งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อประกอบการประชาพิจารณ์การทบทวนเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ วันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 09.30.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อประกอบการประชาพิจารณ์การทบทวนเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ วันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 09.30."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อประกอบการประชาพิจารณ์การทบทวนเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ วันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา – น. ห้องประชุม 404 อาคาร 4 ชั้น 4 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

2 องค์กรสามเหลี่ยม “ เราไม่สามารถทำให้ทุกคนเข้าดำรงตำแหน่งผู้บริหารได้ แต่เราสามารถทำให้คนที่ดีและเก่ง เข้าดำรงตำแหน่งผู้บริหารได้ ”

3 ความท้าทายที่เราเผชิญอยู่
 เศรษฐกิจที่มีเงินเป็นปัจจัยสำคัญสูงสุด  ความอยากของแต่ละบุคคล  ความปรารถนาในตัวแต่ละบุคคล  สภาวะการแข่งขันจากภายนอกองค์กร (ปัจจัยภายนอก)  สภาวะการแข่งขันภายในองค์กร (การเมืองภายในองค์กร)  การทดแทนด้านอัตรากำลัง (ผู้บริหาร) ในอนาคต  ขาดแคลนคนที่เก่งและดี  ระบบอาวุโส = ประสบการณ์

4 คนเก่งและดี คุณธรรมแน่วแน่ ความเป็นผู้นำที่ดี การตัดสินใจเชิงจริยธรรม
ความรู้ดี รู้จริง รู้ลึกในงาน ทักษะดี คล่องแคล่ว ผิดพลาดน้อยในงาน ทักษะการบริหารจัดการดีในทุกด้าน พฤติกรรมที่แสดงออกตรงกับสมรรถนะ ที่องค์กรระบุไว้ สมองปราดเปรียว การพิจารณาตัดสินใจดี กล้าคิด กล้าทำในเรื่องใหม่ แก้ปัญหาได้ตรงกับสาเหตุ และลงมือแก้ปัญหา ได้เสมอ ไม่หลีกเลี่ยงปัญหา คุณธรรมแน่วแน่ ความเป็นผู้นำที่ดี การตัดสินใจเชิงจริยธรรม กระทำตนเป็นตัวอย่างที่ดี ในเชิงศีลธรรมเสมอ

5 เส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path)
ความหมาย แนวทางความก้าวหน้าไปสู่ตำแหน่งประเภทอำนวยการหรือบริหาร โดยแสดงเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน ผ่านการเลื่อนตำแหน่งจากระดับล่างไปสู่ตำแหน่งระดับบน หรือในระนาบเดียวกัน

6 วัตถุประสงค์ เพื่อ... จัดเตรียมและพัฒนาคนเก่งและดี
ให้พร้อมเข้ารับตำแหน่งผู้อำนวยการ ระดับสูง เตรียมและพัฒนาให้ถูกคน (3 – 5 คน ต่อ 1 ตำแหน่ง) เตรียมและพัฒนาให้ “เก่ง” ด้วยการสั่งสมประสบการณ์และผลงานที่เข้มข้น เตรียมและพัฒนาให้ “ดี” ด้วยกิจกรรมพัฒนาคุณธรรม

7 กลยุทธ์หลัก การจัดเตรียมและพัฒนาคนดีและเก่งเข้าดำรงตำแหน่งเป้าหมาย
กลยุทธ์หลัก การจัดเตรียมและพัฒนาคนดีและเก่งเข้าดำรงตำแหน่งเป้าหมาย เส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงาน (Career Path) ผู้สอนแนะ (Career Coaching) แผนพัฒนาตนเอง (Career Development Plan)

8 กลยุทธ์หลัก เส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงาน (Career Path) ให้การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ เรียนรู้บนหน้างานจริง สั่งสมทั้งประสบการณ์ และผลงาน ให้เป็นที่ปรากฏ สร้างความเก่งและยืนยันความดี อีกทั้งช่วยสร้างการยอมรับในตัวบุคคลได้เป็นอย่างดี

9 กลยุทธ์หลัก ผู้สอนแนะ (Career Coaching) ให้การเรียนรู้ ด้วยการถ่ายทอดจากผู้มีประสบการณ์มาก่อนหรือผู้ที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับมาก่อน สร้างความเก่งและถ่ายทอดค่านิยมความดี อีกทั้งช่วยประคับประคองให้พัฒนาไปได้ตลอดรอดฝั่ง

10 กลยุทธ์หลัก แผนพัฒนาตนเอง (Career Development Plan) ให้การเรียนรู้ด้วยตนเอง (self-directed learning) ด้วยการเขียนแสดงพันธะออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรทุกปี ว่าจะพัฒนาตนเองในด้านใดบ้างและจะพัฒนาด้วยกิจกรรมใดบ้าง สร้างความเก่งและพยุงให้อยู่ใกล้ชิดความดี ต้องอาศัยลักษณะความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ของตัวบุคคลนั้นเอง ผู้สอนแนะ จะเข้ามาช่วยในระหว่างการเขียน แผน โดยใช้ข้อมูลที่ระบุไว้ใน job profile มาช่วยประเมินตนเองของตัวบุคคลผู้มีศักยภาพด้วย

11 ความแตกต่าง การคัดเลือกเพื่อจัดเตรียม และพัฒนา
การคัดเลือกเพื่อจัดเตรียม และพัฒนา เปรียบเสมือนการแข่งขันนัดอุ่นเครื่อง หรือการแข่งขันในรอบแรกๆ จนถึงรอบ semi-final เป็นการเตรียมตัวบุคคลไว้เพื่ออนาคต อย่างน้อย 2-3 ปี (ในองค์กรที่มีระบบอาวุโสสูง) หรืออย่างน้อย 3-5 ปี (ในองค์กรที่ระบบอาวุโสไม่เข้มข้นนัก) เป็นการจัดเตรียมและพัฒนาตัวบุคคลด้วยเส้นทางสั่งสมประสบการณ์ฯ เมื่อถึงเวลาที่ต้องการ จึงทำการคัดเลือกขั้นสุดท้าย คัดเลือกเพื่อเข้าดำรงตำแหน่ง เปรียบเสมือนการแข่งขัน รอบชิงชนะเลิศ จะมีการตั้งเกณฑ์ต่างๆ ตามกฎ ระเบียบ เพื่อใช้พิจารณาคัดกรองอย่างเข้มข้น อาจรวมทั้งการทดสอบ/ประเมิน เพื่อตัดสินใจให้ตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่งเข้าดำรงตำแหน่งงานสำคัญ ในส่วนราชการต่างๆ

12 ประโยชน์ สร้าง/เพิ่มแรงจูงใจในการทำงานของผู้มีศักยภาพ (Talent/Successor) ให้เกิดการสั่งสมผลการปฏิบัติงานสูง (High Performance) จัดเตรียมและพัฒนาผู้มีศักยภาพ ให้พร้อมทดแทนตำแหน่งเป้าหมายอันเป็นตำแหน่งงานบริหารระดับกลางขึ้นไป ภายในส่วนราชการ ด้วยการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน

13 เส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของ กตส. (ปัจจุบัน)
ประกาศกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ลงวันที่ 10 กันยายน 2556 เรื่อง เส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เริ่มถือใช้ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 เป็นต้นมา ตำแหน่งเป้าหมาย จำนวน 6 ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 – 10 ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง ผู้อำนวยการสำนักแผนงานและโครงการพิเศษ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี

14 เส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของ กตส. (ปัจจุบัน)
กำหนดการดำเนินการออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 การดำเนินการระยะสั้น กลุ่มเป้าหมายระดับชำนาญการพิเศษ ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งเป้าหมาย ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2556 เคยปฏิบัติงานในตำแหน่งบนเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน และผ่านการคัดเลือกเป็นผู้มีศักยภาพ จำนวน 3 – 5 ราย ต่อ 1 ตำแหน่ง กลุ่มที่ 2 การดำเนินการระยะปานกลาง กลุ่มเป้าหมายระดับชำนาญการพิเศษ ซึ่งเป็นผู้มีศักยภาพ ที่ได้รับคัดเลือก จำนวน 3 – 5 ราย ต่อ 1 ตำแหน่ง ปฏิบัติงานในตำแหน่งบนเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน เพื่อสร้างประสบการณ์ซึ่งจำเป็นสำหรับตำแหน่งเป้าหมาย รวมระยะเวลา ในการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน ไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่ได้รับคัดเลือก กลุ่มที่ 3 การดำเนินการระยะยาว กลุ่มเป้าหมายระดับชำนาญการ ซึ่งเป็นผู้มีศักยภาพที่ได้รับคัดเลือก จำนวน 3 – 5 ราย ต่อ 1 ตำแหน่ง ปฏิบัติงานในตำแหน่งบนเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน เพื่อสร้างประสบการณ์ซึ่งจำเป็นสำหรับตำแหน่งเป้าหมาย รวมระยะเวลาในการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน ไม่น้อยกว่า 13 ปี นับแต่ได้รับคัดเลือก

15 เส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของ กตส. (ปัจจุบัน)
ผลการดำเนินการ การคัดเลือกผู้อำนวยการสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 – 10 (ผู้อำนวยการสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ และ 10) กลุ่มเป้าหมายระดับชำนาญการพิเศษ (กลุ่มที่ 1 การดำเนินการระยะสั้น) ปานกลาง ยาว ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งเป้าหมาย ณ วันที่ 1 ตุลาคม .... เคยปฏิบัติงานในตำแหน่งบนเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน (5 ปี) และผ่านการคัดเลือก เป็นผู้มีศักยภาพ

16 ข้อสังเกต ภาพรวม - นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- ความไม่ชัดเจนของสำนักงาน ก.พ./หนังสือสั่งการ เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินการ - ความเป็นไปได้ในการปฏิบัติมากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะในเรื่องของปัจจัยภายนอก - การคัดเลือกผู้มีศักยภาพเพื่อสั่งสมประสบการณ์ อาจเป็นการรอนสิทธิของข้าราชการส่วนใหญ่ที่ไม่ได้รับการคัดเลือก - การตอบสนองเสียงส่วนใหญ่ (ผู้ไม่ได้รับการคัดเลือก) ในความก้าวหน้าไปสู่ตำแหน่งอื่นๆ - ความเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือสับสนเกี่ยวกับเกณฑ์เบื้องต้นเพื่อคัดสรรผู้มีศักยภาพเข้าสู่เส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ (Entry) โดยคิดว่าเป็นเกณฑ์คุณสมบัติคัดสรรตัวบุคคลเข้าบรรจุตำแหน่งเป้าหมาย - ความเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือสับสนเกี่ยวกับเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน คิดว่าเป็นผังแสดงให้เห็นว่าใครจะมีโอกาสได้ก้าวหน้าขึ้นสู่ตำแหน่งเป้าหมาย หรือคิดว่าเป็นผังแสดงความก้าวหน้าตั้งแต่เข้ารับราชการจนถึงตำแหน่งเป้าหมาย

17 ข้อสังเกต กรมตรวจบัญชีสหกรณ์
- เส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ยังไม่สะท้อนถึงความเท่าเทียมกันของระยะเวลาการสั่งสมประสบการณ์ - การกำหนดเส้นทางก้าวหน้าของผู้เชี่ยวชาญ และระบุชื่อตำแหน่งให้ชัดเจนในเอกสารกรอบสั่งสมประสบการณ์ - ข้อสังเกตเกี่ยวกับระยะเวลาการสั่งสมประสบการณ์ยาวเกินไป การใช้ผลการประเมินเลื่อนเงินเดือน การปฏิบัติธรรม 10 วัน - การให้ความสำคัญกับการพัฒนาผู้มีศักยภาพ (ที่ไม่ได้รับการเสนอชื่อ) และ ผู้ที่ไม่ได้รับเลือกเป็นผู้มีศักยภาพ - การโยกย้ายการปฏิบัติงานทุกรอบ ปี เพื่อรองรับเกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ - การจัดทำประชาพิจารณ์ของตำแหน่งในสายงานอื่นๆ - การสร้างคนเพื่อวางตัวให้ก้าวสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นเป็นสิ่งที่ดี แต่กระบวนการคัดเลือก ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ โปร่งใส เป็นธรรม หลักเกณฑ์การคัดเลือกควรจะเอื้อประโยชน์ให้กับข้าราชการทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน

18 การจัดทำเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์

19 การทบทวนเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของ กตส.
กลุ่มเป้าหมาย ข้าราชการ ประเภททั่วไป ทุกระดับ และประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ ลงมา การดำเนินการ 1. ศึกษาเอกสารและวีดีทัศน์ประกอบการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ผ่านทาง Website ของกรมฯ ที่ Pop up หัวข้อ การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ระหว่างวันที่ 10 – 28 สิงหาคม 2559 2. รับฟังการบรรยายพิเศษ หัวข้อ การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อประกอบการประชาพิจารณ์การทบทวนเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ถ่ายทอดสดผ่านทาง Video Conference 3. ตอบแบบประชาพิจารณ์การทบทวนเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผ่านทาง Website ของกรมฯ ที่ Pop up หัวข้อ แบบประชาพิจารณ์ ระหว่าง วันที่ สิงหาคม 2559

20 เส้นทางก้าวหน้าในสายงานต่างๆ ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
1 ตำแหน่งประเภททั่วไป 2 ตำแหน่งประเภทวิชาการ อาวุโส ทรงคุณวุฒิ ชำนาญงาน เชี่ยวชาญ ปฏิบัติงาน ชำนาญการพิเศษ เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชี ชำนาญการ ปฏิบัติการ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี

21 เส้นทางก้าวหน้าในสายงานต่างๆ ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ตำแหน่งประเภทอำนวยการ 3 ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน (วิชาการตรวจสอบบัญชี) ระดับสูง ผู้อำนวยการ ระดับสูง  ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง  ผู้อำนวยการสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่  ผู้อำนวยการสำนักแผนงานและโครงการพิเศษ  ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี  ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน (วิชาการคอมพิวเตอร์) ระดับสูง  ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4 ตำแหน่งประเภทบริหาร นักบริหาร สูง  อธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ นักบริหาร ต้น  รองอธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์

22 เส้นทางก้าวหน้าในสายงานวิชาการตรวจสอบบัญชี

23 แนวทาง กำหนดการดำเนินการแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 การดำเนินการระยะสั้น กลุ่มเป้าหมายระดับชำนาญการพิเศษ ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งเป้าหมาย ณ วันที่ 1 ตุลาคม .... เคยปฏิบัติงานในตำแหน่งบนเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน ระยะเวลา 4 ปี และผ่านการคัดเลือกเป็นผู้มีศักยภาพ (Exit) ของตำแหน่งเป้าหมาย กลุ่มที่ 2 การดำเนินการระยะยาว กลุ่มเป้าหมายระดับชำนาญการ ซึ่งเป็นผู้มีศักยภาพที่ได้รับคัดเลือก จำนวน 3 – 5 ราย ต่อ 1 ตำแหน่ง ปฏิบัติงานในตำแหน่งบนเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน เพื่อสร้างประสบการณ์ซึ่งจำเป็นสำหรับตำแหน่งเป้าหมาย รวมระยะเวลาในการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน ไม่น้อยกว่า 10 ปี นับแต่ได้รับคัดเลือก

24

25 การทบทวนเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของ กตส.
ขั้นตอนการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดตำแหน่งเป้าหมาย ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำ Job Profile

26 ขั้นตอนที่ 1 ตำแหน่งเป้าหมาย
ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ระดับสูง จำนวน 6 ตำแหน่ง (ผู้อำนวยการสำนักงาน / ผู้อำนวยการสำนัก / ผู้อำนวยการศูนย์) สายงานหลัก จำนวน 3 ตำแหน่ง 1. ผู้อำนวยการสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 – 10 2. ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี 3. ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สายงานอื่น จำนวน 3 ตำแหน่ง 1. ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง 2. ผู้อำนวยการสำนักแผนงานและโครงการพิเศษ 3. ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี

27 986 ตำแหน่งเป้าหมายที่ 1 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน (วิชาการตรวจสอบบัญชี)) สูง ฝ่ายบริหารทั่วไป 6 กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี 50 เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน/ชำนาญงาน นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ - นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ/ชำนาญการ กลุ่มพัฒนาการเรียนรู้ 30 กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ 20 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ/ชำนาญการ - นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ/ชำนาญการ - นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ/ชำนาญการ กลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผล 30 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ จังหวัด 830 นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ/ชำนาญการ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ/ชำนาญการ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีปฏิบัติการ/ชำนาญการ

28 ตำแหน่งเป้าหมายที่ 2 29 สำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี
ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน (วิชาการตรวจสอบบัญชี) สูง ฝ่ายบริหารทั่วไป 3 กลุ่มมาตรฐานการบัญชี 5 กลุ่มมาตรฐานการสอบบัญชี 5 กลุ่มกำกับสหกรณ์ 5 เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ชพ) = นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = 3 นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ชพ) = นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = 3 - เจ้าพนักงานธุรการ ปง / ชง = 1 นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ชพ) = นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = 3 - นักจัดการงานทั่วไป ปก / ชก = 1 กลุ่มกำกับผู้สอบบัญชี 5 5 กลุ่มพัฒนาระบบการเงินและการบัญชี นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชีชำนาญการพิเศษ นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = 4 นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = 4

29 ตำแหน่งเป้าหมายที่ 3 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
30 ตำแหน่งเป้าหมายที่ 3 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน (วิชาการตรวจสอบบัญชี) สูง 3 กลุ่มตรวจสอบข้อมูล และบริการสารสนเทศ 6 กลุ่มวิเคราะห์ข้อมูล ทางการเงิน 5 กลุ่มระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 4 ฝ่ายบริหารทั่วไป นักจัดการงานทั่วไป ปก / ชก = 1 นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ชพ = 1 นักวิชาการสถิติ ชพ = 1 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ปก / ชก / ชพ = 1 - เจ้าพนักงานธุรการ (ปง / ชง) = 2 นักวิชาการสถิติ (ปก / ชก) = เจ้าพนักงานสถิติ (ปง / ชง) = นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก/ชก) = 3 นักวิชาการสถิติ (ชพ) = นักวิชาการสถิติ (ปก / ชก) = 3 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ (ปก / ชก) = นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก /ชก) = 1 กลุ่มพัฒนาระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ 4 กลุ่มพัฒนาระบบตรวจสอบบัญชีคอมพิวเตอร์ 4 กลุ่มพัฒนาระบบสารสนเทศและฐานข้อมูล 3 นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ชพ = 1 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ปก / ชก / ชพ = 1 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ชพ = 1 นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = นักวิชาการคอมพิวเตอร์ (ปก / ชก) = 1 - นักวิชาการคอมพิวเตอร์ (ปก / ชก) = 3 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ (ปก / ชก) = 2

30 กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล
57 ตำแหน่งเป้าหมายที่ 4 สำนักบริหารกลาง ผู้อำนวยการ สูง 11 12 ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล 15 กลุ่มบริหารงานคลัง เจ้าพนักงานธุรการ อว =1 นักทรัพยากรบุคคล ชพ = 1 นักวิชาการเงินและบัญชี ชพ = 1 นักทรัพยากรบุคคล (ชพ) = 1 นักทรัพยากรบุคคล (ปก / ชก) = 8 นิติกร (ปก / ชก) = 2 นักวิชาการเงินและบัญชี (ชพ) = นักวิชาการเงินและบัญชี (ปก / ชก) = เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี (ปง / ชง) = นักวิชาการพัสดุ (ปก / ชก) = 3 เจ้าพนักงานธุรการ (ปง / ชง) = นักจัดการงานทั่วไป ปก / ชก =1 7 กลุ่มประชาสัมพันธ์ 7 4 กลุ่มประสานราชการ กลุ่มนิติการ นักจัดการงานทั่วไป ชพ = 1 นักวิชาการเผยแพร่ ชพ = 1 นิติกร ชพ = 1 นักจัดการงานทั่วไป (ปก / ชก) = เจ้าพนักงานธุรการ (ปก / ชง) = เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชี (ปง / ชง) = 1 นักวิชาการเผยแพร่ (ปก / ชก) = บรรณารักษ์ (ปก / ชก) = นายช่างศิลป์ (ปง / ชง) = เจ้าพนักงานธุรการ (ปง / ชง) = 1 - นิติกร (ชพ) = นิติกร (ปก / ชก) = 2

31 ตำแหน่งเป้าหมายที่ 5 สำนักแผนงานและโครงการพิเศษ ผู้อำนวยการ สูง 30
4 5 5 5 ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มนโยบายและแผน กลุ่มวิเคราะห์งบประมาณ กลุ่มติดตามและประเมินผล นักจัดการงานทั่วไป ปก / ชก = 1 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชพ = 1 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชพ = 1 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชพ = 1 เจ้าพนักงานธุรการ (ปง / ชง) = 3 - นักวิเคราะห์นโยบายและแผน (ปก / ชก) = 4 - นักวิเคราะห์นโยบายและแผน (ปก / ชก) = 4 - นักวิเคราะห์นโยบายและแผน (ปก / ชก) = 4 2 5 3 กลุ่มวิเทศสัมพันธ์ กลุ่มโครงการพิเศษ กลุ่มวิจัยและพัฒนา นักวิเทศสัมพันธ์ ปก / ชก = 1 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชพ = 1 นักวิชาการสถิติ ชพ = 1 - นักวิเทศสัมพันธ์ (ปก / ชก) = 1 นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = นักวิเคราะห์นโยบายและแผน (ปก / ชก) = เจ้าพนักงานตรวจสอบบัญชี อว = 1 นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = นักวิชาการสถิติ (ปก / ชก) = 1

32 ตำแหน่งเป้าหมายที่ 6 สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี ผู้อำนวยการ สูง 29 3 กลุ่มส่งเสริมพัฒนาการบัญชีครัวเรือน 5 กลุ่มส่งเสริมพัฒนาการบัญชี ชุมชน 3 กลุ่มส่งเสริมพัฒนาการบัญชีตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 5 ฝ่ายบริหารทั่วไป นักจัดการงานทั่วไป (ปก / ชก) = 1 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชพ = 1 นักทรัพยากรบุคคล ชพ = 1 นักทรัพยากรบุคคล ชพ = 1 เจ้าพนักงานธุรการ อว = เจ้าพนักงานธุรการ (ปก / ชง) = 1 - นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = นักวิเคราะห์นโยบายและแผน (ปก / ชก) = 1 - นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = 2 นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = นักทรัพยากรบุคคล (ปก / ชก) = 2 กลุ่มพัฒนาระบบการเรียนรู้ 4 กลุ่มพัฒนาสมรรถนะ ผู้สอบบัญชี 4 กลุ่มพัฒนาสมรรถนะบุคลากรเครือข่าย - กลุ่มพัฒนาและถ่ายทอด เทคโนโลยีสารสนเทศ 4 นักทรัพยากรบุคคล ชพ = 1 นักทรัพยากรบุคคล ชพ = 1 - นักทรัพยากรบุคคล ปก / ชก = 1 นักทรัพยากรบุคคล (ปก / ชก) = 3 - นักทรัพยากรบุคคล (ปก / ชก) = 3 - นักวิชาการตรวจสอบบัญชี (ปก / ชก) = นักทรัพยากรบุคคล (ปก / ชก) = 1

33 ขั้นตอนที่ 2 เส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน
สายงานหลัก 1. ผู้อำนวยการสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 – 10 2. ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี 3. ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร * สายงานอื่น 1. ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง 2. ผู้อำนวยการสำนักแผนงานและโครงการพิเศษ 3. ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี

34 ขั้นตอนที่ 3 Job Profile
ประกอบด้วย 3.1 เกณฑ์เบื้องต้นเพื่อคัดสรรผู้มีศักยภาพเข้าสู่เส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ (Entry) 3.2 องค์ประกอบอื่น ได้แก่ หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก ความรู้ที่จำเป็น ทักษะที่จำเป็น และสมรรถนะที่คาดหวังสำหรับตำแหน่งเป้าหมาย 3.3 เกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ (Exit)

35 3.1 เกณฑ์เบื้องต้นเพื่อคัดสรรผู้มีศักยภาพ (Entry)
กลุ่มที่ 1 ระยะสั้น 1. ดำรงตำแหน่งระดับชำนาญการพิเศษ มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี และดำรงตำแหน่ง / เคยดำรงตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบบัญชี มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี 2. มีคะแนนผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป และระดับดีเด่น อย่างน้อย 4 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปี 3. มีประสบการณ์ (ข้อใดข้อหนึ่ง) (1) มีประสบการณ์ ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ที่มีขนาดใหญ่ขึ้นไป อย่างน้อย 5 ชิ้นงาน (สะสมตั้งแต่เป็นผู้สอบบัญชี) หรือ (2) มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานเป็นผู้สอบบัญชีและสนับสนุนงานสอบบัญชี รวมกันไม่น้อยกว่า 4 ปี 4. ดำรงตำแหน่งหัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ผู้อำนวยการกลุ่ม หัวหน้ากลุ่ม 5. ผ่านการอบรมหลักสูตรต่างๆ อย่างน้อย 2 หลักสูตร

36 3.1 เกณฑ์เบื้องต้นเพื่อคัดสรรผู้มีศักยภาพ (Entry)
กลุ่มที่ 2 ระยะยาว 1. ดำรงตำแหน่งระดับชำนาญการ มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี และดำรงตำแหน่ง / เคยดำรงตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบบัญชี มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี 2. มีคะแนนผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับดีขึ้นไป และอยู่ในระดับดีเด่น อย่างน้อย 5 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 4 ปี 3. มีประสบการณ์ (ข้อใดข้อหนึ่ง) (1) มีประสบการณ์ ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ที่มีขนาดปานกลางขึ้นไป อย่างน้อย 5 ชิ้นงาน หรือ (2) มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานสอบบัญชีอย่างน้อย 1 ปี และสนับสนุน งานสอบบัญชี รวมกันไม่น้อยกว่า 4 ปี 4. ผ่านการอบรมหลักสูตรต่างๆ อย่างน้อย 2 หลักสูตร

37 แนวทางการคัดเลือกผู้มีศักยภาพ
รอบที่ 1 ผู้อำนวยการสำนัก/ศูนย์ พิจารณาคัดกรองข้าราชการในสังกัด เพื่อส่งรายชื่อ มายังกรมฯ รอบที่ 2 ผู้ที่มีรายชื่อจากผลการพิจารณารอบแรก แสดงวิสัยทัศน์ ต่อคณะกรรมการคัดเลือกฯ เพื่อ - จัดทำบัญชีผู้มีศักยภาพ กลุ่มที่ 1 และส่งรายชื่อผู้ที่มีคะแนน สูงสุด 2 ลำดับแรก ไปยังปลัด กษ. เพื่อพิจารณาประกอบการแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งเป้าหมาย (ที่ว่าง) - ให้ผู้มีศักยภาพ กลุ่มที่ 2 ปฏิบัติงานในตำแหน่งบนเส้นทาง การ สั่งสมประสบการณ์และผลงาน เพื่อสร้างประสบการณ์ซึ่งจำเป็น สำหรับตำแหน่งเป้าหมาย (ที่จะว่าง)

38 3.2 องค์ประกอบอื่น ตำแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ผู้อำนวยการสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1-10 (อำนวยการ สูง) ชื่อตำแหน่ง หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ (นักวิชาการตรวจสอบบัญชี ชำนาญการพิเศษ) หน่วยงาน สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ (จังหวัด) (ขนาดใหญ่) สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1-10 หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ รับผิดชอบในการควบคุม ดูแล กำกับ และ ให้คำปรึกษาแนะนำในการปฏิบัติงานสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นไปตามเป้าหมายและแผนงาน ที่กำหนดไว้ ควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีตามมาตรฐานการปฏิบัติงานทางวิชาชีพเกี่ยวกับ มาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานกระบวนการสอบบัญชีและมาตรฐานการรายงาน และกำกับ ดูแลงานสอบบัญชีสหกรณ์ โดยผู้สอบบัญชีภาคเอกชน รวมทั้งงานบริหารสำนักงาน และงานบริหารทั่วไปภายในพื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ ตลอดจนปฏิบัติหน้าที่อื่นที่ได้รับมอบหมายหรือที่เกี่ยวข้อง

39 ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก
ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก 1. การติดตามกำกับดูแลผลการปฏิบัติงานเป็นไปตามระบบแผนและผลการปฏิบัติงาน 1. ร้อยละของความสำเร็จตามแผนงาน ในการบริหารงานสอบบัญชีให้ผู้สอบบัญชีสามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินได้ 2. คุณภาพงานสอบบัญชีสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร เป็นไปตามมาตรฐาน 2. ร้อยละของผู้สอบบัญชีที่ผ่านเกณฑ์ การประเมินคุณภาพงานสอบบัญชี ได้ตามมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ CAQC 3. การบริหารจัดการของสำนักงาน ตรวจบัญชีสหกรณ์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมเป็นไปตามที่กำหนด

40 สำหรับตำแหน่งเป้าหมาย สมรรถนะที่คาดหวังสำหรับตำแหน่งเป้าหมายนี้
ความรู้ที่จำเป็น สำหรับตำแหน่งเป้าหมาย ทักษะที่จำเป็น สมรรถนะที่คาดหวังสำหรับตำแหน่งเป้าหมายนี้ ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 1. ความรู้ความเข้าใจใน 1. ทักษะการตรวจสอบ สมรรถนะหลัก กฎหมาย กฎ ระเบียบ บัญชี 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์  ระดับ 4 ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับ 2. ทักษะการใช้ 2. บริการที่ดี การตรวจสอบบัญชี คอมพิวเตอร์ 3. การสั่งสมความ 2. ความรู้ด้านมาตรฐาน 3. ทักษะการคำนวณ เชี่ยวชาญในงานอาชีพ การบัญชี มาตรฐาน 4. ทักษะการจัดการข้อมูล 4. การทำงานเป็นทีม การสอบบัญชี ที่รับรอง 5. ทักษะการสื่อสาร 5. การยึดมั่นในความถูกต้อง ทั่วไป และระเบียบที่ การนำเสนอในที่ประชุม ชอบธรรมและจริยธรรม นายทะเบียนสหกรณ์ 6. ทักษะการใช้ สมรรถนะเฉพาะ กำหนด ภาษาอังกฤษ ตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ 3. ความรู้ด้านเทคโนโลยี 7. ทักษะด้านการบริหาร 6. การคิดวิเคราะห์ สารสนเทศ จัดการ 7. การตรวจสอบความ 4. ความรู้ด้านการบริหาร ถูกต้องของกระบวนงาน 8. การสั่งการตามอำนาจหน้าที่

41 สำหรับตำแหน่งเป้าหมาย สมรรถนะที่คาดหวังสำหรับตำแหน่งเป้าหมายนี้
ความรู้ที่จำเป็น สำหรับตำแหน่งเป้าหมาย ทักษะที่จำเป็น สมรรถนะที่คาดหวังสำหรับตำแหน่งเป้าหมายนี้ ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง สมรรถนะทางการบริหาร 9. สภาวะผู้นำ  ระดับ 2 10. วิสัยทัศน์ 11. การวางกลยุทธ์ภาครัฐ 12. ศักยภาพ เพื่อนำการปรับเปลี่ยน 13.การควบคุมตนเอง 14. การสอนงานและ การมอบหมายงาน

42 3.3 เกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ (Exit)
1. มีคะแนนผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับดีเด่น 6 รอบการประเมิน 2. ร้อยละ 90 ของผู้สอบบัญชีที่มีผลการประเมินคุณภาพงานสอบบัญชีได้มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ CAQC ในระดับ 95 คะแนนขึ้นไป 3. การบริหารงบประมาณ (ความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี) 4. เข้าร่วมโครงการจริยธรรม รวมระยะเวลาไม่น้อยกว่า 7 วัน / ปี 5. ผ่านการอบรมหลักสูตรต่างๆ อย่างน้อย 5 หลักสูตร โดยมีหลักสูตรเชิงบริหารไม่น้อยกว่า 1 หลักสูตร 6. แสดงวิสัยทัศน์ต่อคณะกรรมการคัดเลือกผู้มีศักยภาพฯ

43 สรุป เส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของ กตส.
ขั้นตอนการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดตำแหน่งเป้าหมาย ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำ Job Profile 3.1 เกณฑ์เบื้องต้นเพื่อคัดสรรผู้มีศักยภาพเข้าสู่เส้นทางก้าวหน้า ในสายอาชีพ (Entry) 3.2 องค์ประกอบอื่น ได้แก่ หน้าที่รับผิดชอบหลัก ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก ความรู้ที่จำเป็น ทักษะที่จำเป็น และสมรรถนะ ที่คาดหวังสำหรับตำแหน่งเป้าหมาย 3.3 เกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ (Exit)

44 ขั้นตอนที่ 1 ตำแหน่งเป้าหมาย
ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ระดับสูง จำนวน 6 ตำแหน่ง (ผู้อำนวยการสำนักงาน / ผู้อำนวยการสำนัก / ผู้อำนวยการศูนย์) สายงานหลัก จำนวน 3 ตำแหน่ง 1. ผู้อำนวยการสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 – 10 2. ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี 3. ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สายงานอื่น จำนวน 3 ตำแหน่ง 1. ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง 2. ผู้อำนวยการสำนักแผนงานและโครงการพิเศษ 3. ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี

45 กลุ่มที่ 1 การดำเนินการระยะสั้น กลุ่มที่ 2 การดำเนินการระยะยาว
ขั้นตอนที่ 2 กรอบสั่งสมประสบการณ์ ขั้นตอนที่ 3 Job Profile กลุ่มที่ 1 การดำเนินการระยะสั้น กลุ่มที่ 2 การดำเนินการระยะยาว มีประสบการณ์และผลงานย้อนหลัง 4 ปี (เดิม 5 ปี) สั่งสมประสบการณ์และผลงาน ตามเส้นทาง การสั่งสมประสบการณ์และผลงาน 10 ปี (เดิม 13 ปี) เกณฑ์เบื้องต้น (Entry) 1. เป็นระดับชำนาญการพิเศษ มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี 2. การดำรงตำแหน่ง / ประสบการณ์ในงาน (เพิ่ม ชช.) 3. คะแนนผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน 4. การอบรม 1. เป็นระดับชำนาญการ 2. คะแนนผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. การอบรม

46 กลุ่มที่ 1 การดำเนินการระยะสั้น กลุ่มที่ 2 การดำเนินการระยะยาว
เกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ (Exit) 1. คะแนนผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2. ผลงานที่ปฏิบัติตามตำแหน่ง 3. การเข้าร่วมโครงการจริยธรรม 4. การอบรมหลักสูตรเชิงบริหาร (เพิ่ม) 5. การแสดงวิสัยทัศน์ (เพิ่ม) ขึ้นบัญชีจนกว่าผู้มีศักยภาพกลุ่มที่ 2 ผ่านเกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ ladder สุดท้าย (เดิม 3 – 8 ปี) ขึ้นบัญชี จนกว่าผู้มีศักยภาพพ้นไป/ได้รับการ แต่งตั้ง (เดิม 13 ปี)

47 การดำเนินการกลุ่มที่ 1 ระยะสั้น (ณ 1 ต.ค. 2559 )
5. กษ. คัดเลือกและแต่งตั้ง 4. กตส. เสนอรายชื่อผู้มีศักยภาพ 2 ราย ที่ผ่านเกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ (Exit) ตามเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์ และผลงาน ไปยัง กษ. เพื่อเข้ารับการคัดเลือก (ตำแหน่งที่ว่าง) 3. กตส. คัดเลือกข้าราชการที่ผ่านเกณฑ์ Entry เป็นผู้มีศักยภาพ จำนวน 3 – 5 ราย ต่อ 1 ตำแหน่ง 2. ข้าราชการที่มีคุณสมบัติ ผ่านเกณฑ์เบื้องต้นเพื่อคัดสรรผู้มีศักยภาพ (Entry) 1. ประกาศเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของ กตส.

48 การดำเนินการกลุ่มที่ 2 (ระยะยาว)
6. กษ. คัดเลือกและแต่งตั้ง 5. กตส. เสนอรายชื่อผู้มีศักยภาพ ราย ที่ผ่านเกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ (Exit) ตามเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์ และผลงาน ไปยัง กษ. เพื่อเข้ารับการคัดเลือก (ตำแหน่งที่ว่าง) 4. ผู้มีศักยภาพ ผ่านเกณฑ์พิสูจน์ผู้มีศักยภาพ (Exit) ของทุกกล่องสั่งสมประสบการณ์ (ระยะเวลา 10 ปี) 3. กตส. บรรจุผู้มีศักยภาพ ตามเส้นทางการสั่งสมประสบการณ์และผลงาน 2. กตส. พิจารณาคัดเลือกผู้มีศักยภาพ จำนวน 3 – 5 ราย ต่อ 1 ตำแหน่ง 1. ข้าราชการที่มีคุณสมบัติ ผ่านเกณฑ์เบื้องต้นเพื่อคัดสรรผู้มีศักยภาพ (Entry)

49 แนวทางการคัดเลือกผู้มีศักยภาพ
รอบที่ 1 ผู้อำนวยการสำนัก/ศูนย์ พิจารณาคัดกรองข้าราชการในสังกัด เพื่อส่งรายชื่อ มายังกรมฯ รอบที่ 2 ผู้ที่มีรายชื่อจากผลการพิจารณารอบแรก แสดงวิสัยทัศน์ ต่อคณะกรรมการคัดเลือกฯ เพื่อ - จัดทำบัญชีผู้มีศักยภาพ กลุ่มที่ 1 และส่งรายชื่อผู้ที่มีคะแนน สูงสุด 2 ลำดับแรก ไปยังปลัด กษ. เพื่อพิจารณาประกอบการแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งเป้าหมาย (ที่ว่าง) - ให้ผู้มีศักยภาพ กลุ่มที่ 2 ปฏิบัติงานในตำแหน่งบนเส้นทาง การ สั่งสมประสบการณ์และผลงาน เพื่อสร้างประสบการณ์ซึ่งจำเป็น สำหรับตำแหน่งเป้าหมาย (ที่จะว่าง)

50 ตอบแบบประชาพิจารณ์ การทบทวนเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผ่านทางระบบสารสนเทศของกรม ฯ (Pop Up / Intranet ) ระหว่างวันศุกร์ที่ 19 ถึงวันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม 2559

51 Questionnaire

52 ขอขอบคุณ โดย คณะกรรมการขับเคลื่อนการบริหารจัดการองค์กร และ
คณะทำงานทบทวนเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ


ดาวน์โหลด ppt การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อประกอบการประชาพิจารณ์การทบทวนเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพ ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ วันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 09.30.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google