ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยนพดล เคนเนะดิ ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
2
“ เป็นโรงพพยาบาลกองบินที่มี คุณภาพของกองทัพอากาศ ” วิสัยทัศน์
3
- ตรวจรักษาพยาบาล - งานเวชศาสตร์การบิน - งานเวชศาสตร์ป้องกัน ภารกิจ
4
ผู้รับผิดชอบการจัดการความรู้ น. ต. ปริญญา อโศกพล รอง ผอ. รพ. กองบิน บน. ๒ ทำการแทน ผอ. รพ. กองบิน บน. ๒
5
สมาชิกกลุ่ม 1. น. ต. หญิงปอแก้ว อินแสน 2. ร. อ. หญิงจริญญา เชษฐ ศาสน์ 3. ร. ท. หญิงวิชวรีญ์ ธีร์ธัญศิริ 4. พ. อ. อ. วิชัย อ่อน แจ้ง 5. พ. อ. อ. ชวาลศักดิ์ แสนคำ มูล
6
จัดตั้งกลุ่ม ๑ ธ. ค. ๕๘ เริ่มดำเนินกิจกรรม๑ ม. ค. ๕๙ สิ้นสุดกิจกรรม๓๐ เม. ย ๕๙ รวมระยะเวลา๔ เดือน การดำเนินกิจกรรมกลุ่ม
7
- การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๕ ครั้ง - เฉลี่ยประชุมครั้งละ ๑ - ๒ ชั่วโมง การประชุมกลุ่ม
8
๑. การปฏิบัติการลำเลียงทางอากาศโดย เฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๑๑ (EC ๗๒๕ ) ๒. การปฏิบัติการลำลียงทางอากาศโดย เฮลิคอปเตอร์แบบที่๖ (UH- ๑ H) ๓. การปฏิบัติการค้นหาและช่วยชีวิต องค์ความรู้ที่กลุ่มสนใจ
9
ความเป็นไปได้เป็นประโยชน์ต่องานของ หน่วย ผลกระทบต่อหน่วยงาน หมายถึง : โอกาศที่จะประสบ ความสำเร็จในการดำเนิน กิจกรรม หมายถึง : ผู้ปฏิบัติงานสามารถนำ ความรู้ไปปฏิบัติงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ หมายถึง : ผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้นตั้งแต่ กระบวนการจัดการความรู้ไป จนถึงการนำความรู้ไปใช้งาน น้ำหนักคะแนน ๑ = โอกาสสำเร็จ ๐ - ๒๕ % ๑ = ไม่เป็นประโยชน์ต่องาน๑ = มีผลกระทบมาก ๒ = โอกาสสำเร็จ ๒๕ - ๕๐ % ๒ = เป็นประโยชน์เล็กน้อย๒ = มีผลกระทบปานกลาง ๓ = โอกาสสำเร็จ ๕๐ - ๗๕ % ๓ = เปฌนประโยชน์ปาน กลาง ๓ = มีผลกระทบเล็กน้อย ๔ = โอกาสสำเร็จ ๗๕ - ๑๐๐ % ๔ = เป็นประโยชน์มาก๔ = ไม่มีผลกระทบ หลักการคัดเลือกปัญหา
10
ปัญหาความเป็นไปได้เป็นประโยชน์ต่อ งานของหน่วย ผลกระทบต่อ หน่วยงาน คะแนน รวม % ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ ๑. การปฏิบัติการลำเลียงทางอากาศ โดยเฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๑๑ ๖๖. ๖ % ๒. การปฏิบัติการลำลียงทางอากาศ โดยเฮลิคอปเตอร์แบบที่๖ (UH- ๑ H) ๑๐๐ % ๓. การปฏิบัติการค้นหาและช่วยชีวิต ๙๑. ๖ % คัดเลือกปัญหา
11
องค์ความรู้
12
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ ทอ. “ เป็นกองทัพอากาศชั้น นำในภูมิภาค ” ยุทธศาสตร์ ทอ. พ. ศ.2551-2562 ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พิทักษ์รักษาและเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ เสริมสร้างสมรรถนะและความพร้อม ในการป้องกันประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ รักษาความมั่นคงของรัฐ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ รักษาผลประโยช์แห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใน การการพัฒนาประเทศของรัฐบาล
13
กองบิน บน.2 เป็นกองบิน เฮลิคอปเตอร์ของ กองทัพอากาศที่มีเครื่อง เฮลิคอปเตอร์สำหรับลำเลียง ผู้ป่วยและติดเปลผู้ป่วยได้ ซึ่งการลำเลียงทางอากาศใน การปฏิบัติแตกต่างจากการ ดูแลผู้ป่วยทางภาคพื้น ต้องใช้ ความรู้เฉพาะจากผู้เชี่ยวชาญ ด้านเวชศาสตร์การบิน และ กระทำตามหลักวิชาการ ลำเลียงทางอากาศ หลักการและเหตุผล เพื่อนำผู้ป่วยไปรับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลที่ เหมาะสม ทันเวลา ซึ่งช่วยลดอัตราการเสียชีวิตและอัตรา ทุพพลภาพลงได้ จึงเห็นได้ว่า การลำเลียงผู้ป่วยทาง อากาศเป็นการปฏิบัติการทางการแพทย์ที่เป็น สัญลักษณ์โดยเฉพาะของการแพทย์ทหาร อากาศ
14
ในอีกส่วนหนึ่ง การปฏิบัติจริงเพื่อการลำเลียงผู้ป่วย ทางอากาศต้องมีลักษณะการทำงานเป็นทีมเดียวกัน กับเจ้าหน้าที่อื่น ความรู้ที่มียังกระจัดกระจายอยู่ใน แต่ละบุคคล เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ มีแนวทาง ปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน สามารถประสานงาน กันในทีม เพื่อการดูแลผู้ป่วยในขณะลำเลียงทาง อากาศได้อย่างปลอดภัย หลักการและเหตุผล แพทย์เวชศาสตร์การบิน ยังมีไม่เพียงพอต่อการ ปฏิบัติภารกิจ แพทย์ ที่ผ่านการเรียนหลักสูตรเวช ศาสตร์การบินมีการหมุนเวียนโยกย้ายบ่อย ทำให้ ความรู้ที่มีไม่ได้รับการถ่ายทอด เผยแพร่ หรือ จัดระบบเพื่อการเรียนรู้ต่อ
15
ชื่อกลุ่ม ชื่อกิจกรรมกลุ่ม
16
ธงชาติไทย = การปฏิบัติหน้าที่ เพื่อประเทศชาติ เฮลิคอปเตอร์ = การปฏิบัติการ โดยใช้เฮลิคอปเตอร์ ปีกเวชสาสตร์การบิน = ภารกิจ ของเวชศาสตร์การบิน แพทย์ทหารอุ้มคน = การ ช่วยเหลือคนป่วยโดย แพทย์ ทหาร เครื่องหมายกาชาด = การปฏิบัติ ทางการแพทย์ สัญลักษณ์กลุ่ม ความหมายของสัญลักษณ์ คือ สามเหลี่ยมสีขาว = ความมุ่งมั่นของกลุ่ม เพื่อนำไปสู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ด้วย KM
17
การลำเลียงทางอากาศก้าวไกล ผู้ป่วย ปลอดภัยด้วย AVM Team คำขวัญกลุ่ม
18
เพื่อให้เจ้าหน้าที่เวชศาสตร์การบินและหน่วย ปฏิบัติการค้นหาและช่วยชีวิต * มีการทบทวนความรู้และทักษะการปฐม พยาบาล / การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย * มีความรู้และทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพ / การ ประเมินระดับความรู้สึกตัว * มีการความรู้ในการลำเลียง / จัดบรรทุกผู้ป่วย โดยเฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๖ * ฝึกการปฏิบัติงานเป็นทีมในภารกิจลำเลียง ผู้ป่วยทางอากาศได้ถูกต้อง รวดเร็ว และผู้ป่วย ปลอดภัย วัตถุประสงค์
19
ระยะเวลาดำเนินการ ขั้นตอนกิจกรรม ธ. ค 58 ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. ๑. การบ่งชี้ความรู้ ๒. การสร้างและแสวงหาความรู้ ๓. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ ๔. การประมวลและกลั่นกรอง ความรู้ ๕. การเข้าถึงความรู้ ๖. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๗. การเรียนรู้ ๘. การประเมินผล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.