ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
เมษายน 2560 กราบเรียน ท่านนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี และหัวหน้าส่วนราชการทุกท่าน สำนักงบประมาณขอเสนอเรื่อง แนวทางการจัดทำ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ โดยมี สาระสำคัญโดยสรุป ดังนี้ 1
2
การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
วัตถุประสงค์ ส่งเสริมให้กระทรวง/หน่วยงานทำงานร่วมกัน ในลักษณะประสานเชื่อมโยงแบบเครือข่าย เพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงานของกระทรวงและหน่วยงาน ต่าง ๆ ให้สามารถบรรลุผลสำเร็จได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยคำนึงถึงหลักประหยัด ความคุ้มค่า เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและประเทศชาติ เพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์และนโยบายเรื่องสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ให้เกิดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพ คุ้มค่าและ ไม่ซ้ำซ้อนกัน โดยมีหน่วยงานเจ้าภาพหลักเป็นผู้รับผิดชอบ และมีรองนายกรัฐตรีที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้กำกับ ดูแล ติดตามผลการดำเนินงาน 46
3
การพิจารณาจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
เป็นมิติงานตามยุทธศาสตร์กระทรวงและหน่วยงาน (Function) ที่มีการบูรณาการภารกิจ ในเชิงกระบวนการทำงานร่วมกันของหน่วยงาน ระหว่างกระทรวง หรือมิติงานตามยุทธศาสตร์พื้นที่ (Area) มีการบูรณาการภารกิจที่ตอบสนองความต้องการในพื้นที่ และมิตินโยบายสำคัญ (Agenda) สอดคล้องกับร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์สำคัญและแผนแม่บทระดับชาติ และนโยบายเรื่องสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ครอบคลุมเป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง ตั้งแต่ 2 กระทรวงขึ้นไป ภายใต้เป้าหมายและมีวัตถุประสงค์เดียวกัน มีขอบเขต เป้าหมาย ตัวชี้วัด กรอบระยะเวลาดำเนินงาน และผลประโยชน์ชัดเจนต่อกลุ่มเป้าหมาย มีจุดเน้นที่สำคัญ สามารถใช้เป็นแนวทางติดตามประเมินผลได้ 47
4
การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 หลักการและเหตุผล ครม. มีมติเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2559 ให้ความเห็นชอบเรื่องการกำหนดแนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ โดยให้ความสำคัญในการจัดทำงบประมาณใน ลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ครม. มีมติเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 เห็นชอบแนวทาง แผนงานบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ 28 แผนงาน คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ จำนวน 6 คณะ (15 ชุดย่อย) และแผนปฏิบัติงานการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ครม. มีมติเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2560 เพิ่มแผนงานบูรณาการเสริมสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศภายใต้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 45
5
องค์ประกอบคณะกรรมการพิจารณาการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ประธานคณะกรรมการ รองนายกรัฐมนตรี จำนวน 1 ท่าน รองประธานคณะกรรมการ รัฐมนตรีที่กำกับดูแลรับผิดชอบหน่วยงานเจ้าภาพหลัก กรรมการ กรรมการและเลขานุการร่วม 1. ผู้แทนหน่วยงานเจ้าภาพหลัก 2. ผู้แทนสำนักงบประมาณ 3. ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ 4. ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 5. ผู้แทนสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ให้มีคณะกรรมการหรืออนุกรรมการในการจัดทำงบประมาณ function โดยมีรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการเพื่อให้เกิดการบูรณาการภายในกระทรวง โดยไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อน 48
6
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ
1. กำหนดขอบเขตภารกิจ เป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. ประสานส่วนราชการที่เกี่ยวข้องจัดทำข้อเสนอโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณ 3. พิจารณากลั่นกรองข้อเสนองบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ 4. จัดทำข้อเสนอการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ส่งสำนักงบประมาณ 5. กำกับ ดูแล ติดตาม และตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ เป็นต้นไป 6. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานในการปฏิบัติงาน และเชิญส่วนราชการมาชี้แจงให้ข้อมูลรายละเอียดและข้อคิดเห็นได้ตามความจำเป็น 7. ดำเนินการอื่นตามที่นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีมอบหมาย 49
7
การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
รองนายกรัฐมนตรี พล.อ. ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี พล.อ. ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรี พล.ร.อ. ณรงค์ พิพัฒนาศัย การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ การจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ การจัดการปัญหาที่ดินทำกิน การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย การสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ การพัฒนาระบบประกันสุขภาพ รองนายกรัฐมนตรี นายวิษณุ เครืองาม การป้องกัน ปราบปราม และบำบัดรักษา ผู้ติดยาเสพติด การอำนวยความสะดวกทางธุรกิจ การปฏิรูปกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรม การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ การส่งเสริมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การส่งเสริมการพัฒนาจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ การเสริมสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ รองนายกรัฐมนตรี พล.อ.อ. ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การวิจัยและนวัตกรรม การพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ การพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง การพัฒนาฝีมือแรงงานไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก รวมทั้งสิ้น 29 แผนงานบูรณาการ
8
Work Flow การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
นายกรัฐมนตรี 8 11 ม.ค. 60 1 สรุปภาพรวมและรายงานข้อเสนอ การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการ เสนอนายกรัฐมนตรีเพื่อทราบ 21 ต.ค. 59 มอบนโยบายฯ 25 ต.ค. 59 มอบหมาย / แต่งตั้ง ผ่านรองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมาย 7 คณะกรรมการพิจารณา การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการ เชิงยุทธศาสตร์ 28 พ.ย. – 6 ธ.ค. 59 ประธาน คกก. เห็นชอบแผน สำนักงบประมาณ มอบหมายนโยบายการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการ รวมทั้งแผนแม่บท กำหนดหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ และขอบเขตการบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ กำหนดเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัด และหน่วยงานดำเนินการ พิจารณากลั่นกรองข้อเสนอโครงการ-กิจกรรม-งบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ จัดทำรายงานสรุปผลการพิจารณา/ข้อเสนองบประมาณ ให้ความเห็นชอบแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ กำหนดให้มีกระบวนการติดตามและประเมินผล แจ้งรายละเอียดและงบประมาณ ให้หน่วยงานเจ้าภาพหลัก/ คกก.บูรณาการ เพื่อแจ้งกระทรวง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่งผลการ ทบทวน เป้าหมาย ตัวชี้วัด 6 2 พ.ย. 59 27 – 28 ต.ค. 59 (1 – 4 พ.ย. 59) คกก.กลั่นกรองข้อเสนอ แผนงาน/โครงการ 2 – 11 พ.ย. 59 หน่วยงานเจ้าภาพหลัก (เลขานุการ) และ สงป. / ก.พ.ร. / สศช. / สมช. (เลขานุการร่วม) 4 3 27 ต.ค. – 1 พ.ย. 59 กระทรวง – หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งคณะกรรมการ บูรณาการประจำกระทรวง เพื่อจัดทำแผนแม่บทและข้อเสนอโครงการ กิจกรรมแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ประสานงาน 11 พ.ย. 59 5 ผ่านความเห็นชอบจาก รมต.เจ้าสังกัด ส่วนราชการจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ในมิติกระทรวง – หน่วยงาน โดยรวมงบประมาณในลักษณะบูรณาการ 9 12 ม.ค. 60 นำข้อเสนอการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการ มาจัดทำคำของบประมาณปี 2561 ส่งคำขอปี 2561 ให้สำนักงบประมาณภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560
9
1. คณะกรรมการพิจารณาการจัดทำงบประมาณใน ลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ได้ให้ความเห็นชอบ รวมทั้งสิ้น 1,772,308.3 ล้านบาท 2. สำนักงบประมาณ นำเสนอนายกรัฐมนตรี ข้อเสนองบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์เบื้องต้น รวมทั้งสิ้น 1,185,299.1 ล้านบาท (29 แผนงาน) สำหรับงบประมาณแผนบูรณาการ ฯ สำนักงบประมาณได้จัดทำรายงานกราบเรียนนายกรัฐมนตรีรับทราบแล้ว เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2559 ดังนี้ คณะกรรมการพิจารณาการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีรองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ได้พิจารณาจัดทำงบประมาณ ในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ และได้ให้ความเห็นชอบข้อเสนองบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ รวมทั้งสิ้น 1,022,017.3 ล้านบาท สำนักงบประมาณได้พิจารณาตามแนวทางและหลักเกณฑ์ โดยให้ความสำคัญกับการดำเนินงาน ที่สอดคล้องกับพันธกิจของกระทรวงและหน่วยงาน มีความเชื่อมโยง สนับสนุนเป้าหมายและตัวชี้วัดของแผนงานบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ สามารถส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายอย่างแท้จริง มีความพร้อมและขีดความสามารถที่จะดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสม ทั้งปริมาณและงบประมาณ ผลการพิจารณาสำนักงบประมาณเห็นสมควรจัดทำข้อเสนอ การจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เบื้องต้น รวมทั้งสิ้น 772,989.5 ล้านบาท 52
10
ภาพรวมแผนงานบูรณาการ 29 แผนงาน
ข้อเสนองบประมาณ 1,185,299.1 ล้านบาท ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการแก้ไขปัญหา ความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโตจากภายใน ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการจัดการน้ำและสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ ลบ. การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหา 14,242.8 ลบ. จังหวัดชายแดนภาคใต้ การจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าว 1,073.5 ลบ. และการค้ามนุษย์ การป้องกัน ปราบปราม 5,610.7 ลบ. และบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ 4,003.2 ลบ. การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง 7,681.9 ลบ. และขนาดย่อม การพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 17,302.9 ลบ. การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ 13,133.7 ลบ. ภาคตะวันออก การพัฒนาด้านคมนาคมและ 188,702.5 ลบ. ระบบโลจิสติกส์ การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล 7,604.8 ลบ. การวิจัยและนวัตกรรม 23,905.5 ลบ. การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว 8,169.7 ลบ. และบริการ การพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร 15,563.9 ลบ. การเพิ่มขีดความสามารถทางการ 1,163.2 ลบ. แข่งขันด้านการค้าฯ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย 10,108.1 ลบ. การยกระดับคุณภาพการศึกษาและ 101,204.0 ลบ. การเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและ 7,548.8 ลบ. ชุมชนเข้มแข็ง การพัฒนาระบบประกันสุขภาพ 217,848.5 ลบ. การสร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับ 4,314.5 ลบ. สังคมผู้สูงอายุ การจัดการปัญหาที่ดินทำกิน ลบ. การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 2,369.6 ลบ. การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพ 1,056.6 ลบ. การใช้พลังงานฯ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 121,375.0 ลบ. การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและ 1,121.1 ลบ. ประพฤติมิชอบ การปฏิรูปกฎหมายและพัฒนา 1,744.1 ลบ. กระบวนการยุติธรรม การอำนวยความสะดวกทางธุรกิจ ลบ. การส่งเสริมการกระจายอำนาจ 298,336.1 ลบ. ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การส่งเสริมการพัฒนาจังหวัดและ 68,341.0 ลบ. กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ การเสริมสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ ,500.0 ลบ. 21,500.8 ล้านบาท 287,231.3 ล้านบาท 111,312.1 ล้านบาท 229,711.8 ล้านบาท 125,116.7 ล้านบาท 410,426.4 ล้านบาท
11
ข้อสังเกตการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
หน่วยงานเจ้าภาพหลักและหน่วยงานกลาง (สศช. กพร. และสมช.) ควรทบทวนขอบเขต เป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน และตัวชี้วัดให้มีความชัดเจน 2. ควรกำหนดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบการดำเนินงานในแต่ละตัวชี้วัด และเชื่อมโยงไปถึงตัวชี้วัดของเป้าหมาย แผนแม่บทของแต่ละแผน รวมทั้งแผนแม่บทระยะ 20 ปี ที่เกี่ยวข้อง 3. ควรตรวจสอบโครงการ กิจกรรมและการดำเนินงานไม่ให้มีความซ้ำซ้อนให้ประหยัด คุ้มค่าและ มีประสิทธิภาพ มีการบูรณาการภายในกระทรวงและระหว่างกระทรวง 4. ควรกำหนดให้หน่วยงานที่มีเงินนอกงบประมาณ เงินรายได้ เงินสะสม พิจารณาเงินนอกงบประมาณมาประกอบ รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือในการลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPPs) 5. ควรทบทวนภารกิจและงบประมาณที่เป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดสัมมนา ฝึกอบรมจำนวนมาก 6. หน่วยงานเจ้าภาพควรประสานแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดส่งคำของบประมาณ ให้ครบถ้วน ตามกรอบวงเงินที่ได้รับความเห็นของจากคณะกรรมการพิจารณาการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการฯ สำนักงบประมาณมีข้อสังเกตการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ดังนี้ (1) หน่วยงานเจ้าภาพหลักและหน่วยงานกลาง ได้แก่ สศช. กพร. และ สมช. ควรทบทวนเกี่ยวกับขอบเขต เป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน ละตัวชี้วัด ห้มีความชัดเจน รวมทั้งพิจารณาโครงการ กิจกรรมและการดำเนินงาน ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้มีความสัมพันธ์ สอดคล้องและสามารถเชื่อมโยงไปสู่เป้าหมายได้อย่างแท้จริง (2) ควรกำหนดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบการดำเนินงานในแต่ละตัวชี้วัด และเชื่อมโยงไปถึงตัวชี้วัด ของเป้าหมาย รวมของแผนงานบูรณาการเพื่อให้การบูรณาการสามารถบรรลุผลสำเร็จได้ตามเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ (3) ควรตรวจสอบโครงการ กิจกรรมและการดำเนินงานของหน่วยงานไม่ให้มีความซ้ำซ้อน ให้ประหยัด คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ (4) ควรกำหนดให้หน่วยงานที่มีเงินนอกงบประมาณ เงินรายได้ เงินสะสม พิจารณานำเงินนอกงบประมาณ มาประกอบการ พิจารณาจัดสรรงบประมาณ รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือในการลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPPs) (5) ควรพิจารณาทบทวนภารกิจและงบประมาณที่เป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดสัมมนา ฝึกอบรมจำนวนมาก ควรพิจารณาข้อมูลเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายและกิจกรรมปี 2559 กับปี 2560 เพื่อลดความซ้ำซ้อน ในการดำเนินงาน (6) หน่วยงานเจ้าภาพควรประสานแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดส่งคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี ให้ครบถ้วน ตามกรอบวงเงินที่ได้รับความเห็นของจากคณะกรรมการพิจารณาการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการ เชิงยุทธศาสตร์ เนื่องจากมีบางแผนงานที่หลายหน่วยงานไม่ได้เสนอคำของบประมาณ ขอให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ พิจารณาจัดทำคำของบประมาณในลักษณะบูรณการ ส่งให้หน่วยงาน เจ้าภาพ ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559 ขอให้หน่วยงานเจ้าภาพรวบรวม นำเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ที่มีรองนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ พิจารณาให้ความเห็นชอบ และส่งให้สำนักงบประมาณ ในวันที่ 9 มีนาคม 2559 ทั้งนี้ ขอให้พิจารณาทบทวนเกี่ยวกับขอบเขต เป้าหมาย แนวทางการดำเนินงานและตัวชี้วัด ให้มีความชัดเจน รวมทั้งพิจารณาโครงการ กิจกรรม การดำเนินงาน และงงบประมาณของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ครบถ้วนสมบูรณ์ มีความสัมพันธ์ สอดคล้องและสามารถเชื่อมโยงไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการอย่างแท้จริง 56
12
แผนงานบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม ปี 2561
13
แผนงานบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม ปี 2561
เป้าหมายที่ 1 : วิจัยและนวัตกรรมในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์และเป้าหมายของประเทศ เป้าหมายที่ 2 : การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาหรือสร้างความเข้มแข็งด้านสังคม ชุมชน ความมั่นคง และคุณภาพชีวิตประชาชนตามยุทธศาสตร์ของประเทศ เป้าหมายที่ 3 : วิจัยและพัฒนาเพื่อสร้าง/สะสมองค์ความรู้ที่มีศักยภาพ เป้าหมายที่ 4 : พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน และปัจจัยเอื้อที่สนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ตัวชี้วัดเป้าหมาย นวัตกรรมที่ภาครัฐนำไปใช้บริการประชาชนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 15 ของผลงานทั้งหมด องค์ความรู้ที่สามารถนำไปแก้ปัญหาสังคม ชุมชน ความมั่นคง สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตประชาชนในเรื่องสำคัญตามนโยบายรัฐบาล ไม่น้อยกว่า 5 ประเด็น แนวทาง/ข้อเสนอแนะในการพัฒนาในพื้นที่ชุมชน/สังคมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของผลงานทั้งหมด องค์ความรู้สามารถนำไปต่อยอดเชิงลึกหรือนำไปใช้แก้ไขปัญหาการดำเนินงานของหน่วยงาน ร้อยละ 50 มีนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของผลงานทั้งหมด องค์ความรู้ที่ได้สามารถถูกนำไปใช้ในการอ้างอิงในระดับชาติ และระดับนานาชาติ ร้อยละ 50 หน่วยงานที่สามารถรับรองมาตรฐานการวิจัย ด้านต่างๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ต้นทุนของผู้ประกอบการของไทยในการขอรับรองมาตรฐาน/การดำเนินการวิจัยและพัฒนาลดลงเฉลี่ยร้อยละ 10 บุคลากรด้านการวิจัยและนวัตกรรมเพิ่มขึ้นเป็น 100,000 คน** อัตราการใช้โครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและนวัตกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี แนวทาง วิจัยและนวัตกรรมในอุตสาหกรรม คลัสเตอร์เป้าหมายและข้อริเริ่มใหม่ตามนโยบายรัฐบาล 1.1 บัญชีนวัตกรรม ไทยและบัญชีสิ่งประดิษฐ์ไทย 1.2 วิจัยและพัฒนาเพื่อความมั่นคง สังคม และการพัฒนาที่ยั่งยืน 2.1 วิจัยและพัฒนาในประเด็นสำคัญตามยุทธศาสตร์ของประเทศ (โครงการท้าทายไทย/โครงการมุ่งเป้า) 2.2 การจัดการความรู้การวิจัย เพื่อนำไปสู่การพัฒนาชุมชนและสังคม และเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ 2.3 วิจัยพื้นฐาน 3.1 วิจัยประยุกต์ 3.2 พัฒนาระบบ/มาตรฐานวิจัย 4.1 พัฒนาระบบ/มาตรฐานอุตสาหกรรม 4.2 พัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม 4.3 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและนวัตกรรม 4.4 ตัวชี้วัดแนวทาง รายการสินค้าในรายการบัญชีนวัตกรรมเกิดการจัดซื้อจัดจ้างจากภาครัฐเป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 10 รายการ โครงการวิจัยและนวัตกรรมสอดคล้องกับอุตสาหกรรมและคลัสเตอร์เป้าหมายและข้อริเริ่มของรัฐบาล จำนวนไม่น้อยกว่า 20 โครงการ ผลงานวิจัยที่สามารถนำส่งเป็นแนวทางเพื่อกำหนดนโยบายของภาครัฐ และ/หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบในด้านต่างๆ ร้อยละ 70 ของโครงการ ผลงานวิจัยที่สามารถสร้างนวัตกรรมทางสังคมหรือนวัตกรรมสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการภาครัฐร้อยละ 60 ของโครงการ ผลงานวิจัยสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาชุมชนและสังคม ร้อยละ 70ของโครงการ โครงการวิจัยที่แล้วเสร็จสามารถยื่นตีพิมพ์ระดับชาติ และนานาชาติ ร้อยละ 50** โครงการวิจัยที่สามารถกำหนดแนวทางนำไปต่อยอดเชิงลึกหรือนำไปใช้แก้ไขปัญหาการดำเนินงานของหน่วยงาน ร้อยละ 50 จำนวนหน่วยงานที่ได้รับการรับรองหรือขึ้นทะเบียนมาตรฐานการวิจัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ผู้รับบริการด้านมาตรฐาน (ทดสอบ/สอบเทียบ/รับรองมาตรฐาน) เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี การจ้างงานใหม่ของบุคลากรวิจัยและนวัตกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี** ร้อยละ 20 ของโครงสร้างพื้นฐานวิจัยและนวัตกรรมมีการใช้งานร่วมกันระหว่าง 2 หน่วยงานขึ้นไป ผลงานวิจัยและนวัตกรรมนำไปสู่การใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมและคลัสเตอร์เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของโครงการ มีจำนวนนวัตกรรมที่ขึ้นบัญชี ไม่น้อยกว่า 80 รายการ
14
แผนงานบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม ปี 2561
เป้าหมายที่ 1 : วิจัยและนวัตกรรมในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์และเป้าหมายของประเทศ วงเงิน 4, ลบ เป้าหมายที่ 2 : การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาหรือสร้างความเข้มแข็งด้านสังคม ชุมชน ความมั่นคง และคุณภาพชีวิตประชาชนตามยุทธศาสตร์ของประเทศ วงเงิน 6, ลบ เป้าหมายที่ 3 : วิจัยและพัฒนาเพื่อสร้าง/สะสมองค์ความรู้ วงเงิน 7ม ลบ. เป้าหมายที่ 4 : พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยเอื้อที่สนับสนุนการวิจัย วงเงิน 6ม ลบ. 1.1 1.2 วิจัยและนวัตกรรมในอุตสาหกรรม คลัสเตอร์เป้าหมายและข้อริเริ่มใหม่ตามนโยบายรัฐบาล บัญชีนวัตกรรมไทย และบัญชีสิ่งประดิษฐ์ไทย 2.1 2.2 4.1 พัฒนาระบบ/มาตรฐานวิจัย วิจัยและพัฒนาเพื่อความมั่นคง สังคม และการพัฒนาที่ยั่งยืน วิจัยและพัฒนาในประเด็นสำคัญตามยุทธศาสตร์ของประเทศ . 3.1 3.2 วิจัยพื้นฐาน วิจัยประยุกต์ . มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ วิจัยในสัตว์ทดลอง มาตรฐานจริยธรรมนักวิจัย วิจัยในคน 4.2 พัฒนาระบบ/มาตรฐานอุตสาหกรรม ความมั่นคงและ ธรรมาภิบาล นวัตกรรมทางสังคม ผู้สูงอายุและผู้พิการ การพัฒนาสมุนไพรไทย การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความเข้มแข็งของชุมชนฐานราก นโยบายเพื่อการพัฒนาความมั่นคงทางสังคมมนุษย์ ข้าว ยางพารา สัตว์เศรษฐกิจ การแพทย์และสาธารณสุข อ้อยและน้ำตาล อาหารเพื่อเพิ่มคุณค่าและความปลอดภัยสำหรับผู้บริโภคและการค้า มนุษยศาสตร์ โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน 10 อุตสาหกรรม คลัสเตอร์เป้าหมาย ข้อริเริ่มใหม่ การรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน ระบบมาตรวิทยา/สอบเทียบเครื่องมือ การกำหนดมาตรฐาน การทดสอบ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี เกษตรศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การแพทย์ และสุขภาพ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ 4.3 พัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม - การแพทย์ครบวงจร - การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ - อก.แปรรูปอาหาร - อก.เชื้อเพลิงชีวภาพ - อก.ยานยนต์สมัยใหม่ - อก.หุ่นยนต์ - อก. ดิจิตอล - อก.ท่องเที่ยว - อก.การท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ - อก.การบินและโลจิสติกส์ - อก.อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ - นวัตกรรมสนับสนุน EEC - ระบบขนส่งทางราง - การสร้างโอกาสการเข้าถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยเพื่อการเกษตร - Bioeconomy - การพัฒนาพลังงานทดแทน - APASIT - Climate Technology - การจัดการน้ำ - Smart Government ทุนการศึกษาวิจัย การส่งเสริม Talent Mobility การพัฒนาอาชีพวิจัยและนวัตกรรม การสร้างความตระหนัก การพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้บุคลากรด้านแรงงาน 4.4 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและนวัตกรรม ห้องปฏิบัติการ/เครื่องมืออุปกรณ์วิจัยเฉพาะ อุทยานวิทยาศาสตร์ ศูนย์ส่งเสริมการบริหารจัดการนวัตกรรม Pilot Plant ระบบสารสนเทศการวิจัยและนวัตกรรม 2.3 การจัดการความรู้การวิจัย เพื่อนำไปสู่การพัฒนาชุมชนและสังคม และเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ
15
แผนงานบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม ปี 2561
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 พ.ร.บ. 2560 15, ลบ. ปรับฐาน ลบ. งบประมาณ 2560 หลังปรับฐาน 15, ลบ. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรอบ Pre-Ceiling 23, ลบ. คำของบประมาณ 2561 24, ลบ.
16
ถาม - ตอบ 108
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.