งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อบรมให้ความรู้ การประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อบรมให้ความรู้ การประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อบรมให้ความรู้ การประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา
ระดับหลักสูตร ฉบับปีการศึกษา 2557 ของ อาจารย์และบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดย .....ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประยูร ดำรงรักษ์ ณ ห้องประชุมชั้น 4 คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร 8 มีนาคม 2560

2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร

3 ประโยชน์ประกันฯระดับหลักสูตร
1. สร้างความมั่นใจต่อสังคม(คุณภาพภาพบัณฑิต) 2. เป็นข้อมูลปรับปรุงคุณภาพ....สู่ผลลัพธ์ที่มุ่งหวังผู้เรียน: 2.1 มีคุณภาพตามกรอบTQF 2.2 มีงานทำ 3. ใช้พิจารณาขึ้นทะเบียนหลักสูตร

4 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มีหลักการดังนี้
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มีหลักการดังนี้ 1. ดำเนินการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาพ.ศ.2548(ไม่ปรับปรุง)หรือพ.ศ.2558(ใหม่/ปรับปรุง)และเกณฑ์มาตรฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้ององค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ 1.การกำกับมาตรฐานบัณฑิต นักศึกษา 3.อาจารย์ หลักสูตร 5.การเรียนการสอนและการประเมินผู้เรียน และ 6.สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

5 2. การประกันฯ ระดับหลักสูตร เชื่อมโยงกับตัวบ่งชี้การดำเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 (TQF) เพื่อประโยชน์ในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน(ขึ้นทะเบียน) สกอ. ได้กำหนดแนวทางการเผยแพร่หลักสูตรไว้ในประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่องแนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552

6 3. ตัวบ่งชี้ระดับหลักสูตร จะต้องรายงานข้อมูลพื้นฐานในส่วนที่เกี่ยวข้องตาม แบ่งออก 3 ส่วน
3.1. ตัวบ่งชี้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 / พ.ศ.2558 องค์ประกอบที่ 1 ตบช.1.1 - ระดับป.ตรี มี 3 ข้อ (เดิม4) - ระดับบัณฑิต มี 11ข้อ (เดิม12) -

7 3.2.ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ :
คุณวุฒิ /ตำแหน่งทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ อยู่ที่...องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ : มี 3 ข้อ....ปัจจัยนำเข้า)

8 ประเมินโดย...พิชญพิจารย์ (peer review)
3.3. ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพที่เน้น :กระบวนการ : ตัวบ่งชี้. 3.1, 3.2, 4.1, 5.1, 5.2, 5.3 ,6.1 ประเมินโดย...พิชญพิจารย์ (peer review) ผลลัพธ์ :ตัวบ่งชี้. 2.1, 2.2, 3.3, 4.3 และ 5.4

9 4. ระบบการประกันฯ ระดับหลักสูตร ตามมาตรฐานเทียบเคียง(AUN
4. ระบบการประกันฯ ระดับหลักสูตร ตามมาตรฐานเทียบเคียง(AUN.QA EdPEx AACSB ABET )กับมาตรฐานของ สกอ. ทุกระบบ......ต้องได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) และ ต้องส่งผลการประเมินพร้อมข้อมูลพื้นฐานให้ สกอ. เพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณะ (ส่งรายงานผ่าน CHE QA online)

10 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรที่เทียบเคียงได้ : ผลการประเมินหลักสูตรของ
1. AUN QA 2. หลักสูตรวิชาชีพที่ได้รับการรับรองจากองค์การวิชาชีพระดับนานาชาติ เช่น 2.1 AACSB (ด้านบริหารธุรกิจ) 2.2 ABET (ด้านวิศวกรรมศาสตร์) 3.หลักสูตรตรวจประเมินประจำและผ่านการรับรองโดยสภาวิชาชีพ

11 องค์ประกอบในการประกันคุณภาพระดับหลักสูตร
องค์ประกอบที่ จำนวนตัวบ่งชี้ 1.การกำกับมาตรฐาน ผ่าน/ไม่ผ่าน 2.บัณฑิต 2 3.นักศึกษา 3 4.อาจารย์ 5.หลักสูตร เรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 4 6.สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 รวม 14

12 องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
ควบคุมกำกับมาตรฐาน การบริหารจัดการทุกหลักสูตรต้องดำเนินการตาม... 1.เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรปี 2548(เก่า) มรย.มี20 หลักสูตร(ผ่านสภาเมื่อ 9เม.ย หลักสูตร) 2. เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรปี2558 (ปรับปรุง/ใหม่) ตลอดระยะเวลาที่มีการจัดการเรียนการสอน มี 1 ตัวบ่งชี้(ผ่าน/ไม่ผ่าน)

13 องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. 1.หลักสูตรระดับปริญญาตรี มีเกณฑ์การประเมิน 3(4) ข้อ 2. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท , ป.เอก) มีเกณฑ์การประเมิน 11(12 )ข้อ

14 การงดใช้เกณฑ์ข้อ12

15

16

17

18 ตัวบ่งชี้TQFข้อที่1-5ต้องดำเนินการทุกตัว
1.อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร 2.มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๒ ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) 3.มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๓ และ มคอ.๔ อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา 4.จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๕ และ มคอ.๖ ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา 5.จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๗ ภายใน ๖๐ วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา

19 หลักสูตร ระดับปริญญาตรี มีเกณฑ์การประเมิน 3 ข้อ
หลักสูตร ระดับปริญญาตรี มีเกณฑ์การประเมิน 3 ข้อ

20 องค์ประกอบที่1 การกำกับมาตรฐาน
หลักสูตรปริญญาตรีมีเกณฑ์การประเมินมี 3 ข้อ 1.จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร(เกณฑ์2548 / เกณฑ์2558ผู้รับผิดชอบหลักสูตร) 2.คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร(เกณฑ์2548 /เกณฑ์2558ผู้รับผิชอบหลักสูตร) 3.การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด 4.การดำเนินงานให้เป็นไปตามตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF) (เกณฑ์ข้อ4ยกเลิกในองค์1 แต่ประเมิน...อยู่ตัวบ่งชี้.5.4)

21 ข้อ 1.จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ประจำเกินกว่า 1หลักสูตรไม่ได้และประจำหลักสูตร (เกณฑ์2548 / เกณฑ์2558ผู้รับผิดชอบหลักสูตร) ตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น(พหุ/สหวิทยาการ (ลาออก ลาศึกษาต่อ เสียชีวิตฯให้แต่งตั้งภายใน 3 เดือน ส่วนลาบวช ไปทำฮัจญ์ ไปไม่เกิน 3 เดือนไม่ต้องแต่งตั้งใหม่) หมายเหตุ บันทึกข้อความที่ ศธ 0506(4)/ว254 ลงวันที่ 11 มีค กำหนดว่า กรณีหลักสูตรปริญญาตรีที่มีแขนงวิชา/กลุ่มวิชาชีพกำหนดให้ต้องมีอาจารย์ประจำหลักสูตรจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน ให้ครบทุกแขนงวิชา/กลุ่มวิชาของหลักสูตร โดยมีคุณวุฒิครอบคลุมแขนงวิชา/กลุ่มวิชาที่เปิดสอน

22 เกณฑ์ 2558

23 เกณฑ์ 2558

24 เกณฑ์2558

25 สรุป เกณฑ์2558 เกี่ยงกับอาจารย์
อาจารย์ประจำ อาจารย์ประจำหลักสูตร ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์พิเศษ

26 ยกเว้นพหุ/สหวิทยาการซ้ำได้ไม่เกิน2คน

27 ต่อไป สกอ.ดำเนินการเอง(ทำไม่ทัน)

28

29

30

31 เกณฑ์ 2558

32 เกณฑ์ 2558

33 เกณฑ์ 2558

34 เกณฑ์ 2558

35 เกณฑ์ 2558

36 เกณฑ์ 2558

37 เกณฑ์ 2558

38 เกณฑ์ 2558

39 เกณฑ์ 2558

40 เกณฑ์ 2558

41

42

43 เกณฑ์ 2558

44 หมายเหตุ บันทึกข้อความที่ ศธ 0506(2)/ว 569ลว. 18 เมย กำหนดว่า อาจารย์ประจำสามารถเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่เป็นหลักสูตรพหุวิทยาการ(Multidisciplinary) ได้อีก 1หลักสูตร โดยต้องเป็นหลักสูตรที่ตรงหรือสัมพันธ์กับหลักสูตรที่ได้ประจำอยู่แล้ว (เกณฑ์2558ซ้ำ ได้ไม่เกิน 2 คน)

45 ข้อ 2. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร(เกณฑ์2548)
- คุณวุฒิระดับป.โทหรือเทียบเท่า หรือ - ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่า ผศ. ในสาขาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน อย่างน้อย 2 คน เกณฑ์2558 = เพิ่ม...มีผลงานวิชาการตามเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ย้อนหลัง 5 ปี

46 คุณสมบัติผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกณฑ์ 2558
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร(เกณฑ์2558 )มีคุณสมบัติเหมือนกับอาจารย์ประจำหลักสูตร(เกณฑ์ 2558)

47 คำถาม : อาจารย์ประจำหลักสูตรที่ระบุไว้ว่าต้องมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน คำว่า “สัมพันธ์” มีความหมายอย่างไร มีแนวในการพิจารณาอย่างไร คำตอบ :1. คำว่า “สัมพันธ์” ในที่นี้หมายถึงคุณวุฒิอาจารย์ ประจำหลักสูตรที่ สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ของหลักสูตรที่เปิดสอน มีตัวบ่งชี้หรือหลักสูตรที่แสดงได้ชัดเจนว่ามีองค์ความรู้ในรายวิชาของหลักสูตรที่สามารถถ่ายทอดความรู้ในสาขาวิชานั้น ๆ ให้กับนักศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามแนวทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 2.เกณฑ์2558 ยึดเรื่อง “สัมพันธ์” พิจารณาจาก Isced 2013

48 2.เกณฑ์2558 ยึดเรื่อง “สัมพันธ์” พิจารณาจาก 2.1 Isced 2013และ
2.2 ผลงานวิชาการ : ตำรา หนังสือ

49

50

51 ข้อ 3.การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ต้องไม่เกิน 5 ปี (จะต้องปรับปรุงให้เสร็จและอนุมัติ/ให้ความเห็นชอบโดยสภามหาวิทยาลัย/สถาบัน เพื่อให้หลักสูตรใช้สอนในปีที่ 6) หมายเหตุ สำหรับหลักสูตร 5 ปีประกาศใช้ในปีที่ 7 หรือ หลักสูตร6 ปี ประกาศใช้ในปีที่ 8 ตัวอย่าง : ใช้ 2555 ครบ 2559 ดำเนินการปรับปรุง ใช้ 2560 -ใช้2560 ครบ2564 ดำเนินการปรับปรุง 2564 ใช้ 2565

52 ผลการประเมินตัวบ่งชี้ที่ 1.1
กำหนดไว้เป็น “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” หากไม่ผ่านเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ใน 3 ข้อ... ถือว่าหลักสูตรไม่ได้มาตรฐาน (คะแนนเป็น ศูนย์)

53 หลักฐานเอกสารที่ต้องการนอกเหนือจากเอกสารประกอบแต่ละรายตัวบ่งชี้
1. เอกสารหลักสูตรฉบับที่ สกอ. ประทับตรารับทราบ 2. หนังสือนำที่ สกอ. แจ้งรับทราบหลักสูตร (ถ้ามี) 3. กรณีหลักสูตรยังไม่ได้แจ้งการรับทราบ ให้มีหนังสือนำส่ง สกอ. หรือหนังสือส่งคืนจาก สกอ. และรายงานการประชุมสภาที่อนุมัติ / ให้ความเห็นชอบหลักสูตร

54 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ
(ป.โท , ป.เอก ) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ

55 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท , ป.เอก ) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ

56 องค์ประกอบที่1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป. โท , ป
องค์ประกอบที่1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท , ป.เอก ) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ 1.จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร 2.คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร 3.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

57 4.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน
องค์ประกอบที่1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท , ป.เอก ) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ 4.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน 5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ 6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม(ถ้ามี)

58 7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
องค์ประกอบที่1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท , ป.เอก ) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ 7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ 8.การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา 9.ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา

59 11.การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
องค์ประกอบที่1 การกำกับมาตรฐาน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท , ป.เอก ) มีเกณฑ์การประเมิน 11ข้อ 10.อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษามีผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง 11.การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด

60 หลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา(ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ
หลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา(ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ

61 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท ) มีเกณฑ์การประเมิน 12 ข้อ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท ) มีเกณฑ์การประเมิน 12 ข้อ 1.จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 5 คนและเป็นอาจารย์ประจำเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น (ลาออก ย้าย ลาศึกษาต่อ เสียชีวิตฯให้แต่งตั้งให้ต่อเนื่องภายใน 3 เดือน )

62 หมายเหตุ บันทึกข้อความที่ ศธ 0506(2)/ว 569ลว. 18 เมย กำหนดว่า อาจารย์ประจำสามารถเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่เป็นหลักสูตรพหุวิทยาการ(Multidisciplinary) ได้อีก 1หลักสูตร โดยต้องเป็นหลักสูตรที่ตรงหรือสัมพันธ์กับหลักสูตรที่ได้ประจำอยู่แล้ว

63 หมายเหตุ ความหมาย พหุวิทยาการ มีการชี้แจ้งของ สกอ. หลายครั้ง เช่น 1. คณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้ให้คำจำกัดความในการประชุมคณะอนุกรรมการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 7/2549 เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2549 ดังนี้ พหุวิทยาการคือ การใช้ความรู้จากองค์ความรู้หลายสาขาวิชา หลายศาสตร์ หรือหลายอนุศาสตร์ มาผสมผสานใช้ในการวิเคราะห์ วิจัย และสังเคราะห์ขึ้นเป็นองค์ความรู้ใหม่ และพัฒนาเป็นศาสตร์ใหม่ขึ้น (ต้องใช้/นำเอาเอาความรู้หลายศาสตร์ หรือหลายอนุศาสตร์มาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์และวิจัยจนกระทั่งผู้เรียนสามารถพัฒนาความรู้ องค์ความรู้เป็นศาสตร์ใหม่ขึ้นหรือเกิดอนุศาสตร์ใหม่ขึ้น)

64 หมายเหตุ 2.ตามบันทึกที่ สกอ.แจ้งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ ศธ 0506(2)/1605 ลว.12 ก.พ.2552 เรื่องแนวปฏิบัติในการกำหนดอาจารย์ประจำหลักสูตร และลักษณะหลักสูตรพหุวิทยาการ อธิบายว่า หลักสูตรพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) คือหลักสูตรที่นำเอาความรู้จากหลายศาสตร์หรือหลายอนุศาสตร์ หรือจากการปฏิบัติที่เข้ามาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์และวิจัย จนกระทั่งผู้เรียนสามารถพัฒนาความรู้ องค์ความรู้เป็นศาสตร์ใหม่ขึ้น หรือเกิดอนุศาสตร์ใหม่ขึ้น

65 หมายเหตุ 3. ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องหลักเกณฑ์การกำหนดชื่อปริญญา พ.ศ ข้อ 4.4 ได้กำหนดลักษณะหลักสูตรแบบพหุวิทยาการ เป็นการนำวิทยาศาสตร์ประยุกต์ไปใช้พัฒนาความรู้และทักษะเชิงปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินงาน ในด้านอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พานิชยกรรม การศึกษา เคหะการ และการดูแลสุขภาพ เพื่อสร้างความชำนาญเฉพาะทาง

66 ตัวอย่างหลักสูตรที่เป็นพหุวิทยาการ เช่น
1.กลุ่มสาขาวิชาเทคโนโลยีทางการเกษตร เช่น เทคโนโลยีการผลิตพืช เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ วนผลิตภัณฑ์ 2.กลุ่มวิชาเทคโนโลยีทางวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เช่น เทคโนโลยีการพิมพ์ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีคมนาคม เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ภูมิศาสตร์สารสนเทศ(ภูมิศาสตร์+เทคโนโลยีสารสนเทศ) 3.กลุ่มวิศวกรรมศาสตร์ เช่น วิศวกรรมชีวการแพทย์(วิศวกรรมศาสตร์+แพทย์ศาสตร์ วิศวกรรมนาโน(วิศวกรรมศาสตร์+วิทยาศาสตร์เคมี)

67 ตัวอย่างหลักสูตรที่ไม่ใช่พหุวิทยาการ เช่น
1. การวัดผลการศึกษา 2.การวิจัยการศึกษา 3. การศึกษาเพื่อการพัฒนา

68 หมายเหตุ อาจารย์ประจำหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา สามารถเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรในระดับปริญญาเอกหรือปริญญาโทใน สาขาวิชาเดียวกันได้อีก 1 หลักสูตร

69 สรุปอาจารย์ประจำหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี ป.ตรี +ป. ตรีพหุวิทยาการ ระดับบัณฑิตศึกษา ป.โท + ป.เอกสาขาวิชาเดียวกัน ป.โท + ป.โทพหุวิทยาการ ป.เอก +ป. เอกพหุวิทยาการ

70 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11ข้อ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11ข้อ 2.คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องทำหน้าที่เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ระบุไว้หลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งเท่านั้น โดยมีคุณสมบัติเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรืออาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ หรืออาจารย์ผู้สอน

71 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ 3.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร - คุณวุฒิไม่ต่ำกว่า ป.เอก หรือเทียบเท่า หรือ - ดำรงตำแหน่ง รศ. ขึ้นไป ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันจำนวน อย่างน้อย 3 คน (ระบุอยู่ใน มคอ.2)

72 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ 4.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน 1.อาจารย์ประจำหรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน มีคุณวุฒิ ป.โทหรือ - ดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่า ผศ.ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ 2. มีประสบการณ์ด้านการสอน 3. มีประสบการณ์ในการทำวิจัยที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา (ผู้วิจัย / ผู้ร่วมวิจัย ก็ได้)

73 หมายเหตุ หลักสูตรปริญญาโท ตามบันทึกข้อความที่ ศธ 0504(4)/ว867กำหนดว่า ให้อาจารย์ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกเป็นอาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรระดับปริญญาโทได้ แม้จะยังไม่มีผลงานวิจัยหลังจากสำเร็จการศึกษา ทั้งนี้ ภายในระยะเวลา 2 ปีนับจากวันที่เริ่มสอน จะต้องมีผลงานวิจัย จึงจะสามารถเป็นอาจารย์ผู้สอนในระดับปริญญาเอก และเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาโท/เอกได้

74 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 12 ข้อ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 12 ข้อ 5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ 1.เป็นอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิป.เอกหรือ ดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่า รศ.ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ 2. มีประสบการณ์ในการทำวิจัยที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา (ผู้วิจัย / ผู้ร่วมวิจัย ก็ได้)

75 หมายเหตุ การพิจารณากรณีอาจารย์เกษียณอายุงานหรือลาออกจากราชการดังนี้ 1) หลักสูตรสามารถจ้างอาจารย์ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ฯ ซึ่งเกษียณอายุงานหรือลาออกจากราชการ กลับเข้ามาทำงานแบบเต็มเวลาหรือบางเวลาได้โดยใช้ระบบการจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย คือมีสัญญาจ้างที่ให้ค่าตอบแทนเป็นรายเดือนและมีการกำหนดภาระงานไว้อย่างชัดเจน อาจารย์ดังกล่าวสามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ผู้สอนได้

76 2) “อาจารย์เกษียณอายุงาน”
2) “อาจารย์เกษียณอายุงาน”.... สามารถปฏิบัติหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักได้ต่อไปจนนิสิตสำเร็จการศึกษา หากนักศึกษาได้รับอนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์ก่อนการเกษียณอายุงาน

77 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ 6. คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม(ถ้ามี) 6.1.เป็นอาจารย์ประจำหรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีคุณวุฒิป.เอกหรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่า รศ. ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันและ 6.2. มีประสบการณ์ในการทำวิจัยที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

78 แนวทางบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548ข้อ 7.6
หมายเหตุ แนวทางบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548ข้อ 7.6 ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ(ในสถาบัน)หมายถึง บุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เปิดสอนเป็นอย่างดี ซึ่งอาจเป็นบุคลากรที่ไม่อยู่ในสายวิชาการ หรือ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน โดยไม่ต้องพิจารณาด้านคุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ - ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะที่จะเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ต้องเป็นบุคลากรประจำในสถาบันเท่านั้น

79 หมายเหตุ ส่วนผู้เชี่ยวชาญเฉพาะที่จะเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมอาจเป็นบุคคลากรประจำในสถาบันหรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบันที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงในสาขาวิชานั้น ๆ เป็นที่ยอมรับในระดับหน่วยงานหรือระดับกระทรวงหรือวงการวิชาชีพด้านนั้น เทียบได้ไม่ต่ำกว่าระดับ 9 ขึ้นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำหนด

80 หมายเหตุ ป.เอก ในกรณีหลักสูตรปริญญาเอกไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ หรืออาจารย์ผู้สอน ที่ได้รับคุณวุฒิปริญญาเอก หรือไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการตั้งแต่รศ. ขึ้นไปในสาขาวิชาที่เปิดสอน สถาบันอุดมศึกษาอาจแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านแทนเป็นกรณีๆไป โดยความเห็นชอบของสภาสถาบันอุดมศึกษา และต้องแจ้ง คณะกรรมการการอุดมศึกษาให้รับทราบการแต่งตั้งนั้นด้วย

81 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11ข้อ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11ข้อ 7. คุณสมบัติของอาจารย์ 1.อาจารย์ประจำและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน ที่มีคุณวุฒิ ป.เอก หรือเทียบเท่าหรือ -ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่า รศ. ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันและ 2. มีประสบการณ์ในการทำวิจัยที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา( แนวทาง ถ้าไม่ทำวิจัยคนละเรื่อง /ให้ทำเป็นทีม)

82 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ 8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา (เฉพาะแผน ก เท่านั้น)ต้องเป็นรายงานสืบเนื่องฉบับเต็มในการประชุมทางวิชาการ(proceedings) (ต้องมี peer review) หรือ - วารสารหรือสิ่งพิมพ์วิชาการซึ่งอยู่ในรูปแบบเอกสารหรือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (แผน ข ก็ต้องตีพิมพ์เผยแพร่ สมศ.ดูการตีพิมพ์ของผู้สำเร็จการศึกษาทุกคน)

83 หมายเหตุ วิทยานิพนธ์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับสิ่งประดิษฐ์ ที่มีการจดทะเบียนสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตรสามารถทดแทนการตีพิมพ์ ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการได้ โดยพิจารณาจากปีที่ได้รับสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตร ไม่ใช่ปีที่ขอจด ผลงานในนับปีที่จด

84 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ 9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา วิทยานิพนธ์ : อาจารย์ 1 คน ต่อ นักศึกษา 5 คน การค้นคว้าอิสระ : อาจารย์ 1 คนต่อ นักศึกษา 15 คน เป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภทเทียบสัดส่วน นักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับนักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน (นศ.ทำวิทยานิพนธ์ 1 คน : นศ.ค้นคว้าอิสระ 3 คน)

85 หมายเหตุ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 ข้อ กำหนดว่า - อาจารย์ประจำ 1 คน เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาไม่เกิน 5 คน หลักสูตรใดอาจารย์พร้อมดูแลนักศึกษาได้มากกว่า 5 คน ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถาบันอุดมศึกษานั้น ต้องไม่เกิน 10 คน เพื่อสนับสนุนนักวิจัย ที่มีศักยภาพสูง มีทุนวิจัย+เครื่องมือวิจัย + ดำเนินโครงการวิจัยขนาดใหญ่อย่างต่อเนื่อง ในการผลิตผลงาน

86 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ 10. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษามีผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ อย่างน้อย 1 เรื่องในรอบ 5 ปี หมายเหตุ : ให้นับรวมผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในปีการศึกษาที่รับการประเมิน

87 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท) มีเกณฑ์การประเมิน 11 ข้อ 11. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด ต้องไม่เกิน 5 ปี(จะต้องปรับปรุงให้เสร็จและอนุมัติ/ให้ความเห็นชอบโดยสภามหาวิทยาลัย/สถาบัน เพื่อให้หลักสูตรใช้งานในปีที่ 6)

88 เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558
ประเด็นอาจารย์

89 คุณสมบัติของอาจารย์ หลักสูตรปริญญาโท
อ.ประจำหลักสูตร วุฒิขั้นต่ำปริญญาโท หรือเทียบเท่า ผลงานวิชาการ 3 รายการในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นงานวิจัย อ.ผู้รับผิดชอบหลักสูตร วุฒิขั้นต่ำปริญญาเอก หรือปริญญาโท+รศ. ผลงานวิชาการ 3 รายการในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นวิจัย 1 หลักสูตรต้องมีอย่างน้อย 3 คน อ.ผู้สอน วุฒิขั้นต่ำปริญญาโท ผลงานวิชาการ 1 รายการในรอบ 5 ปี อาจารย์พิเศษ ต้องสอนไม่เกิน 50% ของรายวิชา

90 คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และ IS
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก/ร่วม ต้องเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร วุฒิ ป.เอก หรือ ป.โท+รศ. ผลงานวิชาการ 3 รายการในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นงานวิจัย อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมจากภายนอก วุฒิขั้นต่ำปริญญาเอก ผลงานวิชาการได้รับการตีพิมพ์ในฐานข้อมูลระดับชาติ ที่ตรงหรือสัมพันธ์ ไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง

91 คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อ.ผู้สอบวิทยานิพนธ์ (ประจำ) วุฒิ ป.เอก หรือ ป.โท+รศ. ผลงานวิชาการ 3 รายการในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นงานวิจัย อ.ผู้สอบวิทยานิพนธ์ (ภายนอก) วุฒิขั้นต่ำปริญญาเอก ผลงานวิชาการได้รับการตีพิมพ์ในฐานข้อมูลระดับชาติ ตรงหรือสัมพันธ์ไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจำและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก รวมไม่น้อยกว่า 3 คน ประธานต้องไม่ใช่ อ.ที่ปรึกษา

92 คุณสมบัติของอาจารย์ หลักสูตรปริญญาเอก
อ.ประจำหลักสูตร วุฒิขั้นต่ำปริญญาเอก หรือ ป.โท+รศ. ผลงานวิชาการ 3 รายการในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นงานวิจัย อ.ผู้รับผิดชอบหลักสูตร วุฒิขั้นต่ำปริญญาเอก หรือปริญญาโท+ศ. ผลงานวิชาการ 3 รายการในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นวิจัย 1 หลักสูตรต้องมีอย่างน้อย 3 คน อ.ผู้สอน ผลงานวิชาการ 1 รายการในรอบ 5 ปี อาจารย์พิเศษ ต้องสอนไม่เกิน 50% ของรายวิชา

93 คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก/ร่วม ต้องเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร วุฒิ ป.เอก หรือ ป.โท+รศ. ผลงานวิชาการ 3 รายการในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นงานวิจัย อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมจากภายนอก วุฒิขั้นต่ำปริญญาเอก ผลงานวิชาการได้รับการตีพิมพ์ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ที่ตรงหรือสัมพันธ์ ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง

94 คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อ.ผู้สอบวิทยานิพนธ์ (ประจำ) วุฒิ ป.เอก หรือ ป.โท+รศ. ผลงานวิชาการ 3 รายการในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นงานวิจัย อ.ผู้สอบวิทยานิพนธ์ (ภายนอก) วุฒิขั้นต่ำปริญญาเอก ผลงานวิชาการได้รับการตีพิมพ์ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ตรงหรือสัมพันธ์ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจำและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก รวมไม่น้อยกว่า 5 คน ประธานต้องเป็นภายนอก

95 ภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และค้นคว้าอิสระ
คุณวุฒิ จำนวนที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (ป.โท+ป.เอก) วุฒิ ป.เอก มีผลงานตามเกณฑ์ เป็นที่ปรึกษาได้ไม่เกิน 5 คน 5 วุฒิ ป.เอก + ผศ. วุฒิ ป.โท + รศ. 10 วุฒิ ป.เอก + ศ. 15 1 วิทยานิพนธ์ เทียบเท่าค้นคว้าอิสระ 3 คน

96 ผลการประเมินตัวบ่งชี้ที่ 1.1
กำหนดไว้เป็น “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” หากไม่ผ่านเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งใน11ข้อ ถือว่าหลักสูตรไม่ได้มาตรฐาน (คะแนนเป็น ศูนย์)

97 องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

98 การสะท้อนคุณภาพบัณฑิตตามกรอบTQF พิจารณาจากผลลัพธ์
1.การเรียนรู้ 2.การมีงานทำ และ 3.คุณภาพผลงานวิจัยของนักศึกษา 4.ผู้สำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในปีการศึกษานั้นๆ

99 คุณภาพบัณฑิตพิจารณาจากตัวบ่งชี้ดังต่อไปนี้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 การได้งานทำหรือผลงานวิจัยของผู้สำเร็จการศึกษา - ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี - ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการ ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ - ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

100 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต กรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ (TQF) กำหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ใน มคอ.2 ครอบคลุมผลการเรียนรู้ 5 ด้านคือ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4)ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบและ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

101 ตัวบ่งชี้นี้จะเป็นการประเมินคุณภาพบัณฑิต
ตัวบ่งชี้นี้จะเป็นการประเมินคุณภาพบัณฑิต.....ในมุมมองของผู้ใช้บัณฑิต (ตอบโดยผู้ใช้บัณฑิตที่สำเร็จก่อนปีประเมิน 1 ปี ตัวอย่าง..... ประเมินปีการศึกษา 2559 บัณฑิตสำเร็จการศึกษาปี 2558 เกณฑ์การประเมิน ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5)

102 สูตรคำนวณ ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิต จํานวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด ข้อมูลประกอบ จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้ บัณฑิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

103 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต คำอธิบายตัวบ่งชี้ นับบัณฑิตปริญญาตรีที่สำเร็จศึกษาทั้งหลักสูตรภาคปกติภาคพิเศษและภาคนอกเวลาในสาขานั้นๆที่ได้งานทำหรือมีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำภายในระยะเวลา 1 ปี นับจากวันที่สำเร็จการศึกษาเทียบกับบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษานั้น (ร้อยละ)

104 การนับการมีงานทำ นับกรณีการทำงานสุจริตทุกประเภทที่สามารถสร้างรายได้เข้ามาเป็นประจำเพื่อเลี้ยงชีพตนเองได้ การคำนวณร้อยละของผู้มีงานทำของผู้สำเร็จการศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน ในภาคพิเศษหรือภาคนอกเวลาให้คำนวณเฉพาะผู้ที่เปลี่ยนงานใหม่หลังสำเร็จการศึกษาเท่านั้น

105 กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 100
เกณฑ์การประเมิน โดยการแปลงค่าร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปีเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5 กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 100

106 สูตรการคำนวณ 1. คำนวณร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี หมายเหตุ การคำนวณค่าร้อยละนี้ - ไม่นับบัณฑิตที่ศึกษาต่อ เกณฑ์ทหาร อุปสมบท และบัณฑิตที่มีงานทำแล้วแต่ไม่ได้เปลี่ยนงาน มาพิจารณา

107 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
หมายเหตุ : จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้อง....ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

108 อธิบายเพิ่มเติม ประเด็น
ตัวบ่งชี้ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

109 ในกรณีหลักสูตรปรับปรุงที่ยังไม่ครบรอบ สถาบันอุดมศึกษาต้องประเมินตัวบ่งชี้ 2.1 ด้วยแม้ว่าหลักสูตรนั้นจะยังไม่ครบรอบการปรับปรุงก็ตาม โดยนำผลการดำเนินงานของหลักสูตรในรอบที่ผ่านมาใช้ประกอบการประเมิน

110 กรณีบัณฑิตที่มีอาชีพอิสระ ไม่ต้องเอามานับในการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

111 ในกรณีบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ เป็นนักศึกษาต่างชาติประมาณ 90% การประเมินบัณฑิตอาจไม่ถึงร้อยละ 20 เนื่องจากเดินทางกลับประเทศไปแล้ว สามารถอนุโลมให้ใช้บัณฑิตที่เป็นนักศึกษาชาวไทยเป็นฐานในการคิด เช่น มีนักศึกษาต่างชาติ 90 คน มีนักศึกษาไทย 10 คน ให้ประเมินโดยคิดจากนักศึกษาไทยจำนวน 10 คนเป็นฐานที่ 100%

112 ตัวบ่งชี้ที่2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต คำอธิบายตัวบ่งชี้ การศึกษาในระดับปริญญาโทจะต้องมีการค้นคว้า คิดอย่างเป็นระบบ วิจัยเพื่อหาคำตอบที่มีความน่าเชื่อถือ ต้องประมวลความรู้อย่างเป็นระบบและสามารถนำเผยแพร่ให้เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ตัวบ่งชี้นี้จะเป็นการประเมินคุณภาพของผลงาน ของผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท

113 เกณฑ์การประเมิน โดยการแปลงค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่อผู้สำเร็จการศึกษาเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5 กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ40 ขึ้นไป

114 สูตรการคำนวณ 1. คำนวณร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่อผู้สำเร็จการศึกษา ตามสูตร

115 หมายเหตุ : ป.โท ปี่ที่ 1 มีผลงานวิจัยตีพิมพ์...ก็นับได้
2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 40 หมายเหตุ : ป.โท ปี่ที่ 1 มีผลงานวิจัยตีพิมพ์...ก็นับได้ หนึ่งคนมีผลผลงานวิจัยตีพิมพ์ 3 ชิ้น นับได้ 3 ชี้น

116 กำหนดระดับคุณภาพผลงานวิชาการดังนี้
ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ 0.10 บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง 0.20 บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ 0.40 บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติหรือในวารสารทางวิชาการที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลแต่สถาบันนำเสนอสภาสถาบันอนุมัติตามประกาศ ก.พ.อ. ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 - ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร

117 กำหนดระดับคุณภาพผลงานวิชาการดังนี้
ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ 0.60 บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลTCI กลุ่มที่2 0.80 บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการพ.ศ.2556 หรือที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลTCI กลุ่มที่1 1.00 - บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 - ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร

118 กำหนดระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ดังนี้ งานสร้างสรรค์: งานศิลปะ สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม (คณะศิลปะ/เกษตร
ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ 0.20 งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์online 0.40 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน 0.60 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 0.80 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ 1.00 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน/นานาชาติ ผลงานสร้างสรรค์ทุกชิ้นต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการที่มีองค์ประกอบไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันร่วมพิจารณาด้วย

119 การส่งบทความเพื่อพิจารณาคัดเลือกให้นำเสนอในการประชุมวิชาการต้องส่งเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) และ
เมื่อได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้องตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ซึ่งสามารถอยู่ในรูปแบบเอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้

120 กำหนดระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ ดังนี้
ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ 0.20 งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ online 0.40 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน 0.60 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 0.80 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ 1.00 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน/นานาชาติ ผลงานสร้างสรรค์ทุกชิ้นต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการที่มีองค์ประกอบไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันร่วมพิจารณาด้วย

121 หมายเหตุ 1. ผลงานวิจัยที่มีชื่อนักศึกษาและอาจารย์ร่วมกันและนับในตัวบ่งชี้นี้แล้ว สามารถนำไปนับในตัวบ่งชี้ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ 2. ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการประเมินนั้นๆ (ถ้าผลงานนักศึกษาป.เอก1 คน มี 3 paper นับได้ทั้ง 3 paper ที่ตีพิมพ์ในปีประเมิน)

122 อธิบายเพิ่มเติม ประเด็น
อธิบายเพิ่มเติม ประเด็น ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาโทหรือปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

123 การนับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา นับ ณ วันที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ มิได้นับจากวันที่ได้รับการตอบรับ (Accepted)

124 กรณีวารสารทางวิชาการที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก. พ. อ
กรณีวารสารทางวิชาการที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. /ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 แต่สภาสถาบันอุดมศึกษาได้พิจารณาและให้ความเห็นชอบแล้ว สถาบันอุดมศึกษาต้องแจ้งให้คณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบด้วย จึงจะสามารถนับผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารดังกล่าวได้ ทั้งนี้ ประกาศฉบับดังกล่าวสามารถนำมาใช้ได้ถึงวันที่ 20 ตุลาคม 2559 และใช้ได้เป็นการเฉพาะสถาบันเท่านั้น

125 ตัวบ่งชี้ 2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำ
ประเด็น ตัวบ่งชี้ 2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำ

126 กรณีหลักสูตรใหม่ ไม่ต้องประเมินตัวบ่งชี้ 2. 1 และ 2
กรณีหลักสูตรใหม่ ไม่ต้องประเมินตัวบ่งชี้ 2.1 และ 2.2 เนื่องจากไม่มีผู้สำเร็จการศึกษา สำหรับหลักสูตรปรับปรุงที่มีนักศึกษาเรียนอยู่ ต้องประเมินตัวบ่งชี้ที่ 2.1 และ 2.2 ด้วย เนื่องจากมีผู้สำเร็จการศึกษาแล้ว

127 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
ความสำเร็จของการจัดการศึกษาปัจจัยสำคัญปัจจัยหนึ่ง คือ นักศึกษา ระบบประกันคุณภาพนักศึกษา ต้องให้ความสำคัญกับ...... 1.การรับหรือคัดเลือกนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตร (ระบบที่สามารถคัดเลือกนักศึกษาที่มีคุณสมบัติและความพร้อมในการเรียนในหลักสูตรจนสำเร็จการศึกษา) และ

128 2.การส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มีความพร้อมทางการเรียน และ
3.มีกิจกรรมการพัฒนาในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และ 4.สำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษามีทักษะการวิจัยที่สามารถสร้างองค์ความรู้ได้

129 ทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ประกอบด้วย 4 กลุ่มหลัก ได้แก่ (1) กลุ่มวิชาหลัก (core subjects) (2) กลุ่มทักษะชีวิตและอาชีพ (life and career skills) (3) กลุ่มทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (learning and innovation skills) และ (4) กลุ่มทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี (information, media, and technology skills)

130 ทักษะสำคัญที่คนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญมาก คือ
1. กลุ่มทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ได้แก่ 1.1 การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา (criticalthinking and problem solving) 1.2 นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ (creativity and innovation) 1.3 การสื่อสารและความร่วมมือกัน (communication and collaboration)

131 2.กลุ่มทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (information, media and technology skills) ประกอบด้วย
(1).การรู้สารสนเทศ (2). การรู้สื่อ และ (3). การรู้ ICTและ

132 3.กลุ่มทักษะชีวิตและอาชีพ (life and career skills) ประกอบด้วย
3.1ความสามารถในการปรับตัวและยืดหยุ่น 3.2 ความคิดริเริ่มและการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 3.3 ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและข้ามวัฒนธรรม 3.5 ความรับผิดชอบและความสามารถผลิตผลงาน 3.6 ความเป็นผู้นำและรับผิดชอบต่อสังคม

133 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

134 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา
การประกันคุณภาพหลักสูตรในองค์ประกอบนี้ เริ่มดำเนินการตั้งแต่ ระบบการรับนักศึกษา การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาภายใต้กระบวนการดำเนินการดังกล่าว จะพิจารณาได้จากตัวบ่งชี้ดังต่อไปนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา

135 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา
การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงานอย่างน้อยให้ครอบคลุมประเด็น - การรับนักศึกษา - การเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษา

136 การประเมินว่าได้คะแนนระดับใด
พิจารณาในภาพรวมของผลการดำเนินงานทั้งหมด ที่ทำให้ได้นักศึกษาที่มีความพร้อมที่จะเรียนในหลักสูตร (ธง)

137 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 0 (ปรับปรุงอย่างยิ่ง)
-ไม่มีระบบ -ไม่มีกลไก -ไม่มีแนวคิดในการกำกับติดตามและปรับปรุง -ไม่มีข้อมูลหลักฐาน

138 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 (ปรับปรุง)
- มีระบบมีกลไก -ไม่มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

139 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 2 (พอใช้)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ (กระบวนการรับนักศึกษา :เกณฑ์การคัดเลือก เครื่องมือที่ใช้ ความเป็นธรรมต่อผู้สมัคร) -ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

140 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 (ปานกลาง)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน)

141 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 4 (ดี)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/กระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) -มีผลการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม

142 เกณฑ์การประเมินคะแนน 5 (ดีมาก)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ(กระบวนการรับนักศึกษา) -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) - มีผลการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม -มีแนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์และกรรมการผู้ตรวจประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

143 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงานอย่างน้อยให้ครอบคลุมประเด็น - การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี - การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา - การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21

144 การประเมินว่าได้คะแนนระดับใด
พิจารณาในภาพรวมของผลการดำเนินงานทั้งหมด ที่ทำให้ได้นักศึกษาเรียนอย่างมีความสุขและมีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต (ธง)

145 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 0 (ปรับปรุงอย่างยิ่ง)
-ไม่มีระบบ -ไม่มีกลไก -ไม่มีแนวคิดในการกำกับติดตามและปรับปรุง -ไม่มีข้อมูลหลักฐาน

146 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 (ปรับปรุง)
- มีระบบมีกลไก -ไม่มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

147 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 2 (พอใช้)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ (กระบวนการรับนักศึกษา :เกณฑ์การคัดเลือก เครื่องมือที่ใช้ ความเป็นธรรมต่อผู้สมัคร) -ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

148 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 (ปานกลาง)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน)

149 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 4 (ดี)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/กระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) -มีผลการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม

150 เกณฑ์การประเมินคะแนน 5 (ดีมาก)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ(กระบวนการรับนักศึกษา) -มีการปรับปรุง/พัฒนา/กระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) - มีผลการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม -มีแนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์และกรรมการผู้ตรวจประเมินสามารถให้ดหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

151 ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงานอย่างน้อยให้ครอบคลุมประเด็น - การคงอยู่ - การสำเร็จการศึกษา - ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียน

152 อธิบายเพิ่มเติม การคงอยู่ การสำเร็จการศึกษา ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียน

153 อัตราการคงอยู่ของนักศึกษา
อัตราการคงอยู่ของนักศึกษา ....คิดจากจำนวนนักศึกษาที่เข้าในแต่ละรุ่น ลบด้วย จำนวนนักศึกษาที่ออกทุกกรณีนับถึงสิ้นปีการศึกษาที่ประเมิน ยกเว้น การเสียชีวิต การย้ายสถานที่ทำงานของนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา คิดเป็นร้อยละของจำนวนที่รับเข้าในแต่ละรุ่นที่มีบัณฑิตสำเร็จการศึกษาแล้ว

154 การคิดร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่ยังคงอยู่ของแต่ละรุ่น
ตัวอย่างการคำนวณหลักสูตร 4 ปี

155 2 1 3 X 2554 2555 2556 ปีการศึกษา จำนวนรับเข้า
จำนวนสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร จำนวนที่ลาออกและคัดชื่อออกสะสมจนถึงสิ้นปีการศึกษา 2559 2557 2558 2559 2554 X 2555 2556 2 1 3

156

157 การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา เป็นการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ต่อ....กระบวนที่ดำเนินการให้กับนักศึกษาตามกิจกรรมในตัวบ่งชี้ 3.1 และ 3.2

158 จัดการข้อร้องเรียน การจัดการข้อร้องเรียน” หมายถึง ....การอธิบายการจัดการข้อร้องเรียนที่มีนัยสำคัญ ....ไม่ได้เน้นที่....ปริมาณหรือจำนวนข้อร้องเรียน

159 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 0 (ปรับปรุงอย่างยิ่ง)
-ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงาน

160 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 (ปรับปรุง)
-มีรายงานผลการดำเนินงานในบางเรื่อง

161 เกณฑ์การประเมินคะแนน 2 (พอใช้)
-มีรายงานผลการดำเนินงานในทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้

162 เกณฑ์การประเมินคะแนน 3 (ปานกลาง)
-มีรายงานผลการดำเนินงานในทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ มีแนวโน้มผลการดำเนินงานดีขึ้นในบางเรื่อง(ต้องเทียบกับปีที่ผ่านมา)

163 อธิบายเพิ่มเติม ประเด็น : แนวโน้ม (Trends)”
โดยทั่วไป การแสดงแนวโน้มได้จะต้องมีข้อมูลในอดีตอย่างน้อยสามจุด (ไม่รวมค่าคาดการณ์)

164 เกณฑ์การประเมินคะแนน 4 (ดี)
-มีรายงานผลการดำเนินงานในทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ -มีแนวโน้มผลการดำเนินงานดีขึ้นในทุกเรื่อง(ต้องเทียบกับปีที่ผ่านมา)

165 เกณฑ์การประเมินคะแนน 5 (ดีมาก)
-มีรายงานผลการดำเนินงานในทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ -มีแนวโน้มผลการดำเนินงานดีขึ้นในทุกเรื่อง(ต้องเทียบกับปีที่ผ่านมา) -มีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ/โดดเด่นโดยเทียบเคียงกับหลักสูตรนั้นในสถาบันกลุ่มเดียวกันโดยมีหลักหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยันและกรรมการผู้ตรวจประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบายว่าเป็นผลการดำเนินงานที่โดดเนอย่างแท้จริง

166 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

167 องค์ประกอบด้านอาจารย์ เริ่มดำเนินการตั้งแต่ การบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ และผลลัพธ์ที่เกิดกับอาจารย์ จะพิจารณาได้จากตัวบ่งชี้ดังต่อไปนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์

168 ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงานอย่างน้อยให้ครอบคลุมประเด็น - ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร ระบบบริหารอาจารย์ - ระบบการส่งเสริมและการพัฒนาอาจารย์

169 มีระบบการบริหารอาจารย์ กำหนดนโยบาย แผนระยะยาวเพื่อให้อาจารย์ที่มีคุณสมบัติทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรและ มีระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ มีการวางแผนและการลงทุนงบประมาณและทรัพยากรและกิจกรรมการดำเนินงาน ตลอดจนการกำกับดูแล และการพัฒนาคุณภาพอาจารย์

170 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 0 (ปรับปรุงอย่างยิ่ง)
-ไม่มีระบบ -ไม่มีกลไก -ไม่มีแนวคิดในการกำกับติดตามและปรับปรุง -ไม่มีข้อมูลหลักฐาน

171 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 (ปรับปรุง)
-มีระบบมีกลไก (ระบบการรับอาจารย์ใหม่ ระบบการบริหารอาจารย์ มีระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ มีกลไกการคัดเลือกอาจารย์) -ไม่มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

172 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 2 (พอใช้)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ (ประเมินการกระบวนการรับรับอาจารย์:เกณฑ์การคัดเลือก เครื่องมือที่ใช้ ความเป็นธรรมต่อผู้สมัคร) -ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการกระบวนการ

173 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 (ปานกลาง)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการกระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน)

174 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 4 (ดี)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการกระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) -มีผลจากการปรับปรุงเห็นจัดเจนเป็นรูปธรรม

175 เกณฑ์การประเมินคะแนน 5 (ดีมาก)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ(กระบวนการรับอาจารย์) -มีการปรับปรุง/พัฒนา/กระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) -มีผลจากการปรับปรุงเห็นจัดเจนเป็นรูปธรรม -แนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ ยืนยันแลกรรมการผู้ตรวจประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบายเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

176 ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนำเข้า คำอธิบายตัวบ่งชี้ การส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ต้องทำให้อาจารย์ในหลักสูตรมีคุณสมบัติที่เหมาะสมและเพียงพอโดยทำให้อาจารย์มีความรู้ ความเชี่ยวชาญทางสาขาวิชาที่เปิดให้บริการ และมีประสบการณ์ที่เหมาะสมกับการผลิตบัณฑิต อันสะท้อนจากวุฒิการศึกษา ตำแหน่งทางวิชาการ และความก้าวหน้าในการผลิตผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง

177 ประเด็นในการพิจารณาตัวบ่งชี้นี้จะประกอบด้วย
1.ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2.ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 3.ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร 4.จำนวนบทความของอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร หลักสูตรป.ตรี พิจารณา 3 ประเด็นแรก(1.2.3.) หลักสูตรบัณฑิต พิจารณา4 ประเด็น ( )

178 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเป็นการศึกษาระดับสูงสุดที่ต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและความลุ่มลึกทางวิชาการ เพื่อปฏิบัติพันธกิจสำคัญของสถาบันในการผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจัยเพื่อการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้ ดังนั้นหลักสูตรจึงควรมีอาจารย์ที่มีระดับคุณวุฒิทางการศึกษาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับหลักสูตรที่เปิดสอนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับ พันธกิจหรือจุดเน้นของหลักสูตรนั้นๆ

179 หลักสูตรระดับปริญญาตรี
เกณฑ์การประเมิน แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5 หลักสูตรระดับปริญญาตรี ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป (5 คน มีป.เอก 1 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ได้ 5 คะแนน)

180 หลักสูตรระดับปริญญาโท
ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60ขึ้นไป (5 คน มีป.เอก3คนคิดเป็นร้อยละ60 ได้ 5 คะแนน) หลักสูตรระดับปริญญาเอก ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 =ร้อยละ 100 (5 คน มีป.เอก 5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ได้ 5 คะแนน)

181 สูตรการคำนวณ 1. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก ตามสูตร

182 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

183 หมายเหตุ ทั้งนี้อาจใช้คุณวุฒิอื่นเทียบเท่าคุณวุฒิปริญญาเอกได้
คุณวุฒิปริญญาเอกพิจารณาจากระดับคุณวุฒิที่ได้รับหรือเทียบเท่าตามหลักเกณฑ์การพิจารณา คุณวุฒิของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีที่มีการปรับวุฒิการศึกษาให้มีหลักฐานการสำเร็จการศึกษาภายในรอบปีการศึกษานั้น ทั้งนี้อาจใช้คุณวุฒิอื่นเทียบเท่าคุณวุฒิปริญญาเอกได้ สำหรับกรณีที่บางสาขาวิชาชีพมีคุณวุฒิอื่นที่เหมาะสมกว่าทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา

184 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
สถาบันอุดมศึกษาถือเป็นขุมปัญญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบที่จะต้องส่งเสริมให้อาจารย์ในสถาบันทำการศึกษาวิจัยเพื่อแสวงหาและพัฒนาองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอน รวมทั้งการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ การดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นสิ่งสะท้อนการปฏิบัติงานดังกล่าวของอาจารย์ตามพันธกิจของหลักสูตร

185 หลักสูตรระดับปริญญาตรี
เกณฑ์การประเมิน แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5 หลักสูตรระดับปริญญาตรี ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่ง ผศ.+รศ.+ศ.รวมกันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป ( 5คน ดำรงตำแหน่ง ผศ.+รศ.+ศ. 3คนได้เต็ม 5 คะแนน)

186 หลักสูตรระดับปริญญาเอก
หลักสูตรระดับปริญญาโท ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่ง ผศ.+รศ.+ศ.รวมกันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 80 ขึ้นไป ( 5คน ดำรงตำแหน่ง ผศ.+รศ.+ศ. 4 คนได้เต็ม 5 คะแนน) หลักสูตรระดับปริญญาเอก ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่ง ผศ.+รศ.+ศ.รวมกันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 100 ขึ้นไป ( 5คน ดำรงตำแหน่ง ผศ.+รศ.+ศ. 5 คนได้เต็ม 5 คะแนน)

187 สูตรการคำนวณ 1.คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ตามสูตร

188 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

189 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร
ผลงานวิชาการแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นผลงานที่มีคุณค่า สมควรส่งเสริม ให้มีการเผยแพร่และนำไปใช้ประโยชน์ทั้งเชิงวิชาการและการแข่งขันของประเทศ

190 - ผลงานได้รับการจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร
ผลงานวิชาการอยู่ในรูปของ - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ - ผลงานได้รับการจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร

191 - ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ผ่านการประเมินตำแหน่งทางวิชาการแล้ว
- ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ ตำราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์

192 สูตรคำนวณ 1. คำนวณร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตรตามสูตร

193 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

194 คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ20 ขึ้นไป
เกณฑ์การประเมิน หลักสูตรระดับปริญญาตรี ค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่กำหนดให้เป็น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ20 ขึ้นไป

195 หลักสูตรระดับปริญญาโท
ค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่กำหนดให้เป็น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป หลักสูตรระดับปริญญาเอก คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป

196 กำหนดระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการดังนี้
ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ 0.20 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ 0.40 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติหรือในวารสารทางวิชาการที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลแต่สถาบันนำเสนอสภาสถาบันเพื่ออนุมัติวารสารเหล่านี้ ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556

197 กำหนดระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการดังนี้
ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ 0.60 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCIกลุ่มที่ 2 - ผลงานได้รับการจดอนุสิทธิบัตร 0.80 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากลนอกเหนือจากฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณา วารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1

198 กำหนดระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการดังนี้
ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ 1.00 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการพ.ศ.2556 - ผลงานได้รับการจดสิทธิบัตร - ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ผ่านการประเมินตำแหน่งทางวิชาการแล้ว - ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ - ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน - ตำราหรือหนังสือที่ผ่านการประเมินตำแหน่งทางวิชาการแล้ว - ตำราหรือหนังสือที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งทางวิชาการแต่ไม่ได้นำมาขอรับการประเมินตำแหน่างทางวิชาการ

199 - ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ
- ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ นับได้ คะแนน 1 ต่อเรื่อง ขยายความ: สสส./ ศอ.บต. / การเคหะแห่งชาติ เป็นต้น จ้างให้ทำวิจัย นับได้ คะแนน 1 ต่อ เรื่อง แต่ถ้าเขียนโครงการวิจัยไปขอทุนทำวิจัย......ต้องตีพิมพ์ได้คะแนนตามระดับของการตีพิมพ์...ระดับชาติ / นานาชาติ

200 กำหนดระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการดังนี้
ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ 0.20 งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ online 0.40 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน 0.60 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 0.80 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ 1.00 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน/นานาชาติ ผลงานสร้างสรรค์ทุกชิ้นต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการที่มีองค์ประกอบไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันร่วมพิจารณาด้วย

201 จำนวนบทความของอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร ( 5 คน) หลักสูตรในระดับปริญญาเอกถือได้ว่าเป็นหลักสูตรสูงสุดของสถาบันการศึกษา เป็นหลักสูตรที่สำคัญและเน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ดังนั้นอาจารย์ประจำหลักสูตรระดับปริญญาเอกจึงมีความสำคัญอย่างมากต่อหลักสูตรนั้นๆ

202 บทความของอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิง ย่อมแสดงให้เห็นว่าอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกมีความสามารถในการทำวิจัย มีผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และ

203 บทความที่ตีพิมพ์ได้รับการอ้างอิง แสดงให้เห็นว่ามีการนำไปใช้ประโยชน์และเป็นฐานในการพัฒนางานวิจัยใหม่ๆให้มีความก้าวหน้ามากขึ้น จำนวนบทความของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ได้รับการอ้างอิงมากย่อมแสดงให้เห็นว่าอาจารย์ประจำหลักสูตรเป็นผู้ที่มีผลงานและได้รับการยอมรับในวงวิชาการนั้นๆ

204 การคำนวณตัวบ่งชี้นี้
ให้เปรียบเทียบจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ตั้งแต่หนึ่งครั้งขึ้นไป รวมทั้งการอ้างอิงตนเอง ที่เป็นผลงานของอาจารย์ประจำหลักสูตร ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกนั้น โดยนำเสนอในรูปสัดส่วน ทั้งนี้พิจารณาผลการดำเนินงาน 5ปีย้อนหลังตามปีปฏิทิน (1.ลูกศิษย์ 2.เพื่อนอาจารย์ในสถาบัน อ้าง..นับได้)

205 สูตรการคำนวณ

206 2. แปลงค่าที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

207 เกณฑ์การประเมิน กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อัตราส่วนจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5=2.5 กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5= 3.0 กลุ่มสาขาวิชา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5=0.25

208 ตัวอย่าง การหาจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร ถ้าอาจารย์ประจำหลักสูตรระดับปริญญาเอกของหลักสูตรหนึ่งในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีจำนวน 5 คน โดยอาจารย์ทั้ง 5 คนมีผลงานตีพิมพ์บทความวิจัยหรือ Review article ในฐานข้อมูลTCI และ scopusในปี พ.ศ (ค.ศ )ซึ่งดำเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ของหลักสูตรใน พ.ศ (ประเมินในปี ค.ศ. 2014) เป็นดังนี้

209 จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ของอาจารย์ ทั้ง 5 คนในฐานข้อมูล scopus ระหว่าง ค
จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ของอาจารย์ ทั้ง 5 คนในฐานข้อมูล scopus ระหว่าง ค.ศ เท่ากับ 15 บทความ และจำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในฐานข้อมูลของ TCI เท่ากับ 5บทความ - ในจำนวนนี้มีบทความ 8 บทความในฐานข้อมูล scopus ที่มีการอ้างอิง อย่างน้อย 1 ครั้งและมีบทความ 2 บทความที่ตีพิมพ์ในฐานข้อมูล TCI ได้รับการอ้างอิงอย่างน้อย 1ครั้ง

210 ดังนั้น จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร=

211 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
อธิบายเพิ่มเติม องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ ประเด็น ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ การนับผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร

212 การบริหารและการพัฒนาอาจารย์ ให้หมายถึง อาจารย์ประจำหลักสูตรเท่านั้น
กรณีผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการให้ดูจากรายชื่อผู้วิจัยที่ปรากฏในสัญญาว่าจ้าง พิจารณาจากผลงานของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีรายชื่อ ณ วันสิ้นสุดปีการศึกษานั้นๆ โดยไม่ต้องนำระยะเวลาในการประจำหลักสูตรมาพิจารณา

213 กรณีอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาโท และปริญญาเอก ที่ใช้อาจารย์ประจำหลักสูตรชุดเดียวกัน การนับผลงานวิชาการสามารถนับได้ทั้ง 2 หลักสูตร

214 กรณีผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำที่อยู่คนละคณะ/สถาบัน ให้พิจารณาดังนี้
ในระดับหลักสูตรให้นับเป็นผลงานของอาจารย์ประจำหลักสูตรตามที่ทำหน้าที่อาจารย์ประจำหลักสูตร ในระดับคณะให้นับเป็นผลงานของอาจารย์ประจำสังกัดคณะนั้น ระดับสถาบันให้นับเป็นผลงานเดียว แต่ถ้าอยู่คนละสถาบันก็นับตามสถาบันที่สังกัดของทุกคน

215 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์
ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ แก้เป็น ผลลัพธ์ คำอธิบายตัวบ่งชี้ ผลการประกันคุณภาพ ต้องนำไปสู่การมี : - อัตรากำลังอาจารย์ให้มีจำนวนเหมาะสมกับจำนวนนักศึกษาที่รับเข้าในหลักสูตร - อัตราคงอยู่ของอาจารย์ และ - อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตร

216 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 0 (ปรับปรุงอย่างยิ่ง)
-ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงาน (ไม่มีรายงานผลการดำเนินงาน

217 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 (ปรับปรุง)
- มีรายงานผลการดำเนินงานในบางเรื่อง: ต่อไปนี้ อัตรากำลังอาจารย์ให้มีจำนวนเหมาะสมกับจำนวนนักศึกษาที่รับเข้าในหลักสูตร - อัตราคงอยู่ของอาจารย์สูง และ - อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตร โดย...หลักสูตรรายงานผลการดำเนินงานต่อคณบดี คณะกรรมการประจำคณะ: ไม่ครบ 3 เรื่องได้ 1 คะแนน

218 เกณฑ์การประเมินคะแนน 2 (พอใช้)
-มีรายงานผลการดำเนินงานในทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ อัตรากำลังอาจารย์ให้มีจำนวนเหมาะสมกับจำนวนนักศึกษาที่รับเข้าในหลักสูตร - อัตราคงอยู่ของอาจารย์สูง และ - อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตร (หลักสูตรรายงานผลการดำเนินงานต่อคณบดี คณะกรรมการประจำคณะ: รายงานครบ 3 เรื่อง ได้ 2 คะแนน)

219 เกณฑ์การประเมินคะแนน 3 (ปานกลาง)
-มีรายงานผลการดำเนินงานในทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ มีแนวโน้มผลการดำเนินงานดีขึ้นในบางเรื่อง(ต้องเทียบกับปีที่ผ่านมา) (หลักสูตรรายงานผลการดำเนินงานต่อคณบดี คณะกรรมการประจำคณะ: รายงานครบ 2 เรื่อง + แสดง แนวโน้มแต่ดีขึ้นบางเรื่อง ได้ 3 คะแนน )

220 เกณฑ์การประเมินคะแนน 4 (ดี)
-มีรายงานผลการดำเนินงานในทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ มีแนวโน้มผลการดำเนินงานดีขึ้นในบางเรื่อง(ต้องเทียบกับปีที่ผ่านมา) (หลักสูตรรายงานผลการดำเนินงานต่อคณบดี คณะกรรมการประจำคณะ: รายงานครบ 2เรื่อง + แสดง แนวโน้มแต่ดีขึ้นทุกเรื่อง ได้ 4 คะแนน )

221 เกณฑ์การประเมินคะแนน 5 (ดีมาก)
-มีรายงานผลการดำเนินงานในทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ มีแนวโน้มผลการดำเนินงานดีขึ้นในบางเรื่อง(ต้องเทียบกับปีที่ผ่านมา) (หลักสูตรรายงานผลการดำเนินงานต่อคณบดี /คณะกรรมการประจำคณะ: รายงานครบ 2 เรื่อง + แสดงแนวโน้มแต่ดีขึ้นทุกเรื่อง มีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ/โดดเด่นโดยเทียบเคียงกับหลักสูตรนั้นในสถาบันกลุ่มเดียวกันที่เหมาะสม (ผลการดำเนินงานดีกว่า ได้ 5 คะแนน)

222 ประเด็น : ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์
อธิบายเพิ่เติม.... ในการพิจารณาประเด็น ความพึงพอใจของอาจารย์ให้พิจารณาความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้ง 5 คนที่ได้ทำหน้าที่ประจำหลักสูตร เป็นการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อกระบวนการที่ได้ดำเนินการให้กับอาจารย์ตามกิจกรรมต่างๆในตัวบ่งชี้ที่ 4.1 อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ให้พิจารณาจากรายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรว่ามีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละปี..... ตั้งแต่สูตรใหม่/ปรับปรุง ที่ได้รับการอนุมัติ/เห็นขอบจากสภามหาวิทยาลัยให้เปิดดำเนินการ

223 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ทุกหลักสูตรที่สถาบันการศึกษาเปิดสอนต้องผ่านการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และมีการปรับปรุงทุก 5 ปี แต่ผู้บริหารต้องรับผิดชอบในการควบคุมกำกับการบริหารจัดการหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง

224 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรควรมีบทบาทหน้าที่ในการบริหารจัดการ 3 ด้านที่สำคัญ คือ
(1) สาระของรายวิชาในหลักสูตร (2) การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรียนการสอน (3) การประเมินผู้เรียน

225 ระบบประกันคุณภาพในการดำเนินการหลักสูตร ประกอบด้วย หลักสูตร การเรียนการสอน และ การประเมินผู้เรียน
เพื่อให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

226 กำหนดตัวบ่งชี้ในการประเมินต้องให้ความสำคัญกับ
การกำหนดรายวิชาที่มีเนื้อหาที่ทันสมัย ก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลารวมทั้ง การวางระบบผู้สอนและอาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ และมีคุณสมบัติเหมาะสมในการพัฒนานักศึกษาให้เต็มศักยภาพ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เน้นนักศึกษาเป็นสำคัญ และส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

227 การประกันคุณภาพหลักสูตรในองค์ประกอบนี้พิจารณาได้จากตัวบ่งชี้ดังต่อไปนี้
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

228 ตัวบ่งชี้ที่5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร
ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ คำอธิบายตัวบ่งชี้ แม้ทุกหลักสูตรที่สถาบันการศึกษาเปิดให้บริการต้องผ่านการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และมีการปรับปรุงทุก 5 ปี

229 แต่ผู้บริหารต้องรับผิดชอบในการควบคุมกำกับการจัดทำรายวิชาต่างๆให้มีเนื้อหาวิชาที่ทันสมัย ก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีการบริหารจัดการการเปิดรายวิชาต่าง ๆ ทั้งวิชาบังคับและวิชาเลือก ที่เน้นนักศึกษาเป็นสำคัญ โดยสนองความต้องการของนักศึกษา และตลาดแรงงาน

230 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ต้องมีการควบคุมมาตรฐานของหัวข้อวิทยานิพนธ์/สาระนิพนธ์ที่เหมาะสมกับลักษณะและระดับของหลักสูตร : โดยปริญญาโท เน้นความสามารถในการทำวิจัยของนักศึกษา ปริญญาเอก เน้น ความสามารถในการใช้การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่

231 -การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตร
ในรายงานผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงานอย่างน้อยให้ครอบคลุมประเด็น ต่อไปนี้ -การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตร -การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ

232 ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดำเนินงานทั้งหมด ที่ทำให้หลักสูตรมี....ความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและความต้องการของประเทศ (ธง)

233 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 0 (ปรับปรุงอย่างยิ่ง)
-ไม่มีระบบ -ไม่มีกลไก -ไม่มีแนวคิดในการกำกับติดตามและปรับปรุง -ไม่มีข้อมูลหลักฐาน

234 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 (ปรับปรุง)
-มีระบบมีกลไก -ไม่มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

235 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 2 (พอใช้)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

236 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 (ปานกลาง)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน)

237 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 4 (ดี)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) -มีการเรียนรู้/การจัดการความรู้ในกระบวนการดำเนินงาน(KM)

238 เกณฑ์การประเมินคะแนน 5 (ดีมาก)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ(กระบวนการรับอาจารย์) -มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการกระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) -มีการเรียนรู้/การจัดการความรู้ในกระบวนการดำเนินงาน(KM) -แนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมีการเทียบเคียงกับหลักสูตรเดียวกันในกลุ่มสถาบันเดียวกันที่เหมาะสม/ได้รับรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติ

239 ตัวบ่งชี้ที่5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ คำอธิบายตัวบ่งชี้ หลักสูตรต้องให้ความสำคัญกับการวางระบบผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยคำนึงถึงความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในวิชาที่สอน และเป็นความรู้ที่ทันสมัยของอาจารย์ที่มอบหมายให้สอนในวิชานั้นๆ เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ประสบการณ์ และได้รับการพัฒนาความสามารถจากผู้รู้จริง

240 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ต้องให้ความสำคัญกับ
การกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ / สาระนิพนธ์ที่เหมาะสมกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ และลักษณะของนักศึกษาให้นักศึกษาได้รับโอกาสและการพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ต้องสามารถให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ ตั้งแต่ กระบวนการพัฒนาหัวข้อจนถึงการทำวิทยานิพนธ์ การสอบป้องกัน และการเผยแพร่ผลงานวิจัยจนสำเร็จการศึกษา

241 กระบวนการเรียนการสอนสำหรับยุคศตวรรษที่ 21 ต้องเน้นการพัฒนานักศึกษาให้มี :
ความรู้ตามโครงสร้างหลักสูตรที่กำหนด และ ได้รับการพัฒนาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ คุณธรรมจริยธรรม ทักษะการเรียนรู้

242 ในศตวรรษที่ 21 เน้นทักษะต่างๆโดยเฉพาะ
ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะทางภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ทักษะการทำงานแบบมีส่วนร่วม ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการดูแลสุขภาพฯลฯ การเรียนการสอนสมัยใหม่ต้องใช้สื่อเทคโนโลยี และทำให้นักศึกษาเรียนรู้ได้ตลอดเวลาและในสถานที่ใดก็ได้

243 ผู้สอนมีหน้าที่เป็น :
- ผู้อำนวยความสะดวกให้เกิดการเรียนรู้ และ - สนับสนุนการเรียนรู้ - ในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา เทคนิคการสอนจะเน้นการวิจัยเป็นฐาน การเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นต้น

244 รายงานผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงานอย่างน้อยให้ครอบคลุมประเด็น ต่อไปนี้ การกำหนดผู้สอน การกำกับติดตามและตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้(มคอ.3และมคอ.4)และการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีมีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการทางวิชาการแก่สังคมและการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

245 การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่สอดคล้องกับสาขาวิชาและความก้าวหน้าของศาสตร์ การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ การช่วยเหลือกำกับติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระและการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา

246 ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดำเนินงานทั้งหมด ที่ทำให้กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ก็ให้เกิดผลการเรียนรู้ที่บรรลุเป้าหมาย ธง

247 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 0 (ปรับปรุงอย่างยิ่ง)
-ไม่มีระบบ -ไม่มีกลไก -ไม่มีแนวคิดในการกำกับติดตามและปรับปรุง -ไม่มีข้อมูลหลักฐาน

248 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 (ปรับปรุง)
-มีระบบมีกลไก -ไม่มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

249 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 2 (พอใช้)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/กระบวนการ

250 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 (ปานกลาง)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน)

251 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 4 (ดี)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) -มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม

252 เกณฑ์การประเมินคะแนน 5 (ดีมาก)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ(กระบวนการ ) -มีการปรับปรุง/พัฒนา/กระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) - มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม -มีแนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยันและกรรมการผู้ตรวจประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

253 ตัวบ่งชี้ที่5.3 การประเมินผู้เรียน
ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ คำอธิบายตัวบ่งชี้ การประเมินนักศึกษามีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ คือ 1.การประเมินผลนักศึกษาเพื่อให้ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงการเรียนการสอนของผู้สอน และนำไปสู่การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (assessment for learning)

254 2.การประเมินที่ทำให้นักศึกษาสามารถประเมินตนเองเป็น และมีการนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาวิธีการเรียนของตนเองใหม่ จนเกิดการเรียนรู้ (assessment as learning) และ 3. การประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่แสดงผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (assessment of learning) การประเมินส่วนใหญ่จะใช้เพื่อจุดมุ่งหมายประการหลัง คือ เน้นการได้ข้อมูลเกี่ยวกับสัมฤทธิผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

255 การจัดการเรียนการสอนจึงควรส่งเสริมให้มีการประเมินเพื่อจุดมุ่งหมายสองประการแรกด้วย
ความเหมาะสมของระบบประเมินต้องให้ความสำคัญกับการกำหนดเกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมินที่มีคุณภาพ และวิธีการให้เกรดที่สะท้อนผลการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม

256 มีการกำกับให้มีการประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment)
มีการใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย ให้ผลการประเมินที่สะท้อนความสามารถในการปฏิบัติงานในโลกแห่งความเป็นจริง (real world) และ

257 มีวิธีการให้ข้อมูลป้อนกลับfeedback) ที่ทำให้นักศึกษาสามารถแก้ไขจุดอ่อนหรือเสริมจุดแข็งของตนเองได้ให้ผลการประเมินที่สะท้อนระดับความสามารถที่แท้จริงของนักศึกษา สำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ต้องให้ความสำคัญกับการวางระบบประเมินวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพด้วย

258 ในรายงานผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงานอย่างน้อยให้ครอบคลุมประเด็น ต่อไปนี้ -การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ -การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

259 การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร(มคอ. 5 มคอ
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร(มคอ.5 มคอ.6และมคอ.7) การประเมินปริญญานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา

260 ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดำเนินงานทั้งหมด ที่สะท้อนสภาพจริงด้วยวิธีการหรือเครื่องมือประเมินที่เชื่อถือได้ ให้ข้อมูลที่ช่วยให้ผู้สอนและผู้เรียนมีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน ธง

261 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 0 (ปรับปรุงอย่างยิ่ง)
-ไม่มีระบบ -ไม่มีกลไก -ไม่มีแนวคิดในการกำกับติดตามและปรับปรุง -ไม่มีข้อมูลหลักฐาน

262 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 (ปรับปรุง)
-มีระบบมีกลไก -ไม่มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

263 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 2 (พอใช้)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

264 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 (ปานกลาง)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน)

265 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 4 (ดี)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) - มีผลการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม

266 เกณฑ์การประเมินคะแนน 5 (ดีมาก)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ(กระบวนการ ) -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) -มีผลการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม -แนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ ยืนยันและกรรมการผู้ตรวจประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

267 ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ คำอธิบายตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงานของหลักสูตร โดยผู้ประสานงานหรือผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้รายงานผลประจำปีในการควบคุมกำกับการดำเนินงานตามตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแต่ละหลักสูตร

268 เกณฑ์การประเมิน ถ้าต่ำกว่า ร้อยละ 80 ได้ 0 คะแนน แก้เป็น คะแนนเต็ม 5 ร้อยละ 100

269 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
1 อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร 2 มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา / สาขาวิชา (ถ้ามี) 3 มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และมคอ. 4อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา 4 จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาและรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ภ้ามี)ตามแบบ มคอ.5 และมคอ. 6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา

270 ตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1 - 5 ต้องดำเนินการทุกตัว
ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1. อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร

271 แนวทางการประชุมอย่างน้อย 3 ครั้ง
ครั้งที่1 ต้นภาคเรียน - วางแผน : ประชุมการจัดคาบสอน / ประชุมแผนงานโครงการของหลักสูตร/การจัดซื้อจัดจ้าง/ การปรับปรุงการสอน ครั้งที่2 กลางภาค - ติดตาม: ติดตาม การทำงานตามแผน/ปฏิทิน /การจัดการเรียนการสอนตาม มคอ. 3 มคอ.4 /การสอบเก็บคะแนนระหว่างภาค ครั้งที่3 ปลายภาค -ทบทวน : การทวนสอบตามมาตรฐานผลการเรียนรู้/ จัดทำ มคอ. 5ของแต่ละรายวิชา หรือ มคอ7 ของปีการศึกษาที่ผ่านมา

272 ตัวอย่างรายการหลักฐานตัวบ่งชี้ที่ 1
1.รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมด 2.รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีส่วนร่วมในการประชุมวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร 3.หนังสือเชิญประชุม / วาระการประชุม / รายงานการประชุม 4.รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)

273 ตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1 - 5 ต้องดำเนินการทุกตัว
ตัวบ่งชี้ที่ 2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) ตัวอย่างรายการหลักฐาน 1.รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2) สกอ.รับทราบ

274 ตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1 - 5 ต้องดำเนินการทุกตัว
ตัวบ่งชี้ที่ 3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา

275 ตัวอย่างรายการหลักฐานตัวบ่งชี่ที่ 3
1.รายงานสรุปจำนวนรายวิชาที่ต้องจัดทำ รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) และ รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา 2.รายละเอียดของรายวิชา มคอ.3 และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ.4 ทุกรายวิชา ก่อนเปิดภาคการศึกษา 3.ทะเบียนรับ – ส่ง มคอ.3 และ มคอ. 4 4.ปฏิทินการศึกษาระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา

276 ตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1 - 5 ต้องดำเนินการทุกตัว
ตัวบ่งชี้ที่ 4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา

277 ตัวอย่างรายการหลักฐานตัวบ่งชี้ที่ 4
1.จำนวนรายวิชาทั้งหมดที่ต้องจัดทำ มคอ.5 และ มคอ.6 2.รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ.5) และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6) (ถ้ามี) ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา (อาจารย์ผู้สอนรายงานไปยังผู้รับผิดชอบหลักสูตร) 3.ทะเบียนรับ – ส่ง มคอ.5 และ มคอ. 6 (ถ้ามี)

278 ตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1 - 5 ต้องดำเนินการทุกตัว
ตัวบ่งชี้ที่ 5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา

279 ตัวอย่างรายการหลักฐานตัวบ่งชี้ที่ 5
1.รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังปีการศึกษา 2.หนังสือนำส่งรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 (รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร มคอ.7 ต่อคณะ) 3.ทะเบียนรับ – ส่ง มคอ.7

280 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
5 จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วันหลังสิ้นสุดปีการศึกษา 6 มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และมคอ.4 (ถ้ามี)อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา 7 มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการ ประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว 8 อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน

281 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
9 อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง 10 จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี 11 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย / บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 12 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

282 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้สอน
ประเด็น: ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระรายวิชาในหลักสูตร

283 การตีความกรณีหลักสูตรมีความทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานหรือไม่ ควรดูที่เนื้อหาสาระรายวิชาที่เปิดสอนว่าทันสมัย เหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงของโลกหรือไม่

284 ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ประเด็น ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน

285 ประเด็นการบูรณาการรับการบริการวิชาการทางสังคมไม่จำเป็นต้องเป็นโครงการเดียวกันที่อยู่ในแผนบริการทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา แต่ให้ดูเจตนารมณ์ว่าเกิดผลการเรียนรู้บรรลุตามเป้าหมาย

286 ประเด็น ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

287 คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้มี ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติเพิ่มเติมไว้ดังนี้

288 ข้อ 2 ระบุว่า “กรณีที่สถาบันอุดมศึกษาจะจัดทำรายละเอียดของรายวิชารายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) รายงานผลการดำเนินงานของรายวิชา รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) และรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตรในลักษณะอื่น สถาบันอุดมศึกษาสามารถดำเนินการจัดทำระบบเก็บข้อมูลรายละเอียดตามแนวทางของ มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7 โดยสามารถปรับเปลี่ยนหัวข้อรายละเอียดให้เหมาะสมกับบริบทเฉพาะของสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ ได้ทั้งนี้ให้คำนึงถึงเจตนารมณ์ของการจัดทำ มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7”

289 ข้อ 3 ระบุว่า “ให้ถือว่า ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ จำนวน 12 ตัวบ่งชี้ เป็นเพียงแนวทางเท่านั้น โดยสถาบันอุดมศึกษาสามารถกำหนดตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิได้เอง ซึ่งแต่ละหลักสูตรมีอิสระในการกำหนดตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ใช้ในการติดตาม ประเมิน และรายงานคุณภาพของหลักสูตรประจำปีที่ระบุไว้ในหมวด 1-6 ของแต่ละหลักสูตร ตามบริบทและวัตถุประสงค์ในการผลิตบัณฑิต

290 ทั้งนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบหรืออนุมัติจากสภาสถาบันอุดมศึกษา ในระหว่างที่สถาบันอุดมศึกษายังไม่สามารถเสนอขอปรับตัวบ่งชี้ใหม่ได้แล้วเสร็จ ให้ใช้ตัวบ่งชี้เดิมก่อนได้ หรือหากหลักสูตรใดมีความประสงค์กำหนดตัวบ่งชี้แบบเดิมก็สามารถกระทำได้ กรณีหลักสูตรมีการปรับตัวบ่งชี้ใหม่ ให้นำเสนอสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบในการปรับปรุงหลักสูตรครั้งต่อไป”

291 ในประเด็นตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตาม TQF ข้อ 8 อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้านการเรียนการสอน คำว่า “อาจารย์ใหม่” ให้หมายถึง อาจารย์ประจำหลักสูตรที่เพิ่งย้ายเข้ามาในหลักสูตรใหม่ แม้ว่าจะเป็นอาจารย์เก่าที่มาจากหลักสูตร/ภาควิชาอื่นก็ถือว่าเป็นอาจารย์ใหม่

292 ในประเด็นตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตาม TQF ข้อ 11 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ทีมีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยน้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 กรณีหลักสูตรใหม่ที่ยังไม่มีบัณฑิตไม่ต้องประเมินประเด็นนี้หากเป็นหลักสูตรปรับปรุงต้องประเมินประเด็นนี้ด้วย

293 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
การดำเนินการบริหารหลักสูตร จะต้องมีปัจจัยที่สำคัญ อีกอย่างหนึ่งคือ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย ความพร้อมทางกายภาพ เช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องทำวิจัย อุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด การบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ Wifiและอื่นๆ

294 ที่ส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติองค์ประกอบด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ จะพิจารณาได้จาก ตัวบ่งชี้6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

295 ตัวบ่งชี้ที่6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ คำอธิบายตัวบ่งชี้ ความพร้อมของสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนมีหลายประการ ได้แก่ 1.ความพร้อมทางกายภาพเช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ที่พักของนักศึกษา ฯลฯ และ 2.ความพร้อมของสิ่งอำนวยความสะดวกหรือทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด หนังสือ ตำรา สิ่งพิมพ์ วารสาร ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น แหล่งเรียนรู้ สื่ออิเล็คทรอนิกส์ ฯลฯ 3.สิ่งสนับสนุนเหล่านี้ต้องมีปริมาณเพียงพอ และมีคุณภาพพร้อมใช้งาน ทันสมัย

296 ในรายงานผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงานอย่างน้อยให้ครอบคลุมประเด็น ต่อไปนี้ -ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบันโดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ -จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน

297 -กระบวนการปรับปรุงตามผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

298 ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดำเนินงานทั้งหมด ที่สะท้อนการจัดเตรียมสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่จำเป็นต่อการเรียนการสอนและส่งผลให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ธง

299 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 0 (ปรับปรุงอย่างยิ่ง)
-ไม่มีระบบ -ไม่มีกลไก -ไม่มีแนวคิดในการกำกับติดตามและปรับปรุง -ไม่มีข้อมูลหลักฐาน

300 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 (ปรับปรุง)
-มีระบบมีกลไก -ไม่มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน

301 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 2 (พอใช้)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

302 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 (ปานกลาง)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน)

303 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 4 (ดี)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) - มีผลการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม

304 เกณฑ์การประเมินคะแนน 5 (ดีมาก)
-มีระบบมีกลไก -มีการนำ ระบบมีกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน -มีการประเมินกระบวนการ(กระบวนการ ) -มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(ระบุชัดเจน) -มีผลการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม -แนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ ยืนยันและกรรมการผู้ตรวจประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

305 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ประเด็น ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ให้หลักสูตรระบุสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับหลักสูตรให้ชัดเจน ไม่ต้องพิจารณาสิ่งสนับสนุนทั่วไป เช่น ห้องเรียน เครื่องฉาย LCD เป็นต้น

306 ค่าคะแนนประเมินหลักสูตร
คะแนน ระดับคุณภาพ 0.01 – น้อย ปานกลาง 3.01 – ดี 4.01 – ดีมาก

307 ค่าคะแนนคณะ/มหาวิทยาลัย
การดำเนินงานตองปรับปรุงเร่งด่วน 1.51 – 2.50 การดำเนินงานตองปรับปรุง 2.51 – 3.50 การดำเนินงานระดับพอใช้ 3.51 – 4.50 การดำเนินงานระดับดี 4.51 – 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก

308

309 การประกันคุณภาพหลักสูตร
Quality Assurance ประกันคุณภาพ การผลิตบัณฑิต IQA ประเมินทุก1ปี EQA ประเมินทุก5ปี อจ.ประจำหลักสูตร Quality control วางแผนควบคุม ติดตามใช้ระบบการดำเนินการ การวางระบบโดยใช้เอกสาร+คน+เทคโนโลยี เช่น มคอ.3-7 PDCA(ประธาน+อาจารย์ประจำหลักสูตร) เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรTQFองค์ประกอบที่2-6 Quality audit ตรวจสอบระบบการควบคุมติดตาม ผู้ปฏิบัติงานรายงานผลต่อหัวหน้างาน/ผู้บริหารรายงานผล Quality assessment ประเมินระบบการควบคุมติดตาม ทีมผู้ประเมินภายในพิจารณาดำเนินงาน เช่น มคอ.5-7 ทีมประเมินภายนอก คุณภาพบัณฑิต

310 สรุปภาพรวม พันธกิจ/หน่วยงาน หลักสูตร คณะ มหา วิทยาลัย สกอ. ผลลัพท์
ผลิตบัณฑิต กำกับ/สนับสนุน กำกับ /สนับสนุน กำกับมาตรฐาน คุณภาพบัณฑิต /ผู้ใช้บัณฑิต วิจัย สนับสนุน องค์ความรู้ใหม่/ การแข่งขันกับ ตป บริการวิชาการ กำกับ ประสานงาน คุณภาพชุมชน/สังคมไทย ทำนุบำรุงฯ วัฒนธรรมไทย ผู้รับผิดชอบ กก.ประจำหลักสูตร กก.บริหาร/กก.ประจำคณะ กก.บริหาร/สภา กกอ.สกอ

311 สวัสดีครับ


ดาวน์โหลด ppt อบรมให้ความรู้ การประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google