ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สรุปผลการตรวจราชการ รอบ 2 คณะที่ 4 การบริหารจัดการ
ดอกพะยอม ดอกพิกุล ดอกสะเดาเทียม ดอกศรีตรัง ดอกชบา ดอกบานบุรี ดอกกาหลง นายแพทย์ดุษฎี คงตระกูลทรัพย์ นายแพทย์เชี่ยวชาญ ด้านเวชกรรมป้องกัน สสจ.พัทลุง ประธานคณะที่ 4
2
1. การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
2. การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ประเด็น การตรวจราชการ 3. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 4. การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 5. บริหารจัดการด้านการเงินการคลัง 6. การพัฒนางานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ 7. ตรวจสอบภายใน
3
การประเมินผลตัวชี้วัด
ลำดัjบ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ผลการประเมิน 1. หน่วยงานผ่านการประเมิน ITA ระดับ 3 ระดับ 4 ผ่านเกณฑ์ 2. จัดซื้อยาร่วม/เวชภัณฑ์ฯ/วัสดุวิทย์/ วัสดุทันตกรรม >=20% 32.14% 3. หน่วยงานผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย การระบุสาเหตุการตายไม่แจ้งชัด <=25% 33.60% ไม่ผ่านเกณฑ์ 4. ประชากรเข้าถึงการแพทย์ฉุกเฉิน >95.5% 77.52% 5. หน่วยบริการวิกฤติด้านการเงิน ระดับ 7 <8% 2.57% 6. ผลการวิจัย/R2R นำไปใช้ประโยชน์ N/A
4
1.การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
จังหวัด เป้าหมาย ผลงาน ผลการประเมิน พัทลุง ระดับ 3 ระดับ 5 ผ่านเกณฑ์ สงขลา ระดับ 4 ตรัง ยะลา ปัตตานี นราธิวาส สตูล รวม
5
2. การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา
มูลค่าการจัดซื้อยาร่วม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อยาทั้งหมด ผลการดำเนินงาน ผ่านเกณฑ์ ( ร้อยละ ) สูงสุด 37.59% คือ จังหวัดสตูล ต่ำสุด 22% คือ จังหวัดตรัง มีการพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาตามระเบียบ กระทรวงสาธารณสุขฯพ.ศ ครบทุกข้อ คือ 1. มีการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในทุกระดับ 2. มีกรอบและบัญชีรายการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่สอดคล้องและลดหลั่นตามระดับสถานบริการเป้าหมายหรือเจตนารมณ์
6
ประเด็น การตรวจราชการ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ
3. ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ ประเด็น รายละเอียด ตัวชี้วัด จังหวัดและหน่วยบริการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล ประเด็น การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 1. คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย - ร้อยละของการระบุสาเหตุการตายไม่แจ้งชัด (ill-define) ไม่เกินร้อยละ 25 2. คุณภาพข้อมูลบริการสุขภาพ - คุณภาพข้อมูลเวชระเบียน การบันทึกข้อมูลและการวินิจโรคมีความครบถ้วน ถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 เป้าหมายพื้นที่ โรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
7
ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ : คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย (ill-define)
ปี 2559 ประเทศ เขต 12 ใน นอก เกณฑ์ 60 ill-define ( 9 ด.) (ต.ค.59 – มิ.ย. 60) 32 33.7 16.65 44.25 <=25% เขต Ill-define รวม สถานพยาบาล ใน นอก เขต 1 27.2 13.78 34.93 เขต 2 31.5 14.75 47.41 เขต 3 29.4 11.92 46.31 เขต 4 30.5 14.18 53.92 เขต 5 32.7 15.03 51.84 เขต 6 28.0 13.95 47.84 เขต 7 29.3 21.32 31.98 เขต 8 31.9 21.85 35.58 เขต 9 33.7 15.42 46.32 เขต 10 30.2 20.97 34.65 เขต 11 32.3 16.65 47.20 เขต 12 33.6 17.13 43.64 ประเทศ 15.56 42.93 ร้อยละการตายที่ระบุสาเหตุไม่แจ้งชัด ภาพรวม ใน-นอกสถานพยาบาล ของจังหวัด/ เขตสุขภาพที่ 12 และภาพรวมประเทศ ปี 2560 (ข้อมูล ต.ค.59-มิ.ย. 60: 9 เดือน) เกณฑ์ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอการพัฒนา การขาดความรู้ในการสรุปสาเหตุการตาย ทั้งบุคลากรทางการแพทย์และนายทะเบียนของมหาดไทย จังหวัด/เขต อบรมฟื้นฟูความรู้ให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ ส่วนกลางควรมีการพัฒนาคุณภาพข้อมูลสาเหตุการตายร่วมกับกระทรวงมหาดไทย (นายทะเบียน)
8
4. การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
การบริหารจัดการ การแพทย์ฉุกเฉิน ภายในจังหวัด ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินงาน การแพทย์ฉุกเฉินของจังหวัด ประเด็น การตรวจ ราชการ ความครอบคลุมของ หน่วยปฏิบัติการในพื้นที่ การบันทึกข้อมูลในโปรแกรม ระบบสารสนเทศการ แพทย์ฉุกเฉิน(ITEMS)
9
การบริหารจัดการภายในจังหวัด
ผลการดำเนินงาน : ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ตาราง ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2560 รายจังหวัด ลำดับ จังหวัด ผลงาน ปี 2559 เป้าหมาย ปี 2560 ผลงาน ปี 2560 ร้อยละ 1 จ. ตรัง 14,780 16,435 12,813 74.45 2 จ. พัทลุง 11,921 12,455 9,860 75.60 3 จ. สตูล 13,163 14,252 9,519 63.54 ๔ จ. สงขลา 25,555 27,344 22,791 79.47 ๕ จ. ปัตตานี 7,688 10,733 8,406 74.79 ๖ จ. ยะลา 12,948 15,182 11,646 73.26 ๗ จ. นราธิวาส 12,497 14,396 10,934 72.53 รวมทั้งเขต๑๒ 94,898 110,894 85,969 77.52 รวมทั้งประเทศ 1,469,750 1,605,306 1,163,422 72.47 การบริหารจัดการภายในจังหวัด
10
5. บริหารจัดการด้านการเงินการคลัง
ประเด็นตรวจราชการ : การบริหารจัดการการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ เพื่อแก้ปัญหาวิกฤติทางการเงิน เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ 8 ของหน่วยบริการในพื้นที่ ผลการดำเนินงาน : ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2560 หน่วยบริการประสบปัญหาวิกฤติทางการเงินระดับ 7 มีจำนวน 2 แห่ง
11
1. จัดสรรแล้วหน่วยบริการมีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย
7. สร้างเครือข่ายด้านการเงิน การคลังและพัฒนาศักยภาพบุคลากร 2. ตรวจสอบบัญชีหน่วยบริการ ทุกแห่ง ประเด็น การตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น 6. ประเมินประสิทธิภาพ ในการดำเนินงานโดยใช้ดัชนี 7 ตัว (7 Plus) 3. คะแนนคุณภาพบัญชี ผ่านเกณฑ์ 5. การประเมินกระบวนการทำงาน (FAI) 4. การบริหารและกำกับแผนการเงินการคลัง(PlanFin60) ทุกเดือน
13
ประเด็นการตรวจราชการ
แผนทางการเงิน (Planfin) มีความทันเวลา ครบถ้วน ถูกต้อง ผลต่างของแผนและผลไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5) หน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกินค่า mean+1SD ของหน่วยบริการเดียวกัน หน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพมากกว่า 4 ตัว จากเกณฑ์ประเมิน 7 ตัว (B) หน่วยบริการมีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI>90 หน่วยบริการผ่านเกณฑ์คะแนนคุณภาพบัญชีด้วยการตรวจทางอิเล็กทรอนิกส์ 100 คะแนน เครือข่าย CFO/Auditor ระดับเขต/จังหวัด ผ่านการอบรม
14
การให้คะแนนตามเกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพ 7 ตัว
15
ผลการประเมินตามประเด็นการตรวจราชการ หัวข้อการบริหารการเงินการคลัง
ลำ ดับ ที่ จังหวัด 1.แผนทางการเงิน (Planfin) มีความทันเวลา ครบถ้วน ถูกต้อง 2.ผลต่างของแผนและผล ไม่เกิน ร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่าย สูงกว่า หรือต่ำกว่า แผนได้ ร้อยละ 5) 3.หน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ ไม่เกินค่าmean+1 SD ของหน่วยบริการในกลุ่มระดับเดียวกัน ≥ ร้อยละ 80 4.หน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพ มากกว่า 4 ตัว จากเกณฑ์ประเมิน 7 ตัว ร้อยละ 50 5.หน่วยบริการมีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI >90 6.หน่วยบริการผ่านเกณฑ์คะแนนคุณภาพบัญชีด้วยการตรวจทางอิเล็ก ทรอนิกส์ 100 คะแนน ร้อยละ 85 7.เครือข่าย CFO/Auditor ระดับเขต/จังหวัดผ่านการอบรม ร้อยละ 80 1 ตรัง 10 ไม่ผ่าน 7 6 2 พัทลุง 11 8 3 สตูล 4 สงขลา 17 15 5 ปัตตานี 12 ยะลา นราธิวาส 13 9 รวมเขต 12 78 58 59 คิดเป็นร้อยละ 100 74.36 75.64 ผลการประเมิน ผ่าน
16
จำนวนโรงพยาบาลที่มีวิกฤติระดับ 7 ปี 2558 - 2560
จังหวัด Risk Scoring ( ) ปี 2558 (แห่ง) ปี 2559 (แห่ง) ปี 2560 (แห่ง) Q1 Q2 Q3 Q4 ตรัง 2 1 พัทลุง 5 3 4 สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวมเขต 12 12 8 16 10 14
17
สถานการณ์ทางการเงิน ไตรมาส 3 ปี 2560 ในเขต 12
ID Org CR QR Cash NWC NI+Depreciation 1 ตรัง 1.67 1.51 1.20 455,168,219.29 141,464,832.60 2 พัทลุง 1.26 1.13 0.86 105,845,638.22 75,787,237.82 3 สตูล 1.14 0.81 71,713,593.70 165,926,275.90 4 สงขลา 1.27 1.18 0.93 482,876,229.59 177,609,302.62 5 ปัตตานี 2.07 1.91 1.58 400,441,977.22 375,682,639.15 6 ยะลา 2.08 1.92 1.62 596,371,363.58 324,714,653.06 7 นราธิวาส 3.02 2.80 2.42 648,276,654.25 238,688,742.90 รวมเขต 12 1.80 1.66 1.35 2,760,693,675.85 1,499,873,684.05
18
ผลการประเมินประสิทธิภาพทางการเงิน มากกว่า 4 ตัว จากเกณฑ์ประเมิน 7 ตัว ไตรมาส 3 ปี 2560
จังหวัด จำนวน รพ. ผลการประเมิน ผ่าน ร้อยละ ไม่ผ่าน ตรัง 10 6 60.00 4 40.00 พัทลุง 11 8 72.73 3 27.27 สตูล 7 85.71 1 14.29 สงขลา 17 64.71 35.29 ปัตตานี 12 100 0.00 ยะลา 87.50 12.50 นราธิวาส 13 9 69.23 30.77 รวมเขต 12 78 59 75.64 19 24.36 3 อันดับแรกที่ไม่ผ่านเกณฑ์ คือ 1. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้การค้า ไม่ผ่าน 60 แห่ง (ร้อยละ 76.92) 2. ประสิทธิภาพการทำกำไร ไม่ผ่าน 34 แห่ง (ร้อยละ 43.59) 3. อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ ไม่ผ่าน 30 แห่ง (ร้อยละ 38.46)
19
เป้าหมาย มีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI>90
ลำดับ จังหวัด ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ร้อยละ 1 ตรัง 90.80 96.00 99.60 2 พัทลุง 83.27 99.09 3 สตูล 72.57 91.71 90.86 4 สงขลา 80.94 93.29 96.82 5 ปัตตานี 82.17 95.00 93.00 6 ยะลา 72.25 96.25 91.75 7 นราธิวาส 74.46 89.23 94.15 เป้าหมาย มีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI>90 สำหรับการประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง เดิมใช้ระบบการประเมินตนเอง แต่ในปี 2559 กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายให้ใช้วิธีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันประเมินภายในเขต ทั้งนี้ทางด้านกระทรวงฯ ยังไม่ได้กำหนดเวลาในการประเมิน ทำให้คะแนน FAI ของปีงบประมาณ 2559 จึงยังไม่มีผลลัพธ์ที่ชัดเจน ดังนั้นข้อมูลคะแนน FAI ล่าสุดจึงเป็นผลลัพธ์ของการดำเนินงานในปีไตรมาสที่ 4 ของปีงบประมาณ 2558
20
แผนประมาณการรายได้ ควบคุมค่าใช้จ่าย ปี 2560 (รอบ 9 เดือน)
ลำดับ จังหวัด รายได้ แผนรายได้ ได้จริง ส่วนต่างรายได้ ร้อยละ 1 ตรัง 4,665,023,231.13 4,601,535,032.13 ,488,199.00 2 พัทลุง 938,341,448.64 1,031,152,010.36 92,810,561.72 9.89 3 สตูล 1,993,366,539.56 2,123,707,195.28 130,340,655.72 6.54 4 สงขลา 1,438,526,892.74 1,518,417,122.20 79,890,229.46 5.55 5 ปัตตานี 1,984,383,692.60 2,169,161,054.64 184,777,362.05 9.31 6 ยะลา 1,877,323,353.89 2,082,277,528.21 204,954,174.32 10.92 7 นราธิวาส 2,423,290,827.47 2,540,160,164.22 116,869,336.75 4.82 รวม 15,320,255,986.04 16,066,410,107.04 746,154,121.01 4.87 ภาพรวมเขต 12 ผ่านเกณฑ์ (ผลต่างไม่เกิน ± ร้อยละ 5)
21
แผนรายจ่าย เทียบกับรายจ่าย และส่วนต่างค่าใช้จ่าย ( 9 เดือน)
ลำดับ จังหวัด รายจ่าย แผนรายจ่าย จ่ายจริง ส่วนต่าง คชจ. ร้อยละ 1 ตรัง 4,588,680,800.05 4,423,925,729.51 ,755,070.54 2 พัทลุง 840,897,444.86 865,198,984.46 24,301,539.60 2.89 3 สตูล 1,938,487,096.07 1,981,073,359.10 42,586,263.04 2.20 4 สงขลา 1,447,035,335.73 1,442,629,888.08 ,405,447.65 5 ปัตตานี 1,777,697,736.68 1,793,487,720.02 15,789,983.34 0.89 6 ยะลา 1,815,707,101.53 1,757,323,864.15 ,383,237.38 7 นราธิวาส 2,317,131,074.98 2,301,729,174.54 ,401,900.44 รวมเขต 12 14,725,636,589.90 14,565,368,719.86 ,267,870.03 ภาพรวมเขต 12 ผ่านเกณฑ์ (ผลต่างไม่เกิน ± ร้อยละ 5)
22
ต้นทุนต่อหน่วยบริการ (Unit Cost: OPD IPD) ไตรมาส 3 ปี 2560
จังหวัด จำนวน รพ. ผลการประเมิน OP IP OP&IP จำนวน ร้อยละ ตรัง 10 100.00 พัทลุง 11 90.91 สตูล 7 3 42.86 5 71.43 สงขลา 17 15 88.24 9 52.94 ปัตตานี 12 4 33.33 2 16.67 0.00 ยะลา 8 6 75.00 62.50 37.50 นราธิวาส 13 46.15 15.38 1 7.69 รวมเขต 12 78 54 69.23 44 56.41 36
23
ผลการประเมินสัดส่วนของต้นทุนบริการ ต่อรายได้ค่ารักษาพยาบาล ไตรมาส 3 ปี 2560
จังหวัด จำนวน รพ. ผลการประเมิน ผ่าน ร้อยละ ไม่ผ่าน ตรัง 10 7 70.00 3 30.00 พัทลุง 11 100.00 0.00 สตูล 4 57.14 42.86 สงขลา 17 15 88.24 2 11.76 ปัตตานี 12 91.67 1 8.33 ยะลา 8 นราธิวาส 13 15.38 84.62 รวมเขต 12 78 58 74.36 20 25.64
24
สรุปผลการตรวจสอบคุณภาพบัญชี
จังหวัด A B C D รวม ตรัง 7 2 1 10 พัทลุง 6 4 11 สตูล สงขลา 17 ปัตตานี 12 ยะลา 8 นราธิวาส 5 13 31 22 20 78
25
เงินสดและเงินฝากธนาคาร
ร้อยละ จังหวัด
26
ระบบลูกหนี้ ร้อยละ
27
ระบบวัสดุคงเหลือ ร้อยละ
28
ระบบสินทรัพย์ ร้อยละ
29
ระบบเจ้าหนี้ ร้อยละ
30
ระบบเงินกองทุน/เงินรับฝาก/รับล่วงหน้า
ร้อยละ
31
ระบบรายได้ ร้อยละ
32
ระบบค่าใช้จ่าย ร้อยละ
33
ปัญหาและข้อเสนอแนะ
34
ระบบลูกหนี้และรายได้ค่ารักษาพยาบาล
ปัญหา ผลจากการตรวจสอบพบว่า โรงพยาบาลส่วนใหญ่ บันทึกบัญชีรับรู้รายได้ค่ารักษาพยาบาลไม่ครบถ้วน และไม่ตรงกับข้อมูลการให้บริการ การจัดทำทะเบียนคุมรายตัวลูกหนี้ค่ารักษา ฯ ไม่ครบถ้วน ไม่เป็นปัจจุบัน เนื่องจากข้อมูลการให้บริการมีมาก ไม่สามารถจัดทำทะเบียนคุมลูกหนี้รายตัวได้ แนวทางแก้ไข 1. ควรกำหนดเป็นนโยบายจากส่วนกลางให้ทุกโรงพยาบาลมีศูนย์จัดเก็บรายได้ ทำหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ และเรียกเก็บเงินค่ารักษาพยาบาลทุกสิทธิ 2. พัฒนาระบบการจัดเก็บรายได้ และการทำทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล โดยการนำ โปรแกรมสำเร็จรูป มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดข้อมูลการจัดเก็บรายได้ และทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล
35
โอกาสพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
36
ระบบวัสดุคงคลัง โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ
ระบบการรายงานวัสดุคงคลังไม่ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน ไม่มีการบันทึกของแถมในระบบบัญชีหรือบันทึกรายการของแถมโดยนำมาเฉลี่ยราคาต้นทุน กำหนดผู้รับผิดชอบคลังของแต่และประเภทจัดทำทะเบียนคุม และส่งรายงานการจัดซื้อ เบิกจ่าย และคงเหลือ ให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน โดยจัดส่งให้ งานบัญชีภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป รายการของแถมให้บันทึกเป็นรายได้บริจาคโดยอ้างอิงราคาตลาด
37
ระบบสินทรัพย์ถาวร โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ
ระบบการรายงานสินทรัพย์ถาวร การจัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย์ การคิดค่าเสื่อมราคา ไม่ถูกต้องและไม่เป็นปัจจุบัน บันทึกบัญชีผิดหมวดไม่เป็นไปตามคู่มือบัญชี เช่น นำมูลค่าสินทรัพย์ไปบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย กำหนดผู้รับผิดชอบในงานพัสดุให้จัดทำทะเบียนคุมสินทรัพย์ และคิดค่าเสื่อมราคาให้ถูกต้อง และตรวจสอบยอดคงเหลือให้ตรงกับงานบัญชีทุกสิ้นเดือน ให้ผู้รับผิดชอบบัญชีบันทึกบัญชีให้เป็นไปตามคู่มือบัญชีกระทรวงสาธารณสุข
38
ระบบเจ้าหนี้ โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ
ระบบการรายงานเจ้าหนี้ การรับรู้เจ้าหนี้ ไม่ถูกต้องและไม่เป็นปัจจุบัน ฝ่ายจัดซื้อที่เกี่ยวข้องจัดส่งเอกสารการจัดซื้อ/ ตรวจรับ ให้งานบัญชีอย่างช้าภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป งานบัญชีจัดทำทะเบียนคุมเจ้าหนี้ให้ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน งานบัญชีตรวจสอบยอดคงเหลือในทะเบียนคุมเจ้าหนี้ให้ตรงกับงบทดลองทุกสิ้นเดือน
39
โอกาสพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
นักบัญชีที่มีอายุงานไม่เกินหนึ่งปีให้ไปเรียนรู้งานจากพี่เลี้ยงจังหวัด ในโรงพยาบาลระดับ A (มีจำนวนทั้งหมด 5 โรงพยาบาล และได้ระดับคะแนนระดับ D) กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของนักบัญชีให้ชัดเจนตามบทบาทหน้าที่ (เนื่องจากภาระงานต้องมีการจัดทำ ตรวจสอบ และจัดส่งรายงานให้ทันเวลา)
40
โอกาสพัฒนา/ข้อเสนอแนะ
1. เกณฑ์และเครื่องมือประเมินในการตรวจราชการควรมีความพร้อมให้แล้วเสร็จทันตามกำหนดการตรวจราชการ 2. ควรมีผู้รับผิดชอบตรวจราชการจากกระทรวง ไม่ควรเป็นตัวแทนจากเขตหรือจังหวัด 3. เพิ่มนักบัญชีของหน่วยบริการ อย่างน้อยแห่งละ 2 คน
41
ปัจจัยความสำเร็จ 1. ผู้บริหารให้การสนับสนุน
2. มีโปรแกรมการจัดเก็บข้อมูลที่สมบูรณ์ 3. มีคณะติดตามพัฒนาระบบและกลไกการเฝ้าระวังฯ พัฒนาการจัดเก็บข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้องของบัญชีและข้อมูลรายงานทางการเงิน ประสานการจัดส่งรายงานทางการการเงิน ของหน่วยบริการ 4. มีการติดตามการส่งข้อมูลให้งานบัญชีตามกำหนดเวลา การบันทึกบัญชีให้เป็นไปตามนโยบายบัญชี การจัดส่งงบการเงินทางเว็บไซต์ภายในกำหนด
42
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
7. ตรวจสอบภายใน วิเคราะห์ผลการดำเนินงานในเชิงปริมาณ (Output)และ เชิงคุณภาพ Outcome/Impact)เปรียบเทียบจังหวัด เขต และประเทศ ลำดับที่ ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ พัทลุง สงขลา ตรัง ยะลา ปัตตานี นราธิวาส สตูล ๑ การแก้ไขข้อทักท้วงของการตรวจราชการและนิเทศงานรอบที่ ๑ ครบ ๑๐๐% ๘๐% ๕๐% ๑๐๐% ๘๓.๓๓% ๖๖.๖๖% ๒ การเบิกจ่ายเงิน “โครงการสนับสนุนเป็นเมืองศูนย์กลางบริการสุขภาพในอาเซียน” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ ไม่ได้รับจัดสรร หน่วยบริการมีการประเมินประสิทธิภาพการเงินการคลัง ๕ มิติ ตามความเสี่ยงที่แท้จริง ๔ หน่วยบริการดำเนินการจัดทำรายงานแผน-ผลการพัฒนาองค์กร ๕ มิติ จัดส่งให้กลุ่มตรวจสอบภายในฯ ภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ ครบทุกหน่วยบริการ ๕ รายงานผลการตรวจสบภายในตามแผนการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐ รอบ ๖ เดือน ระดับผลการดำเนินงาน ๓ เป้าหมายระดับคะแนน ๕ = ๑๐๐ % ๖๐%
43
ปัญหาและข้อเสนอแนะ ปัญหา
คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด มีภาระงานที่รับผิดชอบมาก ส่งผลต่อการจัดส่งรายงานต่างๆ อาจล่าช้าบ้าง ข้อเสนอแนะ - ปลูกจิตใต้สำนึกให้ข้าราชการมีความความตระหนักในการปฏิบัติงานให้ดำเนินการเป็นไปตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ - สนับสนุนให้ผู้รับผิดชอบงานต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติงาน เพื่อเป็นแนวทางหรือโอกาสในการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น - นำข้อเสนอแนะหรือข้อทักท้วงจากการตรวจสอบภายใน มาพัฒนาหรือปรับปรุงงานให้ดีขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.