งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน: แนวทางการนำมาใช้ในประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน: แนวทางการนำมาใช้ในประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน: แนวทางการนำมาใช้ในประเทศไทย
ความคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน: แนวทางการนำมาใช้ในประเทศไทย ถาวร สกุลพาณิชย์ 23 กุมภาพันธ์ 2555

2 ที่มา ความคุ้มครองทางสังคมเป็นสิทธิของประชาชน
มาตรา 22 ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน 1949 ILO convention 102 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย วิกฤตเศรษฐกิจ 2552 ทำให้สหประชาชาติมีมติให้ ผลักดันให้ทุกประเทศทำเรืองความคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน

3 ข้อเด่นของ แนวคิดความคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน
ชัดเจน ระบบบริการสุขภาพ บุคคล (residents) สามารถเข้าถึง ระบบบริการสุขภาพที่จำเป็นตามที่ประเทศกำหนด ระบบความมั่นคงทางรายได้ ทุกกลุ่มอายุ (เด็ก วัยแรงงาน และ ผู้สูงอายุ) ต้องได้ ความมั่นคงในระดับ เส้นความยากจนของประเทศ

4 ระดับการคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐานของประเทศไทย (Social Protection Floor)
พอใช้ ต้องปรับปรุง แย่

5 เส้นความยากจน วัดความยากจนได้อย่างไร
ความยากจนสัมบูรณ์ (Absolute Poverty Line) ความยากจนเปรียบเทียบ (Relative Poverty Line)

6 ความยากจนสัมบูรณ์ (Absolute Poverty Line)
พิจารณาความจำเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต รายจ่ายด้านอาหาร จำนวนเงินที่ครัวเรือนต้องใช้ในการซื้อหาอาหารที่จำเป็นสำหรับสมาชิกในครัวเรือน คำนวณความต้องการอาหาร (แคลอรี) โดยดูความต้องการของสมาชิกในครัวเรือน ตามมาตรฐานภาวะโภชนาการ คำนวณปริมาณแคลอรีที่สามารถซื้อได้ด้วยเงินหนึ่งบาท โดยใช้แบบแผนการบริโภคเฉลี่ยของคนไทย แปลงความต้องการแคลอรีเป็นตัวเงิน รายจ่ายอื่นที่จำเป็นขั้นพื้นฐานสำหรับการบริโภคที่ไม่ใช่อาหาร กำหนดให้ “ปริมาณการบริโภคสินค้าอื่น” เป็นร้อยละ 40 “ปริมาณการบริโภคอาหาร” เป็นร้อยละ 60 (คงที่?) เส้นความยากจนในปีต่อไป ใช้วิธีปรับดัชนีราคารายพื้นที่ และความต้องการสารอาหารระดับครัวเรือน

7 ความยากจนสัมบูรณ์ (Absolute Poverty Line)
ปรับรายได้ครอบครัวเป็นรายได้บุคคล ตัวอย่าง เช่น OECD equivalence scale: ผู้ใหญ่คนแรก => 1 ผู้ใหญ่คนที่สอง (> 14 ปี) => 0.5 เด็ก (< 14ปี) => 0.3 วิธีคำนวณ ครัวเรือน ที่มีผู้ใหญ่ 2 คน และเด็ก 2 คน จะมีคะแนน 2.1 ( *0.3) รายได้ครัวเรือน $1000 รายได้รายบุคคล = $ 476 (1000/2.1)

8 ความยากจนเปรียบเทียบ (Relative Poverty Line)
มองว่าความยากจน คือ การถูกกีดกันทางสังคม (Social Exclusion) โดยดูจากการกระจายรายได้ของคนในสังคม พิจารณาเปรียบเทียบรายรับ หรือ ค่าใช้จ่ายของประชาชนว่าต่างจากค่ากลาง เช่นในยุโรป ใช้ค่าความยากจนที่ 60% ของมัฐยฐาน รายได้หลังเสียภาษีและการถ่ายโอน เช่น เงินสมทบประกันสังคม (60% of Median after tax and transfer)

9 “ความยากจน” ในบริบทนโยบายสังคม
อดหยาก (Lack of Basic Needs) เหลื่อมล้ำ (Social Exclusion) VS Source: EuroStat (2008) 1. คนจนในสหภาพยุโรป มีประมาณ 10 – 23% ของประชากร (Relative Poverty line) 2. คนจนใน ประเทศไทยมีประมาณ 21% ของประชากร ( Relative Poverty line ) คำนวณจาก SES 2008

10 ระบบความคุ้มครองทางสังคม
การถ่ายโอนเป็นเงินหรือบริการในสังคม ลูกหลานกตัญญู การถ่ายโอนแบบไม่เป็นทางการ (Informal transfer) กฎหมาย การถ่ายโอนแบบเป็นทางการ (Formal transfer) พันธะทางสังคม จริยธรรม ที่มา ดัดแปลงจาก Cichon (2004) อ้างถึงองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ

11 น้ำท่วมครั้งนี้ บอกอะไรเรา
Source: Unknown

12 น้ำท่วมครั้งนี้ บอกอะไรเรา
ระบบการคุ้มครองทางสังคมแบบเป็นทางการ เช่น หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีบทบาทสำคัญในการจัดการความเสี่ยงที่รุนแรง หรือยาวนาน Picture source: Dr. Ittaporn Kanacharoen

13 น้ำท่วมครั้งนี้ บอกอะไรเรา
ระบบการคุ้มครองทางสังคมแบบไม่เป็นทางการ ไม่เพียงพอในการจัดการความเสี่ยงที่รุนแรง หรือยาวนาน Source: www2.ipsr.mahidol.ac.th

14 น้ำท่วมครั้งนี้ บอกอะไรเรา
ไม่เพียงพอในการจัดการความเสี่ยงที่รุนแรง หรือยาวนาน พึ่งตนเอง ไม่เป็นทางการ เครือข่ายสังคม ครอบครัว มีบทบาทสำคัญในการจัดการความเสี่ยงที่รุนแรง หรือยาวนาน เป็นทางการ สถาบันเอกชน สถาบันรัฐ Source: Neubourg (2002) in ISSA (2002).Social Security in the global village

15 ประกันว่ารายได้สูงกว่าเส้นความยากจน
งานวิจัยคาดการณ์การคลังประเทศไทยในอนาคตของผู้เชี่ยวชาญไทย(TDRI)และผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศยืนยันว่า ประเทศไทยมีเงินพอที่จะจัดทำระบบการคุ้มครองทางสังคมให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางสังคมที่เป็นรูปธรรม เช่น ประกันว่ารายได้สูงกว่าเส้นความยากจน รัฐบาลมีเงินไม่พอจัดทำระบบการคุ้มครองทางสังคมภายใต้ระบบการจัดเก็บรายได้ของรัฐในปัจจุบัน คนไทยทุกคนไม่สามารถสะสมเงินเพียงพอสำหรับ เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิต

16 การคุ้มครองทางสังคม: ภาระ หรือ การลงทุนระยะยาว?

17 ในวิกฤต มักมีโอกาส วิกฤตต้มยำกุ้ง -> หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ -> เบี้ยยังชีพ “ถ้วนหน้า” มหาอุทกภัย พ.ศ > ความมั่นคงทางสังคมขั้นพื้นฐานอยุ่ในแผน 11 อย่างเป็นรูปธรรม บำนาญชราภาพ “ถ้วนหน้า” การช่วยเหลือบุตร “ถ้วนหน้า” บูรณาการเรื่องตกงาน พัฒนาผลิตภาพ และจ้างงาน ปฎิรูประบบภาษี

18 ฝันให้ไกล ไปให้ถึง ขอบคุณครับ Thank You
Source: BangkokPost 13 Nov 2011


ดาวน์โหลด ppt ความคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน: แนวทางการนำมาใช้ในประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google