ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวิสา ชินวัตร ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
โครงการศึกษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ ป่าชายเลนทะเลสาบสงขลา ในพื้นที่มูลนิธิชัยพัฒนา ต. ปากรอ อ. สิงหนคร จ. สงขลา โดย นางสาววลีรัตน์ มูสิกะ สังข์ นายวีระ เจริญพักตร์ นายคมน์ ศิลปาจารย์
2
ความเป็นมา ของพื้นที่มูลนิธิชัย พัฒนา ทะเลสาบสงขลาตอนนอก ทะเลสาบสงขลาตอนกลาง ทะเลสาบสงขลาตอนใน
3
พื้นที่มูลนิธิชัยพัฒนา ต. ปากรอ อ. สิงหนคร จ. สงขลา นายเถกิง กาญจนะ ได้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินจำนวน 30 ไร่ แด่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว เพื่อทรงใช้ประโยชน์ในกิจกรรมของมูลนิธิชัยพัฒนา สะพานปากรอ เกาะนางคำ
4
พื้นที่มูลนิธิชัยพัฒนา ต. ปากรอ อ. สิงหนคร จ. สงขลา
5
ทรงพระราชทานแนวทางการดำเนินงาน โดยจัดทำเป็นแปลงศึกษา ทดลอง วิจัย ความ หลากหลายทางชีวภาพของป่าชายเลนทะเลสาบสงขลา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์ประธานมูลนิธิชัยพัฒนา ทรงเสด็จ ทอดพระเนตรพื้นที่โครงการ เมื่อ 16 มกราคม 2549
6
มูลนิธิชัยพัฒนาได้แต่งตั้งที่ ปรึกษา ที่ปรึกษา อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน อธิบดีกรมประมง อธิบดีกรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง เพื่อศึกษา วิจัย จัดการ ดินและน้ำ สัตว์น้ำ และปลูกป่าชายเลน
7
ร่วมกันศึกษา วิจัยฯ ในโครงการมูลนิธิชัย พัฒนา ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำ จืด จ. สงขลา ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมง ชายฝั่ง จ. สงขลา สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำชายฝั่ง กรมประมง โดย
8
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาชนิดสัตว์น้ำในพื้นที่ โครงการฯ เพื่อศึกษาแพลงก์ตอนพืชและสัตว์ใน พื้นที่ โครงการฯ เพื่อศึกษาสัตว์หน้าดินในพื้นที่ โครงการฯ เพื่อศึกษาปริมาณสัตว์น้ำต่อหน่วย ลงแรงประมง ในพื้นที่โครงการฯ
9
สถานีเก็บตัวอย่าง ปี 2551-52 บริเวณ ทะเลสาบ คูน้ำในโครงการ คูน้ำนอกโครงการ
10
วิธีการศึกษา โดย ศพช. สงขลา ตัวอย่างชนิดสัตว์น้ำ เดือนละครั้ง คูน้ำในและนอกพื้นที่ศึกษา โดยใช้อวน บริเวณทะเลสาบโดยใช้ไซนั่ง
11
ประเมินปริมาณสัตว์น้ำต่อหน่วยลงแรงประมง (CPUE) จำนวน 2 ครั้ง โดยใช้ข่ายขนาดช่องตาต่าง ๆ กัน คือ 20, 30, 40, 55, 70 และ 90 มิลลิเมตรต่อช่องตา ครั้งที่ 1 ก่อนการปล่อยพันธุ์ปลาน้ำจืด ตุลาคม 49 ครั้งที่ 2 หลังการปล่อยพันธุ์ปลาน้ำจืด ธันวาคม 50 วิธีการศึกษา โดย ศพช. สงขลา ศึกษา เฉพาะที่คูน้ำนอกพื้นที่โครงการ
12
แพลงก์ตอนพืชและสัตว์ 2 เดือน/ครั้ง กล้องจุลทรรศน์ น้ำ 10 ลิตร ถุงแพลงก์ตอน 20, 100 ไมครอน ฟอร์มาลีน 5% เครื่องมือตักดิน ตะแกรงร่อน ฟอร์มาลีน 5% สัตว์หน้าดิน 2 เดือน/ครั้ง กล้องจุลทรรศน์ วิธีการศึกษา โดย สวช.
13
ผลการศึกษา : ชนิดสัตว์น้ำ บริเวณคูน้ำในพื้นที่ศึกษาและบริเวณคู น้ำนอกพื้นที่ศึกษา พบสัตว์น้ำ 25 ชนิด ประกอบด้วย ปลา 20 ชนิด กุ้ง 1 ชนิด หอย 2 ชนิด และปู 2 ชนิด เช่น ดุก ช่อน หมอ นิล ปู นา หอยเจดีย์
14
ผลการศึกษา : ชนิดสัตว์น้ำ บริเวณทะเลสาบ พบสัตว์น้ำทั้งหมด 63 ชนิด ประกอบด้วย ปลา 50 ชนิด กุ้ง 10 ชนิด ปู 2 ชนิด และกั้ง 1 ชนิด เช่น ช่อน กดหัวอ่อน หมอ หมอเทศ นิล กะดี่หม้อ ตะเพียนทราย ยอดม่วง แป้นแก้ว กุ้งกะ ต่อม ปูแสม ปูแป้น หอยขม หอยโข่ง
15
ผลการศึกษา : CPUE ครั้งที่ 1 จับปลาน้ำจืดได้ 12 ชนิด กระดี่ กระสูบขีด ช่อน ซิวควาย ดุกอุย ตะเพียนทราย บู่ทราย สลาด สลิด หมอ หมอช้างเหยียบ และนิล ปริมาณต่อหน่วยลงแรงประมงเฉลี่ย 2010.26 กรัมต่อพื้นที่ข่าย 100 ตาราง เมตรต่อ 12 ชั่วโมง
16
ผลการศึกษา : CPUE ขอขอบคุณ ผอ. วิชัย วัฒนกุล ศพจ. สงขลาที่สนับสนุนพันธุ์ปลาน้ำจืด ได้ปล่อยสัตว์น้ำจืดในพื้นที่เดือนมีนาคม 2550 ปลาหมอ 7,000 ตัว ปลาดุกอุย 5,000 ตัว ปลากดเหลือง 2,000 ตัว
17
ผลการศึกษา : CPUE ครั้งที่ 2 จับปลาน้ำจืดได้ 9 ชนิด กระดี่ กระสูบขีด ช่อน ตะเพียนทราย สลาด หมอ หมอช้างเหยียบ ไหลนา และนิล ปริมาณต่อหน่วยลงแรงประมงเฉลี่ย 2734.03 กรัมต่อพื้นที่ข่าย 100 ตาราง เมตรต่อ 12 ชั่วโมง
18
ผลการศึกษา : แพลงก์ตอน พืช 5 ไฟลัม Bacillariophyta Chlorophyta Cyanophyta Dinoflaellate Euglnophyta แพลงก์ตอนพืช 60 สกุล
19
ผลการศึกษา : แพลงก์ตอน พืช ชนิดที่พบมากได้แก่ Chlorella Navicula Gyrosigma Nitzschia และ Oscillatoria
20
ผลการศึกษา : แพลงก์ตอน สัตว์ ชนิดที่พบมากได้แก่ Copepod และไรน้ำ โดยพบ Copepod ทุกสถานี แพลงก์ตอนสัตว์ 22 ชนิด
21
ผลการศึกษา : สัตว์หน้าดิน ประกอบด้วย 4 ไฟลัม Arthropoda Mollusca และ Annelida สัตว์หน้าดินพบ 16 ชนิด
22
ผลการศึกษา : สัตว์หน้าดิน ชนิดที่พบมากได้แก่ แอมฟิ พอด ลูกกุ้ง หอยเจดีย์ และตัว อ่อนแมลงปอ
23
ผลการศึกษา : คุณภาพน้ำ ความ เค็ม ppt คูในคูนอกทะเลสา บ 25512-14 3-17 25520-212-210-30 อุณหภูมิ o C คูในคูนอกทะเลสา บ 255126.85-30.7826.33-30.8726.22-30.75 255226.90-30.6026.86-30.9726.35-30.22
24
ผลการศึกษา : คุณภาพน้ำ pH คูในคูนอกทะเลสา บ 25515.52-7.156.12-6.936.12-7.43 25526.0-6.605.86-6.976.35-7.22 ออกซิเจ น mg/L คูในคูนอกทะเลสา บ 25514.23-6.484.20-6.774.32-6.33 25525.15-6.474.32-9.335.15-7.40
25
สรุปการศึกษา ปีที่ศึกษา บริเวณโครงการและทะเลสาบ น้ำมีความเค็มต่ำเกือบทั้งปี สัตว์น้ำในโครงการที่พบ ส่วนมากเป็นสัตว์น้ำจืด สำหรับแพลงก์ตอนพืชพบ Chlorella ทุกสถานี และแพลงก์ตอนสัตว์พบโคพีพอดทุกสถานี ส่วนสัตว์หน้าดินพบแอมฟิพอดเป็นประชากรกลุ่มเด่น และพบความชุกชุมสัตว์หน้าดินมากขึ้นตามจำนวนพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่ปลูกในโครงการ
26
สรุปการศึกษา : แพลงก์ตอน พืช : ตัวชี้วัดมลภาวะ ในฤดูร้อนพบแพลงตอนพืชสกุล Nitzschia และ Oscillatoria เป็นตัวชี้วัดถึงมลภาวะที่เกิดจากสารอินทรีย์ Nitzschia บริเวณทะเลสาบ Oscillatoria
27
มูลนิธิชัยพัฒนา ….. ในวันนี้
28
ขอขอบคุณทุกกำลังใจ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.