ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
และประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2560
นโยบายด้านการทดสอบ และประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2560 ดร.วิษณุ ทรัพย์สมบัติ ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2
การประกันคุณภาพการศึกษา การจัดทำทะเบียนและสารสนเทศ
ภารกิจ สทศ.สพฐ. การพัฒนาเครื่องมือที่ได้มาตรฐาน การประเมินคุณภาพผู้เรียน การวัดระดับความสามารถด้านภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ การสร้างความเข้มแข็งด้านการประเมินแก่เขตพื้นที่และสถานศึกษา การทดสอบ การประเมินผล การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน การส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งด้านการประกันคุณภาพให้กับสถานศึกษา การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานประเมินคุณภาพภายนอก การคัดเลือกนักเรียนและสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทาน การประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลและทะเบียนผู้จบการศึกษา การให้บริการตรวจสอบวุฒิ รับรองวุฒิ ออกเอกสารสำคัญทางการศึกษา การให้บริการเทียบวุฒิการศึกษา และการเทียบโอนผลการเรียน การศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกษาของต่างประเทศเพื่อวางแผนการเทียบวุฒิการศึกษา และการเทียบโอนผลการเรียน การจัดทำทะเบียนและสารสนเทศ
3
งานนโยบายที่สำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ (ด้านการทดสอบ)
ปรับระบบการสอบ NT/O-NET ให้เป็นที่ยอมรับและสะท้อน ถึงคุณภาพของการจัดการศึกษา ภายในปี ๒๕๖๐ - ทำให้ข้อสอบ O-Net สอดคล้องกับการเรียนการสอน - จัดทำ Test Blue Print - ให้มีการจัดทำ Item Card - ให้ความสำคัญกับกระบวนการคัดเลือกคนออกข้อสอบและผู้ตรวจข้อสอบ - เฉลยข้อสอบ - วิเคราะห์ผล O-Net เพื่อนำไปปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
4
การทดสอบ ประเมินผล และประกันคุณภาพ
ภารกิจตามนโยบาย Mission Policy & Agenda Bureau การทดสอบ ประเมินผล และประกันคุณภาพ สทศ. (..) สวก. (..) การพัฒนาระบบการประเมินคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน การพัฒนาเครื่องมือวัดผล/ประเมินผลในชั้นเรียน (Formative/Summative Assessment) การพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลตามแนว PISA การสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการทดสอบกับ สทศ. สสวท. การพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพภายใน การวิเคราะห์และพัฒนาคลังข้อสอบเพื่อให้บริการ การเทียบวุฒิการศึกษา
5
ข้อเสนอเพื่อปรับระบบการทดสอบและประเมินคุณภาพผู้เรียน
School Assessment Local Assessment National Assessment ลดการประเมินให้น้อยลง ปรับปรุงหลักสูตร/มาตรฐานและตัวชี้วัด (ต้องรู้ ควรรู้) แจ้งโครงสร้างข้อสอบ (มาตรฐานและตัวชี้วัด ลักษณะข้อสอบ ตัวอย่างข้อสอบ) ล่วงหน้าก่อนสอบ พัฒนาแบบทดสอบที่ได้มาตรฐาน (วิเคราะห์คุณภาพข้อสอบ) ใช้ข้อสอบอัตนัยในการประเมินระดับชาติ ให้มีการเฉลยข้อสอบ จัดหาเครื่องมือประเภทอัตนัยให้กับสถานศึกษา พัฒนาคลังข้อสอบร่วมกันระหว่างสถาบันทดสอบฯ กับกระทรวงฯ พัฒนาครูและผู้เกี่ยวข้องด้านการทดสอบและการประเมินฯ
6
การทดสอบและประเมินคุณภาพผู้เรียน การประเมินคุณภาพผู้เรียน/คนทั่วไป
งานนโยบาย การทดสอบและประเมินคุณภาพผู้เรียน ข้อสอบกลาง ข้อสอบ NT ข้อสอบ การอ่าน ข้อสอบ Pre O-NET ข้อสอบ วัดระดับฯ การประเมินคุณภาพผู้เรียน/คนทั่วไป คลังข้อสอบออนไลน์
7
มาตรฐานการทดสอบ มาตรฐานด้านการบริหารการทดสอบ 1 2 3 4 5
มาตรฐานด้านผู้สร้างข้อสอบ 2 มาตรฐานด้านการพัฒนาแบบทดสอบ 3 มาตรฐานด้านการบริหารการทดสอบ 4 มาตรฐานด้านการพิมพ์ข้อสอบ และการตรวจให้คะแนน 5 มาตรฐานการรายงานผลการทดสอบ และการนำผลไปใช้
8
มาตรฐานด้านการพัฒนาแบบทดสอบ
การวิเคราะห์หลักสูตร จัดทำ Test Blueprint เขียนข้อสอบ หาคุณภาพก่อนใช้ ทดลองใช้ วิเคราะห์ผล Item & Test Analysis จัดฉบับ/คัดเลือกข้อสอบเข้าคลังข้อสอบ Empirical Review Logical Review 8
9
แนวทางการยกระดับผล NT และ O-NET ด้วยการพัฒนาระบบการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียน
พัฒนาระบบการทดสอบและประเมินผลในชั้นเรียน จัดกลุ่มคุณภาพโรงเรียนตามผลการประเมิน วางระบบการพัฒนา และการสนับสนุนส่งเสริมด้านการวัดและประเมินผล
10
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ
แนวทางที่ 1 การวิเคราะห์ผล O-NET เพื่อนำผลไปใช้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้/สาระ/ มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่า ร้อยละ 50 และ/หรือ ต่ำกว่าระดับประเทศ/สังกัด/จังหวัด/เขตพื้นที่/ ขนาดโรงเรียนเดียวกัน การวิเคราะห์ผลการทดสอบ O-NET ปีที่ผ่านมาเทียบกับเกณฑ์เพื่อนำมากำหนดเป้าหมายในการพัฒนา การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อคะแนน O-NET
11
เตรียมความพร้อมการสอบ O-NETกับครูผู้สอนและผู้บริหารทุกคน
ผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint) รูปแบบข้อสอบ (Item Form) ตัวอย่างข้อสอบแต่ละรูปแบบ ตัวอย่างกระดาษคำตอบและเกณฑ์การให้คะแนน ก่อนการสอบ O-NET สทศ.ได้นำตัวอย่างกระดาษคำตอบรูปแบบข้อสอบ และเนื้อหาการสอบ O-NET เผยแพร่บนเว็บไซต์ สทศ. ( เพื่อให้โรงเรียน ครู อาจารย์ และนักเรียน ได้เตรียมความพร้อมล่วงหน้าก่อนสอบ
12
แนวทางที่ 3 พัฒนาระบบการทดสอบและประเมินผลในชั้นเรียน (Classroom
Assessment) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน O (objective) มาตรฐานการเรียนรู้ L (Learning) การจัดการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน E (Evaluation) การประเมิน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง องค์ประกอบสำคัญของการจัดการเรียนรู้
13
แนวทางที่ 4 จัดกลุ่มคุณภาพโรงเรียนตามผลการประเมิน
1. จัดกลุ่มสถานศึกษาจากผลการทดสอบ O-NET ออกเป็นกลุ่มคุณภาพ 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มดีมาก กลุ่มดี กลุ่มพอใช้ และกลุ่มปรับปรุง เพื่อวางแผนในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังต่อไปนี้ พอใช้ เพิ่มหัว หดหาง
14
1.1 วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ที่ต้อง ปรับปรุงเร่งด่วนของแต่ละสถานศึกษาแต่ละแห่ง - ค้นหาสถานศึกษาที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย - เนื้อหาสาระการเรียนรู้ที่ต้องแก้ไข 1.2 วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ (พิจารณาจากสภาพบริบทต่างๆของสถานศึกษา) ของแต่ละสถานศึกษา เน้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเป็นหลัก - แหล่งสาเหตุของปัญหา - ปัญหา/อุปสรรค - จุดแข็ง/โอกาส - แนวทางการแก้ปัญหา
15
1.3 กำหนดกลยุทธ์และแผนยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนของ แต่ละเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ที่สอดคล้องสาเหตุของสภาพ ปัญหา ปัญหา ร.ร.1 แนวทาง แก้ไขปัญหา ปัญหา ร.ร.2 บุคลากร ปัญหา ร.ร.3 กลยุทธ์ งบประมาณ ปัญหา ร.ร.4 การบริหารจัดการ แนวทาง แก้ไขปัญหา ปัญหา ร.ร…. สื่ออุปกรณ์ แนวทาง แก้ไขปัญหา ปัญหา ร.ร….
16
แนวทางที่ 5 วางระบบการพัฒนา และการสนับสนุนส่งเสริม ด้านการวัดและประเมินผล
1. สพฐ. ร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการโครงการที่ ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาคุณภาพการศึกษาสถานศึกษา ตามจุดเน้นที่กำหนดไว้ รวมทั้งสนับสนุนงบประมาณให้แก่ เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในการยกระดับคุณภาพ ด้านการวัดและประเมินผล 2. สอบ Pre O-NET นักเรียนในระดับชั้นที่ทำการทดสอบ O-NETเพื่อเป็นสร้างความคุ้นเคยเกี่ยวกับข้อสอบให้แก่ผู้เรียน รวมทั้งนำผลการทดสอบ Pre O-NET มาจัดทำแผนพัฒนา ผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างเร่งด่วน เพื่อให้ผู้เรียนมีศักยภาพ เพียงพอที่จะทำการทดสอบ
17
3. พัฒนาคุณภาพในลักษณะของ “สถานศึกษาคู่พัฒนา”
3.1 จับคู่สถานศึกษาในกลุ่มดีมากกับกลุ่มต้องปรับปรุงที่มีสภาพบริบทและสถานที่ตั้งอยู่ใกล้เคียงกันเป็น “สถานศึกษาคู่พัฒนา” โดยสถานศึกษาในกลุ่มดีมากจะคอยเป็นพี่เลี้ยงชี้แนะ (Coaching) ถ่ายทอดประสบการณ์ในการยกระดับคุณภาพของตนเองให้แก่กลุ่มต้องปรับปรุง 3.2 สถานศึกษาที่อยู่กลุ่มปรับปรุง กำหนดแผนงานในการยกระดับคุณภาพการศึกษาด้วยวิธีการที่หลากหลายภายใต้การชี้แนะของสถานศึกษาที่เป็นคู่พัฒนา เช่น การวิเคราะห์มาตรฐานและสาระการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน การจัดค่ายอบรมวิชาการ การสอนเสริมภายในโรงเรียน การจัดทีมพี่เลี้ยงคอยช่วยเหลือสถานศึกษา (Roving Team) เป็นต้น
18
สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประเด็นที่ควรรับรู้เกี่ยวกับการทดสอบ และการประเมินผลปีการศึกษา 2560 นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
19
ประเด็นที่ควรรับรู้ : การทดสอบและการประเมินผลปีการศึกษา 2560
การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1
20
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การสอบ NT จุดประสงค์การทดสอบ NT เป็นการทดสอบความสามารถพื้นฐานที่สะท้อนถึงคุณภาพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ผู้ดำเนินการจัดสอบ คือ สทศ.สพฐ. ขอบเขตการทดสอบ คือ ความสามารถพื้นฐานสำคัญของนักเรียนชั้น ป.3 ใน 3 ด้าน คือ ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล (Reasoning Ability) เป้าหมาย คือ นักเรียนชั้น ป.3 ทุกสังกัด ยกเว้นสถานศึกษาในสังกัดสำนักการบริหารการศึกษาเอกชนบางแห่ง ที่ให้ขึ้นอยู่กับสภาพความพร้อมและความสมัครใจ
21
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การสอบ NT รูปแบบของข้อสอบ NT ข้อสอบแบบเลือกตอบ จำนวน 27 ข้อ ข้อสอบแบบเขียนตอบสั้น จำนวน 2 ข้อ และแบบเขียนตอบอิสระ จำนวน 1 ข้อ โครงสร้างข้อสอบ ศึกษาได้ที่ การดำเนินงานของ สพฐ. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่เขตพื้นที่การศึกษา (ศูนย์สอบ) จัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานให้แก่ศูนย์สอบ จัดพิมพ์ข้อสอบและกระดาษคำตอบ รับส่งข้อสอบไปยังศูนย์สอบทั่วประเทศ ตรวจเยี่ยมสนามสอบ ประมวลผล ประกาศผลสอบผ่านระบบ NT Access และรายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องNT
22
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การสอบ NT การดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบ ร่วมประชุมวางแผนในการบริหารจัดการสอบระดับศูนย์สอบ ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบของสถานศึกษาในศูนย์สอบผ่านระบบ NT Access จัดสนามสอบและประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่กรรมการสนามสอบ ดำเนินการจัดสอบและตรวจเยี่ยมสนามสอบ รายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง การดำเนินงานของสถานศึกษา กรอกข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบผ่านระบบ NT Access ตรวจสอบและยืนยันข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบของสถานศึกษาผ่านระบบ NT Access ดำเนินการจัดสอบให้เป็นมาตรฐาน
23
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การสอบ NT ระยะเวลาดำเนินงานสอบ NT ประชุมชี้แจงเขตพื้นที่ฯ กลางเดือนพฤศจิกายน 2560 วันสอบ คือ วันที่ 7 มีนาคม 2561 วันประกาศผลสอบ คือ วันที่ 30 เมษายน 2561 แหล่งสืบค้นข้อมูลการสอบ NT กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สทศ. สพฐ. เบอร์โทรศัพท์ เว็บไซต์สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
24
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การสอบ O-NET การสอบ O-NET (Ordinary National Educational Testing) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หน่วยงานจัดสอบ คือ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) จำนวนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ทดสอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 4 กลุ่ม คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 5 กลุ่ม คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ หน่วยงานที่ออกข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ คือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ (สสวท.)
25
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การสอบ O-NET ข้อสอบ O-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น ป.6 มีข้อสอบแบบเขียนตอบ/อัตนัย น้ำหนักคะแนนเป็น 20% ของคะแนนเต็ม รายละเอียดกรอบโครงสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) ศึกษาได้ที่ การดำเนินงานของ สพฐ. จัดส่งมาตรฐานและตัวชี้วัดต้องรู้ให้กับสถาบันทดสอบฯ ใช้เป็นกรอบในการทดสอบ ร่วมมือกำหนดกรอบโครงสร้างข้อสอบ(Test Blueprint) ชี้แจงประชาสัมพันธ์ให้สถานศึกษาและหน่วยงานในสังกัดได้รับทราบ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ไม่ได้สอบ O-NET กำหนดให้สถานศึกษาเป็นผู้ดำเนินการประเมินคุณภาพผู้เรียน โดยมีเขตพื้นที่ และ สพฐ.ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน โดยรูปแบบและแนวทางปฏิบัติในการประเมินยึดตามประกาศ สพฐ. ลงวันที่ 22 มิถุนายน 2560 ศึกษารายละเอียดได้ที่
26
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การสอบ O-NET การดำเนินงานเขตพื้นที่การศึกษา ชี้แจงกรอบโครงสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) ให้สถานศึกษา และหน่วยงานในสังกัดได้รับทราบ ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาให้มีความพร้อมสำหรับการทดสอบ O-NET บริหารจัดการสอบ และประสานความร่วมมือกับสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) สพฐ. และสนามสอบ ตรวจเยี่ยมสนามสอบ และรายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง การดำเนินงานของสถานศึกษา ชี้แจงกรอบโครงสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) และรูปแบบข้อสอบให้ผู้เรียนทราบ เตรียมความพร้อมนักเรียนสำหรับการสอบ O-NET รายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
27
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การสอบ O-NET ระยะเวลาสอบ O-NET ป.6 สอบวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ประกาศผลสอบวันที่ 25 มีนาคม 2561 ม.3 สอบวันที่ 3 – 4 กุมภาพันธ์ ประกาศผลสอบวันที่ 26 มีนาคม 2561 ม.6 สอบวันที่ 3 – 4 มีนาคม ประกาศผลสอบวันที่ 3 เมษายน 2561 แหล่งสืบค้นข้อมูลการสอบ O-NET สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เบอร์โทรศัพท์ เว็บไซต์สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
28
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 ความสำคัญของการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 เป็นการดำเนินงานตามนโยบายให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง ภายใต้โครงการ “พลิกโฉมโรงเรียนทำให้นักเรียน ป.1 อ่านออกเขียนได้ใน 1 ปี” สทศ.สพฐ. เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพผู้เรียน ได้พัฒนาเครื่องมือประเมินด้านการอ่านที่ได้มาตรฐาน เพื่อให้เขตพื้นที่และสถานศึกษาได้ดำเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนชั้น ป.1 ทุกสังกัดทั่วประเทศ ขอบเขตความสามารถด้านการอ่าน มี 2 ด้าน คือ 1) การอ่านออกเสียง และ 2) การอ่านรู้เรื่อง มีเป้าหมายเพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษามีข้อมูลนักเรียนรายบุคคลสำหรับการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพผู้เรียนต่อไป
29
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 4. กรอบโครงสร้างข้อสอบ สมรรถนะด้านการอ่านออก มีตัวชี้วัดตามหลักสูตร ดังนี้ อ่านออกเสียง คำคล้องจอง ข้อความสั้น ๆ หรือประโยคสั้นที่ใช้ในชีวิตประจำวัน (คำที่มีรูปวรรณยุกต์ และไม่มีรูปวรรณยุกต์ คำที่มีตัวสะกดตรงมาตรา และไม่ตรงมาตรา คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ คำที่มีอักษรนำ) สมรรถนะด้านอ่านรู้เรื่อง มีตัวชี้วัดตามหลักสูตร คือ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง สำหรับเด็ก (เป็นข้อความง่าย ๆ) จับใจความจากเรื่องที่อ่าน ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของคำ/เครื่องหมายสัญลักษณ์ที่สำคัญ ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน คาดคะเนจากเรื่องที่อ่าน รายละเอียดโครงสร้างข้อสอบ ดูได้ที่
30
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 การดำเนินงานของ สพฐ. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานประเมินการอ่าน ป.1 แก่เขตพื้นที่ (ศูนย์สอบ) จัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานให้แก่ศูนย์สอบ จัดพิมพ์ข้อสอบ พร้อมทั้งรับส่งไปยังศูนย์สอบทั่วประเทศ ตรวจเยี่ยมสนามสอบ ประมวลผล ประกาศผลสอบผ่านระบบ NT Access รายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง การดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบ ร่วมประชุมวางแผนในการบริหารจัดการสอบการอ่านระดับศูนย์สอบ ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบของสถานศึกษาในศูนย์สอบผ่านระบบ NT Access จัดสนามสอบและประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่กรรมการสนามสอบ ดำเนินการจัดสอบ ตรวจข้อสอบ และส่งผลการทดสอบการอ่านไปยัง สพฐ. ผ่านระบบ NT Access สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
31
การดำเนินงานของสถานศึกษา
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560 : การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 การดำเนินงานของสถานศึกษา กรอกข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบการอ่านผ่านระบบ NT Access ตรวจสอบและยืนยันข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบของสถานศึกษา ผ่านระบบ NT Access ดำเนินการจัดสอบ ส่งผลการทดสอบการอ่านไปยังศูนย์สอบ รายงานผลการทดสอบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
32
การทดสอบและการประเมินผล ปีการศึกษา 2560
: การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ชั้น ป.1 ระยะเวลาดำเนินงานประเมินการอ่าน ป.1 จัดประชุมชี้แจงเขตพื้นที่การศึกษา กลางเดือนพฤศจิกายน 2560 ช่วงเวลาประเมิน (ยืดหยุ่นกับสถานศึกษา) ระหว่างวันที่ 19 – 23 กุมภาพันธ์ 2561 ประกาศผลประเมินการอ่าน วันที่ 2 เมษายน 2561 แหล่งสืบค้นข้อมูลการประเมินการอ่าน ป.1 กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สทศ. สพฐ. เบอร์โทรศัพท์ เว็บไซต์สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
33
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน
ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง การสอบ Pre O-Net การสร้างความเข้มแข็งของระบบการวัดและประเมินผล
34
: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 แนวทางการดำเนินงานการใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ความสำคัญ เป็นไปตามประกาศ เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียน ลงวันที่ 18 เมษายน 2557 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถานศึกษามีการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมในการยกระดับคุณภาพนักเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและเรียนรู้ได้ ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 แนวทางดำเนินงาน ให้สถานศึกษาใช้ข้อสอบกลางที่พัฒนาโดย สพฐ. (ส่วนกลาง) ไปใช้ในการสอบปลายปี ซึ่งถือเป็นการประเมินระดับชั้นเรียน/สถานศึกษา ไม่ใช่เป็นการประเมินระดับชาติ การใช้ผลจากการข้อสอบมาตรฐานกลาง นำคะแนนสอบที่ได้ไปคิดเป็นคะแนนร้อยละ 20 ของคะแนนสอบปลายภาคทั้งหมด ระดับชั้นที่ใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง คือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 และมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2
35
: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 ลักษณะและจำนวนของข้อสอบมาตรฐานกลางแต่ละระดับชั้น ลักษณะข้อสอบมาตรฐานกลาง วัดในตัวชี้วัดที่สำคัญและเน้นทักษะการคิดขั้นสูง (คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้แบบทดสอบมาตรฐานกลาง - ชั้น ป.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย - ชั้น ป.4-5 คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ - ชั้น ม.1-2 คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ และภาษาต่างประเทศ
36
: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 การดำเนินงานของ สพฐ. สร้างและพัฒนาข้อสอบมาตรฐานกลาง จัดส่งกรอบโครงสร้างแบบทดสอบ พร้อมข้อสอบในแต่ละระดับชั้นในกลุ่มสาระการเรียนรู้ละ 1 ฉบับ และคู่มือการดำเนินการจัดสอบ เพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการจัดสอบที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน การดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา ดำเนินการจัดสอบให้เป็นมาตรฐาน โดยจัดสอบพร้อมกันทั้งเขต ตามความพร้อมของเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกัน ต้องสอบพร้อมกันในเวลาเดียวกัน ตามวันเวลาที่กำหนด (อาจดำเนินการสอบโดยรวมกับข้อสอบในวิชาเดียวกัน และดำเนินการสอบไปพร้อมกับการจัดสอบปลายภาคเรียนที่สองของสถานศึกษาได้)
37
: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 การดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา ส่งผลการสอบในภาพรวมของเขตพื้นที่การศึกษา จัดทำแบบบันทึกคำตอบรายข้อ และคะแนนของนักเรียนรายบุคคลในแต่ละชั้นที่จัดสอบ โดยการสุ่มสถานศึกษาในแต่ละขนาดสถานศึกษา ดังนี้ 1) สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษหรือขนาดใหญ่ จำนวน 2 แห่ง 2) สถานศึกษาขนาดกลาง จำนวน 5 แห่ง 3) สถานศึกษาขนาดเล็ก (มีนักเรียนไม่น้อยกว่า 10 คน/ชั้น) จำนวน 10 แห่ง
38
: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 การดำเนินงานของสถานศึกษา ดำเนินการจัดสอบให้เป็นมาตรฐาน โดยร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษากำหนดวันเวลาสอบภายในวันเวลาที่กำหนด ดำเนินการตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์การตรวจให้คะแนนที่กำหนด นำข้อมูลผลการสอบคิดเป็นร้อยละ 20 ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน ไปรวมกับคะแนนสอบปลายภาคเรียนและคะแนนเก็บ เพื่อตัดสินผลการเรียน บันทึกข้อมูลผลการสอบข้อสอบมาตรฐานกลางส่งเขตพื้นที่การศึกษา
39
: การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 ระยะเวลาดำเนินงาน จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่เขตพื้นที่ฯ วันที่ มกราคม 2561 ส่งข้อสอบให้เขตพื้นที่การศึกษา วันที่ 31 มกราคม 2561 กำหนดจัดสอบ - ระดับประถมศึกษา วันที่ 26 กุมภาพันธ์ – 6 มีนาคม 2561 - ระดับมัธยมศึกษา วันที่ กุมภาพันธ์ 2561
40
สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสอบด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง ปีการศึกษา 2560 สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสอบด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง กลุ่มพัฒนาเครื่องมือและบริการการทดสอบ สทศ.สพฐ. เบอร์โทรศัพท์ เว็บไซด์สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
41
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน
ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การสอบ Pre O-Net แนวทางดำเนินงาน สทศ.สพฐ. สร้างและพัฒนาข้อสอบมาตรฐานวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อให้บริการแก่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ใช้ประเมินความพร้อมของนักเรียนในการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ข้อสอบ Pre O-NET ข้อสอบระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ข้อสอบมี 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
42
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน
ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การสอบ Pre O-Net ลักษณะและจุดมุ่งหมายของการสร้างข้อสอบ Pre O-NET รูปแบบของข้อสอบเป็นไปตามแนวทางข้อสอบ O-NET วัดในตัวชี้วัดสำคัญ และเน้นการคิดขั้นสูง (คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์) ใช้เพื่อตรวจสอบความพร้อมของนักเรียน และมีข้อมูลสำหรับนำไปกำกับติดตามสถานศึกษาในสังกัดเร่งแก้ไขปรับปรุงผลการสอบสถานศึกษาที่ผลสัมฤทธิ์ต่ำ ก่อนจะสอบ O-NET เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนเห็นความสำคัญของการสอบมากขึ้น ให้นักเรียนคุ้นเคยกับรูปแบบข้อสอบ และได้รับประสบการณ์ในการทำข้อสอบและระบายคำตอบ
43
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน
ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การสอบ Pre O-Net การดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา แจ้งความประสงค์ในการใช้แบบทดสอบ Pre O-NET รับต้นฉบับข้อสอบ Pre O-NET จาก สพฐ. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาดำเนินการสอบ Pre O-NET การจัดสอบ Pre O-NET ขึ้นอยู่กับความพร้อม/ความสมัครใจของเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
44
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน
ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การสอบ Pre O-Net ระยะเวลาในการดำเนินงานสอบ Pre O-NET สพฐ. จัดส่งข้อสอบให้เขตพื้นที่ฯ วันที่ 6-8 ธันวาคม 2560 เขตพื้นที่ดำเนินการสอบ วันที่ 9 ธันวาคม มกราคม 2561 สืบค้นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสอบ Pre O-NET กลุ่มพัฒนาเครื่องมือและบริการการทดสอบ สทศ.สพฐ. เบอร์โทรศัพท์ เว็บไซด์สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
45
: การสร้างความเข้มแข็งของระบบการวัดและประเมินผล
นโยบายการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ของ สทศ. สพฐ. : การสร้างความเข้มแข็งของระบบการวัดและประเมินผล วิเคราะห์ผลการสอบ O-NET เพื่อนำผลไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการศึกษา พัฒนาบุคลากรทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ในการยกระดับคุณภาพของผู้เรียนในการทดสอบระดับชาติ (O-NET) และเพื่อพัฒนาระบบการวัดและประเมินในชั้นเรียน ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ (ช่วงเมษายน-พฤษภาคม 2561) สร้างเครือข่ายและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลด้วยการจัดโครงการสัมมนาชุมนุมนักวัดและประเมินผลฯ ให้บริการคลังข้อสอบแบบปรนัยและอัตนัยในลักษณะออนไลน์ (ช่วงภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2560) สนับสนุนงบประมาณดำเนินงานให้แต่ละเขตพื้นที่ดำเนินงานยกระดับคุณภาพฯ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.