ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยHarjanti Chandra ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
บทที่ 4 ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ย THEORY OF THE INTEREST
CLASSICAL THEORY OR THE SAVING INVESTMENT THEORY LOANABLE FUND THEORY LIQUIDITY PREFERENCE THEORY Irving Fisher 10/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
2
CLASSICAL THEORY OR THE SAVING INVESTMENT THEORY
อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพถูกกำหนดโดยอุปทานของเงินทุน มีความสัมพันธ์กับอัตราดอกเบี้ยโดยตรง เมื่ออัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น อุปทานของเงินออมจะมากขึ้น และถ้าอัตราดอกเบี้ยลดลง อุปทานของเงินทุนก็จะลดลง 10/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
3
Loanable fund theory นำตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความเป็นจริงของระบบเศรษฐกิจมาประกอบการวิเคราะห์มากขึ้น อัตราดอกเบี้ยโดยแท้จริงแล้วไม่ได้จ่ายเพื่อการออม แต่เป็นการจ่ายสำหรับการให้กู้ อัตราดอกเบี้ยจึงถูกกำหนดโดยอุปทานของเงินให้กู้ (supply of loanable fund) กับอุปสงค์ของเงินขอกู้ (demand for loanable fund) 10/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
4
อุปทานของเงินให้กู้มีแหล่งที่มาสองแหล่งด้วยกัน ได้แก่เงินออม (saving : S) และการเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน (money supply : ∆M) อุปสงค์ของเงินขอกู้นั้น ที่สำคัญอันได้แก่ การลงทุน (invest : I) และการถือเงินไว้ในมือ (hoarding : H) ทฤษฎีปริมาณเงินให้กู้ดังที่กล่าวข้างต้นยังมิใช่ทฤษฎีการอธิบายระบบเศรษฐกิจรวม แต่เป็นทฤษฎีที่อธิบายเฉพาะส่วนของการตลาดสินเชื่อเท่านั้น 10/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
5
Liquidity preference theory John Maynard Keynes
อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพในตลาดนั้นถูกกำหนดขึ้นจากเส้นอุปสงค์ที่ต้องการถือเงิน (demand for money) ตัดกับเส้นอุปทานของเงิน (supply of money) ความต้องการถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอย (transaction demand) ความต้องการถือเงินไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน (precautionary demand) ความต้องการถือเงินไว้เพื่อเก็งกำไร (speculative demand) 10/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
6
Milton Friedman “ลัทธิการเงินนิยม” (Monetarism) เงินมิได้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนและรักษามูลค่าเท่านั้น แต่ยังเป็นที่พักชั่วคราวของอำนาจซื้อด้วย อุปสงค์ของเงิน (Demand for money : Md) ขึ้นอยู่กับระดับราคาสินค้า ดอกเบี้ยเงินฝากประจำ ดอกเบี้ยพันธบัตร ผลตอบแทนการลงทุนในหลักทรัพย์ อัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าคงทน อัตราส่วนระหว่างทรัพยากรมนุษย์ต่อความมั่งคั่งรวม รายได้ และความพึงพอใจ 10/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
7
ผลตอบแทนและมูลค่าของหลักทรัพย์ในตลาด อายุการไถ่ถอน สภาพคล่อง
ความปลอดภัย การคิดมูลค่าปัจจุบันด้วยการทอนด้วยอัตราดอกเบี้ยในตลาด Pn = P0 (1 + i)n ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยกับราคาหลักทรัพย์จะผกผันกัน 10/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
8
ทุกคนรู้ว่าอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตเป็นอย่างไร
ทฤษฎีดั้งเดิมหรือทฤษฎีแห่งการคาดคะเนของโครงสร้างอัตราดอกเบี้ยที่เกี่ยวกับระยะเวลาแห่งการไถ่ถอน (The traditional or expectation theory) F.A. Lutz ทุกคนรู้ว่าอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในอนาคตเป็นอย่างไร ไม่มีค่าใช้จ่ายของการลงทุนทั้งจากผู้ให้กู้และผู้ขอกู้ มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์อย่างสมบูรณ์ทั้งผู้ให้กู้หรือผู้ขอกู้ 10/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
9
ทฤษฎีสภาพคล่องหรือค่าชดเชยแห่งความเสี่ยง (Liquidity or risk premium theory) ของโครงสร้างของอัตราดอกเบี้ยที่เกี่ยวกับระยะเวลาแห่งการไถ่ถอน John R. Hicks หลักทรัพย์ที่มีระยะเวลาแห่งการไถ่ถอนยิ่งยาวนานเท่าใด ความเสี่ยงของเงินทุนของผู้ลงทุนก็ยิ่งจะมีมากขึ้นเท่านั้น ทฤษฎีการแบ่งส่วนตลาด (Market segmentation theory) ธนาคารพาณิชย์ ตามปกติมีความพอใจในการลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีระยะสั้นหรือระยะปานกลาง บริษัทประกันชีวิต จะมีความพอใจลงทุนในหลักทรัพย์ระยะยาวมากกว่า 10/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
10
อะไรคือบทบาทของอัตราดอกเบี้ยกับการจัดสรรทรัพยากรของสังคมไทยบ้าง
อะไรคือบทบาทของอัตราดอกเบี้ยกับการจัดสรรทรัพยากรของสังคมไทยบ้าง ? อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ทุกธนาคาร 10/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
11
INDIVIDUAL ASSIGNMENT
SEARCH DATA , PICTURE & LOGO ABOUT COMMERCIAL BANK IN THAILAND IN POWER POINT PATTERN NEXT MONDAY MORNING ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี 10/11/61
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.