ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยเพิ่ม รักไทย ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ
2
ภารกิจกลุ่มงานประกันสุขภาพ ภารกิจที่ 1 งานลงทะเบียนผู้มีสิทธิ ภารกิจที่ 2 การตรวจประเมินหน่วยบริการเพื่อการขึ้น ทะเบียน ภารกิจที่ 3 การควบคุมกำกับคุณภาพหน่วยบริการ และเครือข่ายหน่วยบริการ ภารกิจที่ 4 การส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ท้องถิ่น / ภาคีเครือข่าย ภารกิจที่ 5 การคุ้มครองสิทธิ การรับเรื่องร้องเรียน ภารกิจที่ 6 การบริหารการชดเชย ภารกิจที่ 7 การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพใน ระดับจังหวัด ภารกิจที่ 8 การสนับสนุนการดำเนินงานของ คณะอนุกรรมการ ภารกิจที่ 9 โครงการบริหารจัดการโรคเฉพาะ ( กรณี ฟอกเลือดล้างไต )
3
1. การบริหารการเงินการคลัง เป้าหมายผลสำเร็จ : ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาทางการเงิน ระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ เกณฑ์เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 10 3 สถานการณ์ ระดับภาวะวิกฤตไม่ควรเกินระดับ 4 สถานการณ์ เดือนพฤศจิกายน 2558 มีโรงพยาบาลบางน้ำเปรี้ยว ประสบภาวะวิกฤต ระดับ 6
4
ตัวชี้วัดของกลุ่มงานประกันสุขภาพ (M 19-R 6) ประสิทธิภาพของการบริหาร การเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่
5
ดัชนีทางการเงิน 5 ดัชนี ประเมินภาวะวิกฤต อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio) ไม่ต่ำกว่า 1.5 เท่า อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) ไม่ต่ำกว่า 1.0 เท่า อัตราส่วนเงินสด (Cash ratio) ไม่ต่ำกว่า 0.80 เท่า เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ (Net Working Capital) ไม่ติดลบ กำไรสุทธิรวมค่าเสื่อมราคาสะสม (Net income+Depleciation) ไม่ติดลบ
6
ประเด็นการตรวจราชการที่ มุ่งเน้น 1. มีคณะทำงานและกลไกในการแก้ไขปัญหาการเงิน 2. หน่วยบริการมีและใช้แผนทางการเงิน (Planfin) 3. หน่วยบริการมีการจัดทำและใช้ต้นทุนบริการ (Unitcost) 4. หน่วยบริการมีการพัฒนาระบบการประเมิน ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง FAI พื้นที่ดำเนินการ หน่วยบริการในสังกัด สป. สธ. ระดับ รพศ. รพท. และ รพช. ทุกแห่ง 6
7
มาตรการดำเนินงานในพื้นที่แนวทางการตรวจติดตาม 1.มีคณะทำงานและกลไกการ ทำงานร่วม เพื่อแก้ไขปัญหาใน พื้นที่ สำหรับ รพ.ที่มีปัญหา การเงิน 1.คณะทำงานร่วมในระดับเขต จังหวัด อำเภอ เพื่อแก้ไขปัญหาและ พัฒนาการบริการและประสิทธิภาพ การเงินการคลังให้กับ รพ. ที่มีปัญหา ทางการเงิน 2.มีการกำหนดประเด็นที่เป็นปัญหา ของหน่วยบริการที่ต้องได้รับการ แก้ไข 2.หน่วยบริการ "มี" และ "ใช้“ แผนทางการเงิน Planfin เพื่อ เป็นเครื่องมือในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การคลังหน่วยบริการ 1. หน่วยบริการได้มีการจัดทำแผน ทางการเงิน (Plan fin) และใช้แผน ทางการเงินเป็นเครื่องมือในการ พัฒนาระบบการเงินและระบบบริการ ที่มีประสิทธิภาพ 2.ติดตามกำกับผลการดำเนินงานใน ทุกไตรมาส 7
8
มาตรการดำเนินงานในพื้นที่แนวทางการตรวจติดตาม 3. หน่วยบริการมีการพัฒนา การจัดทำต้นทุนบริการ / Unit cost เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทางการบริหาร 1. มีการพัฒนาการจัดทำต้นทุนของ หน่วยบริการ โดยใช้ข้อมูลของ ปี2558 2. มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูล ต้นทุนบริการกับค่าเฉลี่ยของหน่วย บริการระดับเดียวกัน 4. มีการพัฒนาระบบ การประเมินประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการคลัง FAI 1.ติดตามการดำเนินงานตามกิจกรรม ทั้ง 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) การพัฒนาระบบควบคุมภายใน 2) การพัฒนาคุณภาพบัญชี 3) การเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารการเงินการคลัง 4) การพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ 8
9
FAI : financial administration index ระดับความสำเร็จการบริหารการเงิน การคลัง การควบคุมภายใน การพัฒนาคุณภาพบัญชี การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร การเงินการคลัง การพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ
10
เกณฑ์การให้คะแนน คะแ นน 11.522.533.545 ระดับ วิกฤ ต 76543210
11
The end
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.