ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยนีราชา เคนเนะดิ ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่าง ยั่งยืน
2
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน ความเป็นมา สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง โดยใช้ หลักการ ทฤษฎี และแนวทางแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรต่างๆ ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ
3
โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
วัตถุประสงค์ 1 เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรและชุมชน ด้วยการน้อมนำหลักการ ทฤษฎีและ แนวทางการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรต่างๆ ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้พระราชทานไว้ 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรทำการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน้นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน และเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรและชุมชน 3 เพื่อให้ ศพก. และเครือข่าย เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาภาคการเกษตรของชุมชนมีส่วนร่วมแบบประชารัฐอย่างยั่งยืน
4
โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
น้อมนำหลักการ ทฤษฎี และแนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชฯ ได้พระราชทานไว้ 2 การปฏิรูปภาคการเกษตรให้เกิดผลสำเร็จ สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชุม โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาและดำเนินโครงการ หลักการ/แนวคิด ให้ความสำคัญกับการสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก 3 ใช้ ศพก. เป็นศูนย์การเรียนรู้การเกษตรของชุมชน และกลไกขับเคลื่อน การพัฒนาการเกษตร 4 การสร้างความเข้มแข็งให้กับกลไกการทำงานในพื้นที่ ทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์และนำไปปฏิบัติจริง 5
5
เป้าหมายพื้นที่ 9,101 ชุมชน คุณสมบัติของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน เป้าหมายพื้นที่ : ชุมชนใน ศพก. หลัก 882 แห่ง ศพก. เครือข่าย 8,219 แห่ง คณะกรรมการระดับชุมชน 9,101 ชุมชน เป็นตัวแทนของชุมชน ในการสำรวจพื้นที่ วิเคราะห์ จัดเวทีชุมชน คุณสมบัติของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ เป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรกับกรมส่งเสริมการเกษตร และทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทุกสาขาอาชีพ รวมทั้งสมาชิก ศพก. และเครือข่าย จัดทำ โครงการ ขับเคลื่อนการ ดำเนินงานให้ เป็นไปตามแผน เป็นเกษตรกรที่มีความพร้อมในการเข้าร่วมโครงการที่ชุมชนให้ความเห็นชอบ เป็นเกษตรกรที่แสดงความจำนงและสนใจสมัครเข้าร่วมโครงการตามหลักเกณฑ์และรายละเอียดของโครงการ/กิจกรรมที่ชุมชนเห็นชอบ กำกับ ติดตาม และ ตรวจสอบการใช้ จ่ายงบประมาณ เป็นเกษตรกรที่ผ่านการพิจารณาคัดเลือกจากคณะกรรมการฯ ระดับชุมชนให้เข้าร่วมโครงการ รายงานผล
6
เป้าหมาย : 9,101 ชุมชน ใน ศพก. หลัก 882 แห่ง ศพก. เครือข่าย 8,219 แห่ง
สรุปโครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน ผลสัมฤทธิ์ : หลักการ : ชุมชนกำหนดโครงการผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและบริหารจัดการด้วยตนเอง ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้มแข็ง เกิดการเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจ และก่อให้กระแสเงินหมุนเวียนในชุมชน มีการบริหารจัดการด้านการเกษตรตรงตามความต้องการของ ชุมชน เป้าหมาย : 9,101 ชุมชน ใน ศพก. หลัก 882 แห่ง ศพก. เครือข่าย 8,219 แห่ง ระยะเวลาดำเนินโครงการ : ก.ค. – ก.ย. 60 กระบวนการ : ปศุสัตว์ การผลิตพืชพันธุ์พืช การผลิต ปุ๋ยอินทรีย์ ฟาร์ม ชุมชน การผลิตอาหาร การแปรรูป การจัดการ ศัตรูพืช ประมง ปรับปรุง บำรุงดิน กรอบ 8 กลุ่มกิจกรรม CBO แก้ไข ประเด็นพิจารณา อยู่ในกลุ่มกิจกรรม - เป็นไปตามหลักเกณฑ์/เงื่อนไข ชุมชน สนง.กษจ. อนุมัติ กลุ่มดำเนินการ คณะกรรมการระดับชุมชน คณะกรรมการระดับอำเภอ นอกกลุ่มกิจกรรม - ต้องการความเห็นเพิ่มเติม - นายอำเภอ เป็นประธาน SC เป็นกรรมการ เกษตรอำเภอ เป็นกรรมการ/เลขา - พิจารณาอนุมัติโครงการ/แผน - จัดเวทีชุมชนให้กลุ่มเกษตรกร/ องค์กรเกษตรกร - คัดเลือกคณะกรรมการฯ ระดับชุมชน - จัดทำรายละเอียดโครงการ/แผน - เสนอคณะกรรมการระดับอำเภอ คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรฯ หลักเกณฑ์/เงื่อนไข - ผู้ว่าฯ เป็นประธาน - พิจารณาอนุมัติโครงการ/แผน แก้ไข
7
โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.