ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวานี หงสกุล ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
3
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารเวชภัณฑ์ พัฒนาประสิทธิภาพระบบการ บริหารเวชภัณฑ์ การควบคุมการใช้ ( สมเหตุสมผล ประหยัดค่าใช้จ่าย ) วัตถุประสงค์ ลดต้นทุน / มีการใช้เหมาะสมในหน่วย บริการแต่ละระดับ
4
การบริหารจัดการด้านยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง สิ่งดีๆ ที่มี อยู่ มีคณะกรรมการบริหารเวชภัณฑ์ฯ ในการ ขับเคลื่อนงาน เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน ( แยกรายกลุ่ม ) มีการกำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงานตาม ตัวชี้วัดบริหารเวชภัณฑ์ รพ. ทุกแห่ง จัดทำประกาศเกณฑ์จริยธรรม ว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ รวมทั้งติดตามการดำเนินงานตาม ประกาศฯ
5
เป้าหมาย : ร้อยละ 20 ร้อยละการซื้อร่วมแยกตามประเภทวัสดุ PACS
6
กลุ่มวัสดุ มูลค่าแผน จัดซื้อ (A) มูลค่าการ จัดซื้อ ในไตรมาส 1 - 3 (B) ร้อยละของ มูลค่า การจัดซื้อไตร มาส 1 – 3 เมื่อ เทียบกับแผน (B/A) X ๑๐๐ ยา 202,033,058.0 0 142,263,452.0 0 70.42 วัสดุการแพทย์ 54,514,364.00 37,049,171.00 67.96 วัสดุทันตกรรม 12,103,002.00 4,381,969.00 47.03 วัสดุเอกซเรย์ 4,262,843.00 374,658.00 37.79 วัสดุ วิทยาศาสตร์ 63,209,040.00 45,100,985.00 74.97 ภาพรวมจังหวัด 336,122,307.0 0 229,170,235.0 0 70.08 แผนจัดซื้อ เป็นไปตามแผน
7
ผลการดำเนินงานอื่นๆ ที่ น่าสนใจ ทุกโรงพยาบาลมีระบบการกำกับประเมินการ ใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา (Utilization Evaluation) โดยมีการกำหนดรายการยาและ เกณฑ์ประเมินการใช้ยา (DUE) โดยมีการจัดทำ เกณฑ์ประเมินการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลให้ แพทย์ก่อนสั่งใช้ยา และมีการกำกับติดตาม โดยคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด พิจารณาของโรงพยาบาล การดำเนินงาน Antibiotics Smart Use ประสบ ความสำเร็จอย่างดียิ่งคือมีการสั่งใช้ยาปฎิชีว นะใน URI, Acute Diarrhea ไม่เกินร้อยละ 10 ( เกณฑ์สป. สช. ไม่เกินร้อยละ 20) มีการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการอย่าง สมเหตุสมผล การสั่งใช้อย่างสม เหตสมผล
8
ข้อเสนอแนะ ระดับ จังหวัด ควรเพิ่มการจัดซื้อ โดยวิธีสอบราคา / ประกวดราคา /e-bidding ให้ครอบคลุม หมวดวัสดุการแพทย์ วัสดุทันตกรรม และวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ควรเพิ่มการจัดซื้อร่วมในระดับจังหวัด และระดับเขตในครอบคลุมรายการให้ มากขึ้น โดยเฉพาะหมวดวัสดุการแพทย์ และหมวดวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
9
ข้อเสนอแนะ ระดับ จังหวัด ให้ผู้บริหารหน่วยงาน / จังหวัด ติดตามกำกับให้มี การรายงาน ทางเวปไซต์ กระทรวงสาธารณสุข ให้ ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน รวมทั้ง การติดตาม กำกับการ ดำเนินงานตามกลยุทธ์ smart use
10
ข้อเสนอแนะ ระดับกระทรวง ขอให้กระทรวงปรับปรุงระบบรายงานข้อมูล บริหารเวชภัณฑ์ ทาง Online (DMSIC) แยก ตามกลุ่มเวชภัณฑ์ ( ยา / วัสดุการแพทย์ / วัสดุ วิทย์ฯ / วัสดุทันตฯ / วัสดุ X-ray… จ้างและซื้อ ) แผนการจัดซื้อ รายงาน ASU และกำหนดให้ หน่วยงานทุกระดับ ( กระทรวง / เขต / จังหวัด ) ใช้ในการติดตาม / กำกับ ให้เป็นในแนวทาง เดียวและเวปไซด์เดียวกัน
11
สวัส ดี 11
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.