์ ตามเล่มแผนที่ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต 6. การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ - วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตอบสนองประเด็นต่อไปนี้ - ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ และความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ - โอกาสในการสร้างนวัตกรรมในผลผลิตและบริการและการใช้ประโยชน์ - สมรรถนะหลักของส่วนราชการ และโอกาสในการสร้างสมรรถนะใหม่ - ความสมดุลระหว่างโอกาสและความท้าทายในระยะสั้นและระยะยาว - ความสมดุลของความต้องการของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่สำคัญ 1. ประชุมทบทวนการกำหนดวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตอบสนองประเด็นตามเกณฑ์ PMQA 6.1 สรุปการประชุมทบทวนการกำหนดวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตอบสนองประเด็นตามเกณฑ์ PMQA ศูนย์ฯ7
13
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 2 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 2.2 การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ก. การจัดทำแผนปฏิบัติการและการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ 7. การจัดทำแผนปฏิบัติการ - มีวิธีการในการจัดทำแผนปฏิบัติการ ที่สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 7.1 แผนปฏิบัติการของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตที่ปรากฏในเล่มแผนปฏิบัติการ กรมสุขภาพจิต ศูนย์ฯ9 √ 8. การนำแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ - มีวิธีการในการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการสู่การปฏิบัติทั่วทั้งส่วนราชการไปยังบุคลากร - มีวิธีการเพื่อทำให้มั่นใจว่าผลการดำเนินงานที่สำคัญตามแผนปฏิบัติการจะประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 1. แจ้งเวียนแผนปฏิบัติการของหน่วยงานให้บุคลากรทราบ 2. ติดตามผลการดำเนินงานตามคู่มือกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการของสำนักยุทธศาสตร์สุขภาพจิต 8.1 แผนปฏิบัติการฉบับแรกของหน่วยงาน และแจ้งเวียนให้บุคลากรทราบ ทุกศูนย์ฯ 8.2 คู่มือกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการของสำนักยุทธศาสตร์สุขภาพจิต 9. การจัดสรรทรัพยากร - มีการดำเนินการเพื่อให้มั่นใจว่าทรัพยากรด้านงบประมาณ และด้านอื่นๆ มีความพร้อมใช้ในการสนับสนุนแผนปฏิบัติการจนประสบความสำเร็จ - มีวิธีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนแผนปฏิบัติการ - มีการจัดการความเสี่ยงด้านการเงินและด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนฯ 1. ค้นหา/จัดทำบริหารความเสี่ยง ควบคุมความเสี่ยง/รายงานความเสี่ยง 9.1 แผนบริหารความเสี่ยง 9.2 เอกสารบริหารความเสี่ยง ตามเอกสารการตรวจสอบภายใน (แบบ ปย. 1, 2, 3)
14
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 2 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 10. แผนด้านทรัพยากรบุคคล - แผนด้านทรัพยากรบุคคลสนับสนุนวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการระยะสั้นและระยะยาว - แผนดังกล่าวได้คำนึงถึงผลกระทบต่อบุคลากร และความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น เกี่ยวข้องกับความต้องการด้านขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร 1. จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มศูนย์ฯ 10.1 แผนพัฒนาบุคลากรของศูนย์สุขภาพจิตแต่ละศูนย์ ทุกศูนย์ฯ √ 11. ตัววัดผลการดำเนินการ - มีการกำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินการที่สำคัญ ที่ใช้ในการติดตามความสำเร็จและประสิทธิผลของแผนปฏิบัติการ - มีวิธีการเพื่อทำให้มั่นใจว่าระบบการวัดผลโดยรวมของแผนปฏิบัติการ เสริมให้ส่วนราชการมุ่งไปในแนวทางเดียวกัน 1. ประชุมชี้แจงและมอบหมายตัวชี้วัดแก่บุคลากรในหน่วยงาน 2. จัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล 11.1 สรุปการประชุมชี้แจงและมอบหมายตัวชี้วัดแก่ผู้บริหารกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต ศูนย์ฯ9 11.2 สรุปการประชุมชี้แจงหรือเอกสารที่แสดงถึงการมอบหมายตัวชี้วัดแก่บุคลากรในหน่วยงานของศูนย์สุขภาพจิตแต่ละศูนย์และแจ้งเวียนให้บุคลากรทราบ 12. การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ - มีวิธีการในการปรับแผน และนำแผนปฏิบัติการใหม่ไปปฏิบัติได้อย่างรวดเร็ว 1. ทบทวนแผนปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง 12.1 แผนปฏิบัติการของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตที่ผ่านการทบทวนและปรับแผนครั้งล่าสุดแล้ว(ไม่มีการปรับแผนอีก)
15
หมวด 1 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ข. การคาดการณ์ผลการดำเนินการ 13. การคาดการณ์ผลการดำเนินการ - ได้คาดการณ์ผลการดำเนินการตามกรอบเวลาของการวางแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาว ตามตัวชี้วัดผลการดำเนินการที่สำคัญ ตามข้อ 2.2 ก (11) - มีการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่คาดการณ์ของส่วนราชการกับคู่แข่ง/คู่เทียบในระดับที่เทียบเคียงกัน -มีวิธีการดำเนินการหากพบว่าการดำเนินการมีความแตกต่างกับคู่แข่ง/คู่เทียบ หรือ ส่วนราชการในระดับที่เทียบเคียงกัน 1. ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ 13.1 รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการงานปกติรายไตรมาส ทุกศูนย์ฯ √ 13.2 รายงานตามแผนยุทธศาสตร์ รายปี 13.3 รายงานแผนขับเคลื่อน รายเดือน หมายเหตุ คู่แข่งคู่เทียบของศูนย์สุขภาพจิต คือ ศูนย์อนามัย ในประเด็นกระบวนงานส่งเสริม และป้องกันปัญหาสุขภาพ
16
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 4 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง หมวด 4 การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. การวัดผลการดำเนินการ 1. ตัววัดผลการดำเนินการ - มีวิธีการเลือก รวบรวมข้อมูลและสารสนเทศ และปรับให้สอดคล้อง/บูรณาการข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อติดตามผลการปฏิบัติการประจำวัน และผลการดำเนินการโดยรวมของส่วนราชการ รวมถึงการติดตามความก้าวหน้าในการบรรลุวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ - มีตัววัดผลการดำเนินการที่สำคัญทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งมีการติดตามตัววัด - มีวิธีการใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อสนับสนุนแการตัดสินใจในระดับส่วนราชการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และสร้างนวัตกรรม 1. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศ 2. ติดตามความก้าวหน้าและการดำเนินงาน หมายเหตุ อ้างอิงจาก Data Center ด้านการส่งเสริมป้องกัน 3. การดำเนินงานระยะสั้น ( ๑ ปี) มีเป้าหมายจำนวน 1 เรื่อง 4. การดำเนินงานระยะยาว ( ๓ ปี) มีเป้าหมาย จำนวน 3 เรื่อง 5. มีการแหล่งข้อมูลและสารสนเทศที่นำไปสู่การตัดสินใจของส่วนราชการที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย 6. มีแนวทางในการดำเนินงานและมีนวัตกรรมตามบริบทของพื้นที่ 1.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากราย งานการประชุม 04 1.2 รายงานสรุปผลความก้าวหน้าผลดารดำเนินงานข้อมูลและสารสนเทศ 1.3 สรุปผลความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวม 09 1.4 รายงานผลการดำเนินงาน (ตามตัวชี้วัดหมวด 7 ทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด ตามข้อสรุปตัวชี้วัดสาระสนเทศ จาก 04 01 06 1.5 จำนวนองค์ความรู้ของศูนย์สุขภาพจิต ทุกศูนย์ 1.6 มีข้อมูล , หรือ website ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงาน ( ทุกศูนย์มี เว็บไซด์) 1.7 เสนอนวัตกรรมที่ผลิตได้ (06 รวบรวม)
17
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 2 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 2. ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ - มีวิธีการเลือกและสร้างความมั่นใจว่าได้ใช้ข้อมูลและสารสนเทศเขิงเปรียบเทียบที่สำคัญอย่างมีประสิทธิผล เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับปฏิบัติการและระดับยุทธศาสตร์ รวมทั้งการสร้างนวัตกรรม 1. มีการเสนอสารสนเทศที่สำคัญสนับสนุนการตัดสินใจในระดับการ ปฏิบัติการและระดับยุทธศาสตร์ 2.1 มีฐานข้อมูลแสดงการเปรียบเทียบข้อมูลของระหว่างพื้นที่ (ระหว่างพื้นที่หมายถึง จังหวัดภายในเขตที่ศูนย์ฯรับผิดชอบ ) ทุกศูนย์ฯ √ 3. ข้อมูลผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - มีวิธีการเลือกและสร้างความมั่นใจว่าได้ใช้ข้อมูลและสารสนเทศจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อสร้างนวัตกรรมที่มุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ - มีวิธีการใช้ข้อมูลและสารสนเทศที่เก็บรวบรวมผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มีผลงานใหม่อย่างน้อยปีละ ๑ เรื่อง นำข้อมูลจากหมวด 3 และ DATA Center ของแต่ละเขต ออกแบบ รูปแบบการจัดเก็บข้อมูล เพื่อให้มีรูปแบบเดียวกัน ( รอหมวด 3 ซึ่งพิจารณาใน 16 ต.ค. นี้) 2. มีผู้มาใช้บริการ 3.1 รายงานผลการดำเนินงาน ฐานข้อมูล ตามสภาพปัญหา และออกแบบใหม่ ทุกศูนย์ 3.2 จำนวนครั้งที่มาใช้บริการ (ภาพถ่าย) 4. ความคล่องตัวของการวัดผล - มีวิธีการดำเนินการเพื่อให้มั่นใจว่าระบบการวัดผลการดำเนินการสามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว หรือที่ไม่ได้คาดถึงทั้งภายในหรือภายนอกส่วนราชการ 1. มีการปรับปรุงข้อมูลตามความเหมาะสมของแต่ละตัวชี้วัด Update ข้อมูล ตามสภาพงานที่สำคัญ รวมทั้งรูปแบบ ความถี่ ล้อตามตัวชี้วัด IT 4.1 ภาพถ่ายก่อน-หลังจากปรับปรุงข้อมูลทุกครั้ง 4.2 สรุปความก้าวหน้า แผนการและรายงานปรับปรุงข้อมูลทุกครั้งที่มีการปรับปรุงข้อมูล เอกสาร/สรุปการประชุม/การติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลสารสนเทศทุก 6 เดือน
18
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 4 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ข. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ 5. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ - มีวิธีการทบทวนผลการดำเนินการและขีดความสามารถของส่วนราชการ / ใช้ตัววัดผลการดำเนินการที่สำคัญในการทบทวน - มีการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการทบทวน และเพื่อให้มั่นใจว่าผลสรุปนั้นใช้ได้ - ใช้ผลการทบทวนในการประเมินผลสำเร็จของส่วนราชการในเชิงแข่งขันและความก้าวหน้าในการบรรลุวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการ - ใช้ผลการทบทวนในการประเมินความสามารถในการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านความต้องการและความท้าทายของสภาพแวดล้อมที่ดำเนินการอยู่ - มีวิธีการในการทบทวนการดำเนินการของส่วนราชการและความก้าวหน้า เมื่อเทียบกับวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ 1. มีการประชุมกลุ่มศูนย์ฯทบทวนผลการดำเนินการและขีดความสามารถของศูนย์สุขภาพจิต 2. มีการวัดผลการดำเนินการที่สำคัญในการทบทวน 3.ประชุมผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลผลสรุปของกลุ่มศูนย์ เพิ่มประเด็นของ out put out come และเนื้องานแผนงานโครงการของทุกศูนย์ ข้อมูลในเชิงกระบวนการ โดยอิงกับงานหลักของกระบวนการหมวด 6 4. การนำผลการทบทวนมาประเมินความสำเร็จของหน่วยงาน 5. วิเคราะห์ทบทวนผลการดำเนินการและความก้าวหน้าในภาพรวมกลุ่มศูนย์ (ก่อนหน้านี้ทำอย่างไร) ทบทวนตาม ตัวชี้วัดที่สำคัญและหาวิธีการแก้ไขปัญหาใน ตัวชี้วัดที่มีปัญหา และออกแบบการรายงานที่สามารถตอบได้ในเอกสารชิ้นเดียว 5.1 รายงานสรุปทบทวนการดำเนินงานและขีดความสามารถของหน่วยงาน ทุกศูนย์ 5.2 รายงานผลการวัดการดำเนินการที่สำคัญในการทบทวน 5.3 รายงานการสรุปผลผลผลิต ผลลัพธ์โครงการสุขภาพจิตของแต่ละศูนย์ฯตามแผนปฏิบัติการ 5.4 รายงานสรุปผลการเปรียบเทียบผลสำเร็จ การตอบสนอง การเปลี่ยนแปลง และความท้าทายตามบริบทพื้นที่ (ข้อมูล Input เชิง IT เอาจาก 04 ส่วนแผนการดำเนินงาน PDCA ของศูนย์ตัวเอง) 5.5 รายงานการทบทวนความก้าวหน้าและการดำเนินงาน (ทุกศูนย์)
19
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 4 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ค. การปรับปรุงผลการดำเนินการ 6. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ - มีวิธีการค้นหาหน่วยงานหรือหน่วยปฏิบัติการที่มีผลการดำเนินการที่ดี - มีวิธีการค้นหาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศของหน่วยงาน เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. จัดเวทีค้นหาหน่วยงานที่มีการดำเนินการที่ดี 6.1 รายชื่อหน่วยงานที่มีผลการดำเนินงานที่ดี (ทุกศูนย์) อิงเวทีระดับเขตมาตอบ นำจากหมวด2 ทุกศูนย์ 6.2 ผลการดำเนินงาน/ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งในและนอกเครือข่าย เช่น DHS สัมมนากลุ่มศูนย์ 7.ผลการดำเนินการในอนาคต - มีวิธีการใช้ผลการทบทวนการดำเนินการ และข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ/แข่งขันที่สำคัญเพื่อคาดการณ์ผลการดำเนินการในอนาคต - มีวิธีการปรับแก้ความแตกต่างระหว่างการคาดการณ์ผลการดำเนินการในอนาคตกับการคาดการณ์ผลการดำเนินการของแผนปฏิบัติการที่สำคัญ และลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น 1. ผลการดำเนินงานอิง ตชว.ที่ 15 ของกรม 2. ข้อมูลจาก PDCA /data center มาวิเคราะห์ มาทบทวน 3. ข้อมูลจากผลตามตัวชี้วัดของกลุ่มศูนย์ 7.1 เอาข้อมูลที่ 09 เรื่องสถานการณ์ปัญหาสุขภาพจิตมาวิเคราะห์ต่อยอดเพื่อพยากรณ์ใน หมวดนี้ 7.2 PDCA ในอนาคต ( ชี้เป้า เฝ้าระวัง แนะแนวทาง ) ให้กับพื้นที่ 7.3 ผลการดำเนินงานของศูนย์ฯ (อ้างอิงตัวชี้วัดกลุ่มศูนย์ฯ)
20
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 4 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 8. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและสร้างผลงานใหม่(นวัตกรรม) - มีวิธีการใช้ผลการทบทวนผลการดำเนินการ ๑. เพื่อจัดลำดับความสำคัญของเรื่องที่ต้องปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และนำไปเป็นโอกาสในการสร้างนวัตกรรม ๒. เพื่อให้ความสำคัญของเรื่องที่ต้องปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง มีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับนโยบาย 1. มีการประชุมทบทวนผลการดำเนินงาน และจัดลำดับความสำคัญ ตลอดจนสิ่งที่ต้องปรับปรุง 2. การจัดประชุมถ่ายทอดผลการทบทวนผลการดำเนินงานแก่บุคลากร 8.1 รายงานผลการประชุมการถ่ายทอดผลการทบทวนการดำเนินงาน (เรียงลำดับความสำคัญ และมอบหมายผู้รับผิดชอบ ทุกศูนย์ 8.2 แสดงนวัตกรรมที่ได้จากการสรุปผลการดำเนินงาน ข้อมูลจาก R&D นำกระบวนงานมาอิงในข้อนี้ เนื่องจากทำเป็นภาพรวมของกลุ่มศูนย์ ตอบหมวด 6 กระบวนการ ตอบหมวด 4 และหมวด 3 หมวด 2 ในเชิงนวัตกรรม และหมวด 5
21
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 4 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ก. ความรู้ของส่วนราชการ 9. การจัดการความรู้ - มีวิธีการในการ - รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร - ถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้องระหว่างส่วนราชการกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เครือข่าย ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือ - แบ่งปันและนำวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศไปดำเนินการ - รวบรวมและถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการสร้างนวัตกรรมและกระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 1. กำหนดประเด็นหรือหัวข้อการจัดการความรู้ 2.จัดกระบวนการ ขั้นตอนกิจกรรม การจัดการความรู้ และแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน มีเวที KM ภายใน ภายนอกมีนวัตกรรม (011) 9.1 มีกระบวนการในการจัดการความรู้ที่แสดงขั้นตอนที่ชัดเจน ทุกศูนย์ 9.2 มีแผนและมีการจัดการความรู้ 9.3 การจัดการความรู้ในองค์กร 9.4 R&D และการถ่ายทอดให้บุคลากรทราบ ร่างมาตรฐานงาน ศูนย์ 11 10. การเรียนรู้ระดับองค์การ - มีวิธีการใช้องค์ความรู้และทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้การเรียนรู้ฝังลึกลงไปในวิธีการปฏิบัติงานของส่วนราชการ ข้อแตกต่าง ข้อ 9 การเรียนรู้ระดับตนเอง หน้างาน ข้อ 10 เรียนรู้ในส่วนของหน่วยงาน องค์การกลุ่มศูนย์ เป็นภาพใหญ่ ร่างมาตรฐานงานส่งเสริมป้องกัน อิงข้อมูลจาก 02 ภายใต้หน้างาน DHS ที่ทุกศูนย์ต้องทำเหมือนกัน 1. ประชุมชี้แจง 2. กำหนดประเด็นการจัดการความรู้ในภาพรวม (ประเด็นเดียวกัน) 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร 4. ดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในศูนย์และร่วมกับเครือข่าย ปรับ/ดูรายละเอียดอีกครั้ง 10.1 รายงานการประชุม 10.2 ข้อสรุป/บทเรียนที่ได้จากการประชุม ที่ได้ การถอดบทเรียน เพื่อนำไปเผยแพร่ 10.3 Good Practice สรุปผลการดำเนินงาน โดยนำมารวมเล่มจากกลุ่มศูนย์ต่างๆ 10.4 รายงานผลการสัมมนาเครือข่าย
22
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 4 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ข. ข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ 11. คุณลักษณะของข้อมูลและสารสนเทศ - มีวิธีการที่ทำให้มั่นใจว่าข้อมูล สารสนเทศของส่วนราชการมีความแม่นยำ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ทันกาล ปลอดภัย และเป็นความลับ 1. ศูนย์สุขภาพจิตที่ ๔ ตรวจสอบความถูกต้อง 2. ศูนย์สารสนเทศ กรมสุขภาพจิต ตรวจสอบ ความถูกต้อง แม่นยำและความน่าเชื่อถือของสารสนเทศ ข้อมูล website ทั้งภาพรวมศูนย์ และแต่ละศูนย์ หลักฐานการแจ้ง ID Password ข้อมูลผลดำเนินงานตาม ตัวชี้วัด 04 (ทุกศูนย์รวบรวมส่ง 04) 12.ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ - มีวิธีการดำเนินการเพื่อใช้ข้อมูลและสารสนเทศที่จำเป็น มีความพร้อมใช้งานด้วยรูปแบบที่ใช้งานง่าย สำหรับบุคลากร เครือข่าย ผู้ส่งมอบ พันธมิตร ผู้ให้ความร่วมมือ รวมทั้งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. มีฐานข้อมูลออนไลน์ที่อัพเดตตลอดเวลาและฐานข้อมูลสำเร็จรูปที่พร้อมใช้งานเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน 12.1 website ฐานข้อมูล ทุกศูนย์ 12.2 ฐานข้อมูลสำเร็จรูปที่พร้อมใช้งาน 13. คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ - มีวิธีการดำเนินการเพื่อให้มั่นใจว่าได้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มีความน่าเชื่อถือได้ ปลอดภัย และใช้งานง่าย 1. มีการจัดการความเสี่ยงฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ได้อย่างน่าเชื่อถือ ปลอดภัย และใช้งานได้ง่าย 2. มีสารสนเทศที่พร้อมใช้งานต่อเนื่อง 3. มีข้อมูลสารสนเทศที่มันสมัย 13.1 มีแหล่งข้อมูลสำรองไว้มากกว่า ๑ แหล่ง 04 (ตชว.มาตอบ ตัวที่ 29.1) 14. ความพร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉิน 13.2 มีบันทึกการสแกนไวรัสคอมพิวเตอร์สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง - ในกรณีฉุกเฉิน ส่วนราชการมีวิธีการที่ทำให้มั่นใจว่าระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมทั้งข้อมูลและสารสนเทศมีความพร้อมใช้งานอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความจำเป็นทางภารกิจอย่างมีประสิทธิผล 13.3 มีบันทึกการปรับปรุงข้อมูลทุกครั้งที่มีข้อมูลอับเดต (ทุก 1 เดือน)
23
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 5 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร 5.1 สภาพแวดล้อมด้านบุคลากร ก. ขีดความสามารถและอัตรากำลังด้านบุคลากร 1. ขีดความสามารถและอัตรากำลัง - มีวิธีการประเมินความต้องการด้านขีดความสามารถและอัตรากำลังด้านบุคลากร รวมทั้งทักษะ สมรรถนะ คุณวุฒิและกำลังคนที่ส่วนราชการจำเป็นต้องมีในแต่ละระดับ 1. ตามแนวทางที่กองการเจ้าหน้าที่กำหนดตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารกำลังคน ศูนย์สุขภาพจิต 2. ตามมาตรฐานกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต (PM ศูนย์สุขภาพจิตที่ 10) 1.1 รายงานสรุปสถานะทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Capital Report) ทุกศูนย์ อิงศูนย์ 10 1.2 รายงานผลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (HRD Index) การประเมินสมรรถนะบุคลากร 1.3 มาตรฐานกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต 2. บุคลากรใหม่ - มีวิธีการสรรหา ว่าจ้าง บรรจุ และรักษาบุคลากรใหม่ไว้ - มีวิธีการที่ทำให้มั่นใจได้ว่า บุคลากรเป็นตัวแทนที่สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทางมุมมอง วัฒนธรรม และความคิดของบุคลากรที่ส่วนราชการจ้างและของชุมชนของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. ตามแนวทางการดำเนินงานตัวชี้วัดคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) 2.1 รายงานสรุปสถานะทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Capital Report) 2.2 รายงานผลการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (HRD Index) 2.3 แบบบันทึกการฝึกอบรม/สอนงาน ณ สถานที่ปฏิบัติงาน (On-the-Job Training Plan) 2.4 แนวปฏิบัติการทำงานของท้องถิ่น (ตามบริบทพื้นที่) เฉพาะศูนย์12
24
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 5 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 3. การทำงานให้บรรลุผล - มีวิธีการจัดโครงสร้างและบริหารบุคลากรเพื่อให้ - งานของส่วนราชการบรรลุผลสำเร็จ - ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่จากสมรรถนะหลักของส่วนราชการ - ส่งเสริมสนับสนุนการมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการบรรลุพันธกิจ - มีผลการดำเนินการที่เหนือกว่าความคาดหมาย - ตามแนวทางที่กองการเจ้าหน้าที่กำหนดในการจัดทำข้อตกลงผลการปฏิบัติงานรายบุคคล (การถ่ายระดับตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ) - ตามแผนพัฒนาศักยภาพบุคลากรกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต (PM ศูนย์ สุขภาพจิตที่ 7) - ตามผังโครงสร้างอัตรากำลังบุคลากร (PM ศูนย์สุขภาพจิตที่ 10) 3.1 แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ กรมสุขภาพจิต ทุกศูนย์ 3.2 ผังโครงสร้างอัตรากำลังของหน่วยงาน 3.3 ผังโครงสร้างอัตรากำลังบุคลากร (PM ศูนย์สุขภาพจิตที่ 10) 3.4 คำสั่งมอบหมายงานของบุคลากร 3.5 แผนพัฒนาศักยภาพบุคลากรกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต (PM ศูนย์ สุขภาพจิตที่ 7) 4. การจัดการการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร - มีวิธีการเตรียมบุคลากรให้พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงความต้องการด้านขีดความสามารถและอัตรากำลังที่กำลังจะเกิดขึ้น ความต้องการเหล่านี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรในช่วงเวลาที่ผ่านมา - มีวิธีการบริหารอัตรากำลัง ความต้องการของบุคลากรและความจำเป็นของส่วนราชการ เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถดำเนินการตามภารกิจได้อย่างต่อเนื่อง - การพัฒนาบุคลากรให้พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง แผนการพัฒนาผลการปฏิบัติราชการรายบุคคล พัฒนาวิชาชีพเพื่อเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน คำสั่งมอบหมายงานของบุคลากร แผนพัฒนาศักยภาพบุคลากรกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต (PM ศูนย์ สุขภาพจิตที่ 7) และภาพรวม ศูนย์ 7
25
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 5 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ข. บรรยากาศการทำงานของบุคลากร 5. สภาพแวดล้อมการทำงาน - ดำเนินการดูแลปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทำงานในด้านสุขภาพและสวัสดิภาพ และความสะดวกในการเข้าถึงสถานที่ทำงานของบุคลากร รวมทั้งปรับปรุงให้ดีขึ้น - มีการกำหนดตัววัดและเป้าประสงค์สำหรับสภาพแวดล้อมของสถานที่ทำงานของบุคลากร และเป้าหมายในการปรับปรุงปัจจัยดังกล่าวแต่ละเรื่อง - ตามแนวทางการประเมินความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กรกรมสุขภาพจิต 5.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กร กรมสุขภาพจิต ทุกศูนย์ 5.2 แผนงาน/โครงการเพื่อเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร 5.3 แผนการบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น 5.4 ผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการเพื่อเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร 5.5ผลการบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น 6. นโยบายและสวัสดิการ - มีวิธีการกำหนดให้มีการบริการ สวัสดิการ และนโยบายเพื่อสนับสนุนบุคลากร และออกแบบสิ่งดังกล่าวให้เหมาะสมตามความต้องการที่หลากหลายของบุคลากรตามประเภทและส่วนงาน รวมทั้งมีการจัดสิทธิประโยชน์ที่สำคัญให้บุคลากร มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสวัสดิการฯ 5.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการสวัสดิการกรมสุขภาพจิต (คำสั่งกรม ของ สลก.) 5.2 แผนการจัดสวัสดิการสำหรับบุคลากรของหน่วยงาน 5.3 การสื่อสารให้บุคลากรในศูนย์ฯ ทราบ/หนังสือแจ้งเวียน
26
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 5 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 5.2 ความผูกพันของบุคลากร ก. ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร 7. องค์ประกอบของความผูกพัน - มีวิธีการกำหนดองค์ประกอบสำคัญที่ส่งผลต่อความผูกพัน โดยมีวิธีการที่แตกต่างกันตามประเภทและส่วนงานของบุคลากร - คณะทำงานเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กร กรมสุขภาพจิตร่วมกำหนดองค์ประกอบ วิธีการในการเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กรกรมสุขภาพจิต - การสื่อสารให้ผู้บริหารศูนย์ฯ และบุคลากรในหน่วยงาน 7.1 รายงานการประชุมคณะทำงานเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กรกรมสุขภาพจิตและหลักฐานการแจ้งเวียนให้บุคลากรทราบ ทุกศูนย์ 7.2 สรุปการประชุมของศูนย์สุขภาพจิตแต่ละศูนย์และแจ้งเวียนให้บุคลากรทราบ 8. วัฒนธรรมส่วนราชการ - มีวิธีการเสริมสร้างวัฒนธรรมให้เกิดการสื่อสารที่เปิดกว้าง การทำงานที่ให้ผลการดำเนินการที่ดี และความร่วมมือของบุคลากร - มีวิธีการสร้างวัฒนธรรมการทำงานที่ได้ใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางความคิด วัฒนธรรม และมุมมองของบุคลากร - เสริมสร้างวัฒนธรรมในเวทีสัมมนากลุ่มศูนย์สุขภาพจิต (การจัดการความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้) - สรุปผลการสัมมนากลุ่มศูนย์สุขภาพจิต ศูนย์ 4 (PM) 9. การประเมินผลการปฏิบัติงาน - ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร สนับสนุนให้มีการทำงานที่ให้ผลการดำเนินงานที่ดีและสร้างความร่วมมือของบุคลากร - ระบบการประเมินผลฯ พิจารณาถึงการบริหารค่าตอบแทน การให้รางวัล การยกย่องชมเชย และการสร้างแรงจูงใจ - ระบบการประเมินผลฯ ส่งเสริมให้เกิดการสร้างนวัตกรรมการมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และบรรลุผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการของส่วนราชการ 1. ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิต 2. ตามแนวทางการคัดเลือกข้าราชการพลเรือนดีเด่น 3. การส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากร/หน่วยงานมีผลงานเด่น 9.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 9.2 หนังสือเสนอรายชื่อบุคลากรเพื่อคัดเลือกเป็นข้าราชการพลเรือนดีเด่น ส่งกองการเจ้าหน้าที่ 9.3 สรุปผลการดำเนินงานดีเด่นของบุคลากร/หน่วยงาน กลุ่มศูนย์สุขภาพจิตประจำปี ศูนย์ PM 04
27
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 5 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ข. การประเมินความผูกพันของบุคลากร 10. การประเมินความผูกพัน - มีวิธีการและตัววัดที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการที่ใช้ในการประเมินความผูกพันและความพึงพอใจของบุคลากร โดยวิธีการและตัววัดมีความแตกต่างกันในแต่ละประเภทและส่วนงานของบุคลากร - ใช้ตัวชี้วัดอื่น ๆ เช่น การรักษาให้บุคลากรอยู่กับส่วนราชการ การขาดงาน การร้องทุกข์ ความปลอดภัยและผลิตภาพ เพื่อประเมินและปรับปรุงความผูกพันของบุคลากร - ตามแนวทางการประเมินความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กรกรมสุขภาพจิต 10.1 ผลการประเมินความผูกพันของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต ทุกศูนย์ 10.2 ผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร 11. ความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ของส่วนราชการ - มีวิธีการนำผลการประเมินความผูกพันของบุคลากรมาเชื่อมโยงกับผลลัพธ์สำคัญของส่วนราชการเพื่อระบุโอกาสในการปรับปรุงทั้งความผูกพันของบุคลากรและผลลัพธ์ของส่วนราชการ 1. ตามแนวทางการประเมินความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร 2. ตามแนวทางการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิต 3. การวิเคราะห์ระดับความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กรเทียบกับผลคะแนนตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิต 11.1 ผลการประเมินความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร 11.2 ผลคะแนนตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิต 11.3 แผนงาน/โครงการเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กรในปีต่อไป 11.4 ผลการวิเคราะห์ระดับความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กรเทียบกับผลคะแนนตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิต
28
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 5 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ค. การพัฒนาบุคลากรและผู้บริหาร 12. ระบบการเรียนรู้และพัฒนา - ระบบการเรียนรู้และพัฒนาสนับสนุนความต้องการของส่วนราชการและการพัฒนาตนเองของบุคลากร หัวหน้างาน และผู้บริหาร - ระบบการเรียนรู้และการพัฒนาส่วนราชการดำเนินการเรื่องต่อไปนี้ - พิจารณาถึงสมรรถนะหลักของส่วนราชการ ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ และการบรรลุผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการของส่วนราชการทั้งในระยะสั้นและระยะยาว - สนับสนุนการปรับปรุงผลการดำเนินการของส่วนราชการและการสร้างนวัตกรรม - สนับสนุนให้เกิดจริยธรรม และการดำเนินการอย่างมีจริยธรรม - ปรับปรุงการมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ทำให้มั่นใจว่ามีการถ่ายทอดความรู้จากบุคลากรที่กำลังจะลาออกหรือเกษียณอายุ - ทำให้มั่นใจว่ามีการผลักดันให้ใช้ความรู้และทักษะใหม่ในการปฏิบัติงาน 1. ตามแนวทางการดำเนินงานตัวชี้วัดคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) (ระบุอยู่ในข้อ 13) 12.1 แผนและผลการพัฒนาผลการปฏิบัติราชการรายบุคคล ในแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิต ทุกศูนย์ และ 07 13. ประสิทธิผลของการเรียนรู้และพัฒนา - มีวิธีการประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพของระบบการเรียนรู้และพัฒนา 13.1 แบบฟอร์มการติดตามประเมินผลการพัฒนาบุคลากรกรมสุขภาพจิต ตามแผน (ภายใน 1 เดือน และ 3 เดือนหลังได้รับการพัฒนา) ทุกศูนย์ 14. ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน - มีวิธีการจัดการความก้าวหน้าในหน้าที่การงานของบุคลากรทั่วทั้งส่วนราชการอย่างมีประสิทธิผล - มีวิธีการวางแผนสืบทอดตำแหน่งของหัวหน้างานและผู้บริหารอย่างมีประสิทธิผล 1. การส่งบุคลากรเข้ารับการพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมในการทดแทน/ สืบทอดตำแหน่งทางการบริหารและวิชาการ (Succession Plan) ตามแนวทางที่กองการเจ้าหน้าที่กำหนด 14.1 บุคลากรของศูนย์สุขภาพจิตที่เข้ารับการพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมในการทดแทน/สืบทอดตำแหน่งทางการบริหารและวิชาการ(Succession Plan) จากกองการเจ้าหน้าที่ ศูนย์ 3
29
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 6 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบการปฏิบัติการ 6.1 กระบวนการทำงาน ก. การออกแบบผลผลิต การบริการ และกระบวนการ 1. แนวคิดในการออกแบบ - มีวิธีการออกแบบผลผลิต การบริการ และกระบวนการทำงาน เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญทั้งหมด - มีการนำเทคโนโลยีใหม่ความรู้ความเป็นเลิศด้านผลผลิตด้านการบริการและความคล่องตัวมาพิจารณาพร้อมกระบวนการ (เทียบเคียง KPI 35) 1.สำรวจความต้องการ/ความ คาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.รวบรวมและวิเคราะห์ สถานการณ์สุขภาพจิตในพื้นที่ 3.วิเคราะห์นโยบายทิศทางการ ดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข และกรมสุขภาพจิต 4.นำผลการวิเคราะห์มาเป็นแนวทางในการออกแบบ 5.ทบทวนและตรวจสอบคุณภาพ โดยการประเมินความรู้ก่อน-หลัง 6.นำผลการประเมินนั้นมาพัฒนา ในปีถัดไป 2.1 สรุปความต้องการ/ความคาดหวังของผู้รับบริการ ทุกศูนย์ 2.2 สรุปความต้องการ/ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.3 แบบบันทึกการฝึกอบรม/สอนงาน ณ สถานที่ปฏิบัติงาน (On-the-Job Training Plan) 2. ข้อกำหนดของผลผลิต การบริการ และกระบวนการทำงาน - มีวิธีการกำหนดข้อกำหนดที่สำคัญของผลผลิตและการบริการ - มีวิธีการกำหนดข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการทำงาน - มีการกำหนดกระบวนการทำงานที่สำคัญของส่วนราชการ รวมระบุข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ 1. กระบวนการเรียนรู้รับฟังความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.1 ผลการวิเคราะห์ความต้องการของผู้รับบริการ 2.2 ผลการวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
30
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 6 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ข. การจัดการกระบวนการ 3. การนำกระบวนการไปปฏิบัติ - ส่วนราชการมั่นใจได้ว่า การปฏิบัติงานประจำวันของกระบวนการจะเป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญ - มีตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ และตัววัดกระบวนการที่ส่วนราชการใช้ในการควบคุมและปรับปรุงกระบวนการทำงาน - ตัววัดเหล่านี้เชื่อมโยงกับผลการดำเนินการและคุณภาพของผลผลิตและการบริการที่ส่งมอบ 1. จัดทำคู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน (ตชว.35) 2. ส่งมอบให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. กำหนดเป็นตัวชี้วัดในแผนยุทธศาสตร์กลุ่มศูนย์ฯ 4. ติดตามการดำเนินงานโดยPM 5. จัดทำผังแสดงความเชื่อมโยงตัววัดเหล่านี้เชื่อมโยงกับผลการดำเนินการและคุณภาพของผลผลิตและการบริการที่ส่งมอบ เอกสารคู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงานกระบวนงานวิจัยและการถ่ายทอด ทุกศูนย์ 4. กระบวนการสนับสนุน - มีวิธีการกำหนดกระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ - มั่นใจได้ว่าการปฏิบัติงานประจำวันของกระบวนการจะเป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญในการสนับสนุนการปฏิบัติการของส่วนราชการ P1 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล 1.แนวทางการดำเนินงานของกระบวนการสนับสนุน - วิเคราะห์GAPบุคลากร - วางแผนพัฒนา - ส่งไปพัฒนาศักยภาพ - ประเมินผลการพัฒนาบุคลากร 1เดือน/3 เดือน 2.การสนับสนุนงบประมาณ -วิเคราะห์งบประมาณ -ทำแผนงบประมาณ ให้สอดคล้องกับกระบวนการ 3P -เบิกจ่ายงบประมาณตามระเบียบราชการ -ประเมินความสอดคล้องการเบิกจ่าย อ้างอิงจากหมวด 5
31
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 6 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 5. การปรับปรุงผลผลิต การบริการ และกระบวนการ - มีวิธีการปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อปรับปรุงผลผลิต การบริการ และผลการดำเนินการ และลดความผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสียของกระบวนการ 1. ทบทวน ทวนสอบโครงการก่อนดำเนินการ 2. AAR หลังดำเนินโครงการ 3. จัดทำสรุปผลการดำเนินโครงการ และข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงผลผลิต การบริการ และผลการดำเนินการ และลดความผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสียของกระบวนการ 5.1 หลักฐานการทบทวน ทวนสอบ ทุกศูนย์ 5.2 สรุปผล AAR 5.3 สรุปผลการดำเนินโครงการและข้อเสนอแนะ
32
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 6 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 6.2 ประสิทธิผลการปฏิบัติการ ก. การควบคุมต้นทุน 6. การควบคุมต้นทุน - มีวิธีการควบคุมต้นทุนโดยรวมของการปฏิบัติการ โดยนำเรื่องของรอบเวลา ผลิตภาพ และปัจจัยด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลอื่นๆ มาพิจารณาในการควบคุมต้นทุนกระบวนการทำงานต่างๆ - มีวิธีการป้องกันไม่ให้เกิดของเสีย ความผิดพลาดของการให้บริการ และการทำงานซ้ำ รวมทั้งการลดต้นทุน การประกันความเสียหาย หรือการสูญเสียผลิตภาพของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้น้อยที่สุด - มีวิธีการลดต้นทุนโดยรวมที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ การทดสอบ และการตรวจประเมินกระบวนการหรือผลการดำเนินการ - มีวิธีการสร้างความสมดุลระหว่างความจำเป็นในการควบคุมต้นทุนกับความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทบทวน ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการเบิกจ่ายตามแผนการใช้เงินงบประมาณประจำปี นำสรุป Unit cost มา วิเคราะห์วางแผน การลดต้นทุนของแต่ละศูนย์ -มี PM -มีการบูรณาการกับหน่วยงานในกรม -มีการบูรณาการกับศูนย์วิชาการอื่น -มีแผนการบูรณาการ 6.1 บันทึกการรายงานผลการเบิกจ่ายตามแผนการใช้เงินงบประมาณประจำปี 6.2 สรุปผลการวิเคราะห์การควบคุมต้นทุน (Unit cost) แนวทางการควบคุมต้นทุนของแต่ละศูนย์ฯ เช่น มาตราการประหยัดพลังงาน การเดินทางไปราชการ ตชว.สรก.ประหยัดพลังงาน 6.3 รายงานผลการตรวจสอบภายใน ทุกศูนย์ 6.4 แผนงานโครงการที่ดำเนินการร่วมกับในหรือนอกกรม 6.5 ผลการดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการ / NCDคุณภาพ/YFHS/ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ (P3 สรุปผลการนิเทศติตามกิจกรรมที่ทำร่วมกับหน่วยงานในกรม/นอกกรม)
33
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 6 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ข. การจัดห่วงโซ่อุปทาน 7. การจัดห่วงโซ่อุปทาน - มีวิธีการจัดห่วงโซ่อุปทาน - มีวิธีการเลือกผู้ส่งมอบและทำให้มั่นใจว่าผู้ส่งมอบที่ส่วนราชการเลือกมีคุณสมบัติและพร้อมที่จะช่วยยกระดับผลการดำเนินการของส่วนราชการและความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - วัดและประเมินผลการดำเนินการของผู้ส่งมอบ - ให้ข้อมูลป้อนกลับแก่ผู้ส่งมอบเพื่อช่วยให้เกิดการปรับปรุง - มีวิธีการดำเนินการกับผู้ส่งมอบที่มีผลการดำเนินการที่ไม่ดี จัดตั้งกระบวนการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ระบุองค์ประกอบของห่วงโซ่อุปทาน กำหนดความสัมพันธ์และดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายของกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต -วิเคราะห์ supplier ที่เกี่ยวข้อง -นำเข้ากระบวนการที่กำหนด -วัดผลกระบวนการ -นำผลมาปรับปรุง ในกรณีผู้ส่งมอบดำเนินการงานที่ไม่ดี มีการจัดทำบันทึกรายงานผลการตรวจรับ 7.1 ข้อมูลผู้ซื้อผู้ขาย 7.2 ทะเบียนคุมพัสดุ ตามระเบียบพัสดุ 7.3 ใบเบิกพัสดุ 7.4 รายงานการตรวจรับ-ซื้อจ้าง ทุกศูนย์ การเตรียมพร้อมด้านความปลอดภัยและต่อภาวะฉุกเฉิน 8. ความปลอดภัย - มีวิธีการที่ทำให้สภาพแวดล้อมการปฏิบัติการมีความปลอดภัย - ระบบความปลอดภัยของส่วนราชการ คำนึงถึงการป้องกันอุบัติเหตุ การตรวจสอบ การวิเคราะห์ต้นเหตุของความล้มเหลว และการทำให้คืนสู่สภาพเดิม 1. กำหนดและจัดทำแนวทางการควบคุมสภาพแวดล้อมการปฏิบัติการอย่างปลอดภัย 2. จัดตั้งระบบความปลอดภัย ทบทวน ทวนสอบ ตรวจสอบความถูกต้อง และนำไปใช้ โดยมีการทบทวนความเหมาะสมและความครอบคลุมของระบบทุกปี 3. สำรวจความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากทั้ง3P 4. ทำแผนบริหารความเสี่ยง 5. ดำเนินการตามแผนที่กำหนด 6. สรุปผล 8.1 แผนบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน 8.2แผนบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
34
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 6 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 9. การเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน - มีวิธีการดำเนินการเพื่อให้มั่นใจว่ามีการเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน โดยระบบการเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉินดังกล่าว ได้คำนึงถึงการป้องกัน ความต่อเนื่องของการปฏิบัติการ และการทำให้คืนสู่สภาพเดิม จัดตั้งกระบวนการเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน จัดให้มีแผนเตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน และจัดให้มีการซ้อมการปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินเป็นระยะทุกปี -สำรวจความเสี่ยง -ทำแผนบริหารความเสี่ยง -ดำเนินการตามแผนที่กำหนด -สรุปผล 9.1 แผนบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน ทุกศูนย์
35
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 6 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง ง. การจัดการนวัตกรรม 10. การจัดการนวัตกรรม - มีวิธีการจัดการนวัตกรรม ใช้กระบวนการKM วิจัยนวัตกรรม ระดมสมอง ทบทวนองค์ความรู้/แผน/ผลิต/เผยแพร่ - มีวิธีการพิจารณาโอกาสในการสร้างนวัตกรรมในการวางแผนยุทธศาสตร์ การทำ SWOT - มีวิธีการทำให้ทรัพยากรด้านการเงินและด้านอื่นๆ พร้อมใช้ในการดำเนินการสนับสนุนโอกาสในการสร้างนวัตกรรม แสวงหาแหล่งงบประมาณอื่น แผนการจัดหางบประมาณ - มีวิธีการติดตามผลของโครงการ และพิจารณาปรับในเวลาที่เหมาะสม เพื่อลดความเสียหายและนำทรัพยากรไปสนับสนุนโครงการอื่นที่มีลำดับความสำคัญเหนือกว่า 1. จัดตั้งกระบวนการจัดการนวัตกรรมโดยประยุกต์ใช้วิธีการจัดการนวัตกรรมตามมาตรฐาน BS 7000:2008 Part 1 Guide to managing innovation มี 4 กรอบ สำรวจศักยภาพ/กำหนดบริบทการดำเนินงาน/การร่างโครงการ/ระบุจุดเด่นนวัตกรรม 2. วิเคราะห์ปัญหา นำมาปรับปรุงพัฒนา KM จัดตั้งคณะกรรมการนวัตกรรมประกอบด้วยผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิต 3. ทบทวนการดำเนินการด้านนวัตกรรมเพื่อระบุแนวโน้มสำหรับการปรับปรุง สร้างวิสัยทัศน์ด้านนวัตกรรม กำหนดพันธกิจด้านนวัตกรรม กำหนดวัตถุประสงค์และยุทธศาสตร์ด้านนวัตกรรมจากวัตถุประสงค์และยุทธศาสตร์ขององค์การ 4. ประชุมระดมสมองและทบทวนทรัพยากรด้านการเงินและด้านอื่นๆ โดยคณะกรรมการนวัตกรรม - ประชุมทบทวนโครงการนวัตกรรมเป็นระยะ 1.เอกสารคู่มือกระบวนงานวิจัย จากตัวชี้วัดที่35กระบวนงานที่ 1.แบบสรุปการนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ 06 และ 02 ทุกศูนย์
36
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 7 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.1 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลและการบรรลุพันธกิจ 1.ด้านประสิทธิผล 2.ด้านคุณภาพการให้บริการ 3.ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 4.ด้านการพัฒนาองค์การ ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการและผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกลุ่มศูนย์สุขภาพจิตของแต่ละศูนย์สุขภาพจิต ดังนี้ - ด้านประสิทธิผล - ด้านคุณภาพการให้บริการ - ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ - ด้านการพัฒนาองค์การ (ทุกศูนย์) ทุกศูนย์
37
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 7 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 1.ตัวชี้วัดด้านผลผลิตและการบริการตามพันธกิจหลัก 1. ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอที่มีการ บูรณาการการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชนที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ** 2. ระดับความสำเร็จในการติดตามพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยงใน รพท.และรพช.** 3. ระดับความสำเร็จของการพัฒนารพช.ให้มีระบบเฝ้าระวังIQ/EQ ในเด็กวัยเรียนร่วมกับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ** 4. ระดับความสำเร็จในการพัฒนาโรงพยาบาลชุมชนให้มีบริการดูแลด้านสังคมจิตใจที่มีคุณภาพและเชื่อมโยงกับระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย** 5. ระดับความสำเร็จในการผลักดันให้รพ.สต.ในเขตรับผิดชอบมีการจัดบริการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตแก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ** 6. ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ประสบภาวะวิกฤตกลุ่มเสี่ยงให้เข้าถึงบริการสุขภาพจิต** 7. ระดับความสำเร็จในการผลักดันให้โรงเรียนมีการสอนเรื่องเพศศึกษา/พฤติกรรมเสี่ยงในโรงเรียนตามเกณฑ์** 8. ระดับความสำเร็จในการพัฒนาสถานประกอบการที่ผ่านการประเมินระดับจังหวัดได้มีการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต** ผลการดำเนินงานตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตของปีที่ผ่านมา ทุกศูนย์
38
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 7 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 2. ตัวชี้วัดด้านการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ 1. ร้อยละของผลการดำเนินกิจกรรมเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดในแผนปฏิบัติการของหน่วยงาน** ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตย้อนหลัง 3 ปี (ทุกศูนย์) (เฉพาะ ข้อมูลปีเดียว ปี2558) ทุกศูนย์ 7.2 ผลลัพธ์ด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. ตัวชี้วัดด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตปีงบประมาณ 2556 – (01 ประสานขอข้อมูล กพร. ) 2. ตัวชี้วัดด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.ระดับความสำเร็จของการปรับปรุงกระบวนการเพื่อตอบสนองความพึงพอใจของผู้รับบริการ 2. ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement)** ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตปีงบประมาณ 2556 – 2558 (01 ประสานขอข้อมูล กพร. ) 7.3 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 1. ตัวชี้วัดด้านขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร 1. คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard)** (03 ประสานขอข้อมูล กอง จ. ส่งให้ 01) 2. ตัวชี้วัดด้านบรรยากาศการทำงาน 3. ตัวชี้วัดด้านการทำให้บุคลากรมีความผูกพัน 4. ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาบุคลากรและการพัฒนาผู้นำของส่วนราชการ
39
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 7 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 7.4 ผลลัพธ์ด้านการนำองค์การและการกำกับดูแล 1. ตัวชี้วัดด้านการนำองค์การ 1. คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard)** ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตปีงบประมาณ (03 ประสานขอข้อมูล กอง จ. ส่งให้ 01) ทุกศูนย์ 2. ตัวชี้วัดด้านการกำกับดูแลองค์การ 3. ตัวชี้วัดด้านกฎหมายและกฎระเบียบข้อบังคับ 4. ตัวชี้วัดด้านการประพฤติปฏิบัติตามหลักนิติธรรม ความโปร่งใส และจริยธรรม 5. ตัวชี้วัดด้านสังคมและชุมชน 1.ร้อยละของความพึงพอใจของเครือข่ายต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในระบบสุขภาพอำเภอ ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตปีงบประมาณ 2558 (01 ขอข้อมูล จาก สพส.) 7.5 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน และการเติบโต 1. ตัวชี้วัดด้านผลการดำเนินการด้านงบประมาณและการเงิน 1.ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณ** ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตปีงบประมาณ 2556 – 2558 (01 ขอข้อมูลจากกองคลัง) 2. ตัวชี้วัดด้านการเติบโต 1.ระดับความสำเร็จในการพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านสุขภาพจิตที่มีมาตรฐาน(ประสิทธิภาพ) (06) 2.ระดับความสำเร็จในการจัดทำมาตรฐานงานส่งเสริมป้องกัน(ประสิทธิภาพ) (02) 3.ระดับความสำเร็จการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต (04) ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกลุ่มศูนย์สุขภาพจิตของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตปีงบประมาณ 2558 (01 รวบรวมจาก 06/02และ04)
40
ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ
หมวด 7 เกณฑ์ PMQA แนวทางการดำเนินงาน ในกลุ่มศูนย์สุขภาพจิต เอกสาร/หลักฐานสำหรับการประเมิน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ส่ง แรก หลัง 7.6 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน 1. ตัวชี้วัดด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกระบวนการ 1.ตัวชี้วัดด้านประสิทธิผลทุกตัวชี้วัด (ทุกศูนย์ส่ง 01) 2.ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ** (พัฒนาองค์การ) ( 04 รวบรวมส่ง 01) ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตปีงบประมาณ ทุกศูนย์ 2. ตัวชี้วัดด้านการเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน 1.ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบุคลากรให้สามารถมีสมรรถนะในการซ้อมแผนร่วมกับเขต อุบัติเหตุ อุบัติภัย บริการผู้ประสบภาวะวิกฤตกลุ่มเสี่ยงให้เข้าถึงบริการสุขภาพจิต** (ประสิทธิผล) เฉพาะ มีแผน (ตชว 34 บริหารความเสี่ยง IT) (04 รวบรวมส่ง 01) ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตปีงบประมาณ 3. ตัวชี้วัดด้านการจัดการห่วงโซ่อุปทาน 1.ร้อยละของเครือข่ายสุขภาพอำเภอที่มีการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน 01 รวบรวมจาก สพส. 2.ร้อยละของความพึงพอใจของเครือข่ายที่มีต่อฐานข้อมูลด้านสุขภาพจิต( 04 รวบรวมส่ง 01 ) 3.ร้อยละของการนำมาตาฐานงานส่งเสริมป้องกันด้านสุขภาพจิตไปใช้ประโยชน์ ( 02 รวบรวมส่ง 01 ) ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกลุ่มศูนย์สุขภาพจิตของแต่ละศูนย์สุขภาพจิตปีงบประมาณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.