งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โย โดย นางจารินี คูณทวีพันธุ์ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โย โดย นางจารินี คูณทวีพันธุ์ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โย โดย นางจารินี คูณทวีพันธุ์ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายการจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน โย โดย นางจารินี คูณทวีพันธุ์ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ

2 นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร พัฒนางานสาธารณสุขตามแนว พระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ กลไกการทำงาน 1 8 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ 7 บูรณาการองค์ประกอบและบทบาทเขตสุขภาพระหว่างสช. และ กสธ. 2 นโยบาย กระทรวง วิจัยและพัฒนาเพื่อ พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย สาธารณสุข ส่งเสริมภูมิปัญญาไทย 6 และสมุนไพรไทย 3 5 4 พัฒนากำลังคน บริหารการเงินการคลัง

3 แนวทางการดำเนินงาน ปี 2559 นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ความสำเร็จ Information บูรณาการประเทศ 1.พัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต 2.ชายแดนใต้ 3.ประชาคมอาเซียน 4.ทุจริตและประพฤติมิชอบ 5.ยาเสพติด 6.วิจัยและพัฒนา 7.ขยะและสิ่งแวดล้อม 8. ต่างด้าวและค้ามนุษย์ 9. เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10.เทคโนโลยีสารสนเทศฯ สร้างสิ่งที่ดี ความสุข Integration งานบริหาร Innovation บูรณาการกระทรวง 1.หลักประกันสุขภาพ(service Plan) 2.ควบคุมป้องกันโรค 3.ส่งเสริมสุขภาพ 4.คุ้มครองผู้บริโภค 5.พัฒนากฎหมาย Innovation 1.HRMเน้นHRP/HRD/PMS 2. Finance 3.พัสดุ 4.ระบบข้อมูล 5.NHA

4 ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม เข็มมุ่งปี 59 และก้าวต่อไปของกรมอนามัย
อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพ แสนคน ด้านอนามัย การส่งเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ตามกลุ่มวัย กลุ่มสตรีตั้งครรภ์ และเด็กปฐมวัย มุ่งการบริหารจัดการขยะ ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย โดยเฉพาะขยะติดเชื้อ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85) ร้อยละ 100 ของ โรงพยาบาลสังกัด ร้อยละของเด็กนักเรียน กลุ่มวัยเรียน มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน (ไม่เกินร้อยละ 10) (เน้นลดเรียนเพิ่มรู้) กระทรวงสาธารณสุข มีการจัดการมูลฝอย ร้อยละของตำบลที่มีระบบ การส่งเสริมสุขภาพดูแล ผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ติดเชื้อตามมาตรฐาน กลุ่มวัยสูงอายุและ คนพิการ(เน้นตำบล Long Term Care)

5 มาตรการ ลดปวย ภาวะเริ่มอ้วน+อ้วน ≤10 % เป้าหมาย 1. ระบบข้อมูล
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยเรียน(อายุ ปี) เด็กไทยเติบโตสมวัย ไม่อ้วน มีสติ รู้คิด มีทักษะชีวิต สามารถจัดการภาวะสุขภาพตนเองลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ตอบสนองนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เป้าหมาย ลดปวย ภาวะเริ่มอ้วน+อ้วน ≤10 % มาตรการ 1. ระบบข้อมูล 2. การส่งเสริมป้องกัน 3. การคัดกรองแก้ไข 4. การบริหารจัดการ 1) ระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม การจัดการส่งแวดล้อม ในรร.ด้านโภชนาการ และการออกกำลังกาย พัฒนาระบบการคัด กรองสุขภาพการจัดการ และแก้ไขปัญหา 1) การบริหารจัดการแบบ บูรณาการ : รร.(ลดเวลาเรียน 2) ระบบรายงาน HDC เพิ่มเวลารู้) และผ่านระบบDHS - ข้อมูลนน./สส. การคัดกรองเด็กที่มี ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน 2) เชื่อมโยงการทำงาน นักเรียนทุกรร. ระหว่างรร. และหน่วยบริการ สาธารณสุข ภาคเรียนที่ 1 และ 2 - อ้วนไม่มีโรค : จัดการน้ำหนัก 3) ข้อมูลจำนวนรร.และ 3) สร้างการมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่าย รายชื่อรร.ที่มีปัญหา ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน  ร้อยละ 10 - อ้วนมีโรค : ส่งต่อ service plan 4) พัฒนาศักยภาพและทักษะ ภาคีเครือข่าย 4) ข้อมูลนร.ที่มีภาวะอ้วน และได้รับการส่งต่อ - นักจัดการนน.เด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher) service plan

6 Small succes ตัวชี้วัด : เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง (ไม่เกินร้อยละ 10) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน นร.ทุกคน 40% ของรร.* มีการนำแผน การเรียนรู้เรื่อง การส่งเสริม สุขภาพ ไปใช้ 70% ของรร.* มีการนำแผนการ เรียนรู้ เรื่องการ ส่งเสริมสุขภาพ ไปใช้ ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วนลดลง อย่างน้อย 0.5 เมื่อเทียบกับ สถานการณ์เดิม ในรร.ที่มีความ ชุกของภาวะ เริ่มอ้วนและ อ้วน > 10 % ได้รับการ คัด นร.ในรร.* มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วนลดลง ในปีการศึกษา กรอง นั้น อย่างน้อย 0.25 *โรงเรียนเป้าหมาย คือโรงเรียนที่มีเด็กภาวะเริ่มมอ้วนและอ้วน > ร้อยละ 10

7 สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน จากระบบ HDC ปี 2558
ร้อยละ สิงห์บุรี 25 23.3 ชัยนาท สุพรรณีบุรี ลำพูน 19.9 20 19.0สมุทรปราการ เป้าหมายปี 60 สุราษฎร์ธานี 17.7 พิษณุโลก 17.5 17.7 16.9 สตูล ไม่เกินร้อยละ 10 16.6 15.8 ชัยภูมิ 15.6 ขอนแก่น 14.7 15 13.5 13.7 ยโสธร เลย 12.5 12.6 12.5 10.4 10.2 10 9.2 8.5 ภาพรวมเขต 5 เขตสขภาพ เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 รวม ข้อมูลจากระบบรายงาน HDC ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2558 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ที่มา :

8 ร้อยละเด็กอายุ5-12 ปีมีภาวะทุพโภชนาการ

9 อำเภอที่มีเด็กอายุ 5-14 ปี มีภาวะอ้วนเกินเกณฑ์ (ต.ค-ธค)
เป้าหมายไม่เกิน10

10 บทบาทส่วนกลาง บทบาทศูนย์อนามัย
1. พัฒนาหลักสูตร /โมเดล ถ่ายทอดองค์ ความรู้ และพัฒนาศักยภาพตามบทบาท 1. รับการถ่ายทอดองค์ความรู้และ การพัฒนาศักยภาพจากส่วนกลาง NHA 2. สนับสนุนด้านวิชาการ : การให้ 2. ผลิตสื่อ นวตกรรม ด้านการจัดการปัญหา ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน สนับสนุนให้กับ คำปรึกษา และวิทยากร กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องระดับจว. และพื้นที่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. สนับสนุนด้านวิชาการให้กับพื้นที่ : การให้คำปรึกษา วิทยากร 3. นิเทศติดตามเชิงคุณภาพแบบ เสริมพลัง (Empowerment) 4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการ ปัญหาภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน 4. ควบคุม กำกับ ติดตามการ ดำเนินงานของพื้นที่และรายงานผล ให้กับ 5. นิเทศติดตามเชิงคุณภาพแบบเสริมพลัง (Empowerment) ส่วนกลางตามระยะเวลาที่กำหนด (Monitoring & Evaluation) 6. ติดตาม ควบคุม กำกับ และประเมินผล ให้ศูนย์วิชาการและจังหวัดดำเนินการ 5. สรุปผลการดำเนินงานระดับเขต ตามแผนและรายงานผล (Monitoring& Evaluation) 7. สรุปผลการดำเนินงานภาพรวม

11 บทบาทสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
1.จัดตั้งคกก.และจัดทำแผนลดปัญหาภาวะอ้วนในเด็กนักเรียน ระดับเขต ระดับจังหวัดโดย PM จังหวัด 2. มีฐานข้อมูลจำนวน และรายชื่อรร.ในพื้นที่ ที่มีปัญหาภาวะเริ่มอ้วน และอ้วนในเด็กวัยเรียน > ร้อยละ 10 (54 รร./13 อำเภอ) (เมือง ลำปลายมาศ นาโพธิ์ พุทไธสง แคนดง บ้านด่าน ปะคำ นางรอง เฉลิม โนนสุวรรณ หนองกี่ ประโคนชัย กระสัง) 3. เปรียบเทียบภาวะโภชนาการและคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยงและรายงาน ผล 2 ภาคเรียน ตามระยะเวลาที่กำหนด 4. กิจกรรม 4.1 ถ่ายทอดแนวทางการคัดกรอง ส่งต่อ เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง ให้ รพศ. รพท. รพช. สสอ. 4.2 รายงานตามระบบ ผ่าน PA เด็กอ้วน โย

12 บทบาทสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
5. ส่งเสริม และสนับสนุนให้รร.มีการนำแผนการเรียนรู้ เรื่องการ จัดการน้ำหนักด้านโภชนาการและการเคลื่อนไหวร่างกายไปใช้ใน กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ 6. นิเทศติดตามการดำเนินการอบรมการจัดการน้ำหนักใน เด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher) 7. รายงานจำนวนนักจัดการน้ำหนักในเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher) (ครู ข.) ด้านการจัดการน้ำหนักในเด็กวัยเรียน (Smart Kids Leader) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและทักษะ โย

13 บทบาท รพศ./รพท./รพช./สสอ.
1. มีฐานข้อมูลจำนวน และรายชื่อรร.ในพื้นที่ ที่มีปัญหาภาวะเริ่มอ้วน และอ้วนในเด็กวัยเรียน > ร้อยละ 10 2. มีการชั่งนน.วัดสส. เพื่อเปรียบเทียบภาวะโภชนาการและคัดกรอง เด็กกลุ่มเสี่ยงและรายงานผล 2 ภาคเรียน 3. กิจกรรมให้เสร็จสิ้นภายในสิ้นเดือนมิถุนายน 3.1 จัดอบรม/ถ่ายทอดแนวทางการคัดกรอง ส่งต่อเด็กอ้วน กลุ่มเสี่ยง ให้รพ.สต. และ ร.ร ในพื้นที่รับผิดชอบ 3.2 คัดกรองโดยการตรวจ obesity sign 1) รอบคอดำ /รักแร้ดำ 2) นั่งหลับ 3) นอนกรน 4) ประวัติเจ็บป่วยครอบครัว 3.3 รายงานตามระบบผ่าน PA เด็กอ้วนของรพ./สสอ. โย

14 บทบาท รพศ./รพท./รพช./สสอ.
5. ส่งเสริม และสนับสนุนให้รร.มีการนำแผนการเรียนรู้ เรื่องการ จัดการน้ำหนักด้านโภชนาการและการเคลื่อนไหวร่างกายไปใช้ใน กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ 6. นิเทศติดตามการดำเนินการอบรมการจัดการน้ำหนักใน เด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher) 7. รายงานจำนวนนักจัดการน้ำหนักในเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher) (ครู ค.) และแกนนำ นร. ด้านการจัดการน้ำหนักใน เด็กวัยเรียน (Smart Kids Leader) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ และทักษะ โย

15


ดาวน์โหลด ppt โย โดย นางจารินี คูณทวีพันธุ์ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google