งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค

2 การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ ๓ การใช้อำนาจของคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของ ศธ. ๔. แผนการดำเนินงาน ๕. ขับเคลื่อนภารกิจเร่งด่วนตามประเด็นปฏิรูป

3 ๑. เหตุผลความจำเป็น ๑.๑ การบูรณาการงานระดับพื้นที่ รร.สังกัด อปท. รร.สังกัด ตชด. รร.สังกัด กทม. โครงสร้างเดิม

4 คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของ ศธ. ในภูมิภาค คณะกรรมการการศึกษาจังหวัด (กศจ.) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (ศธจ.) (๗๗ จังหวัด) สำนักงานศึกษาธิการภาค ๑-๑๘ (ศธภ.) (๑๘ แห่ง) สถานศึกษา กศน. ผู้เรียน สถานศึกษา ประถมศึกษา ผู้เรียน สถานศึกษา เอกชน ผู้เรียน สถานศึกษา การศึกษา พิเศษ ผู้เรียน สถานศึกษา อาชีวศึกษา ผู้เรียน สถานศึกษา มัธยมศึกษา ผู้เรียน ส่วนกลาง ภาค จังหวัด รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ องค์การมหาชน หน่วยงานในกำกับ สำนักงานรัฐมนตรี สพฐ. สอศ. รัฐ เอกชน สกอ. รัฐ เอกชน สำนักปลัด สกศ. ก.ค.ศ. กศน. สช. สถานศึกษา ปฐมวัย ผู้เรียน โครงสร้างใหม่ สพป. ๑๘๓ เขต สพป. สพม. ๔๒ เขต สพม. รร.สังกัด อปท. รร.สังกัด ตชด. รร.สังกัด กทม.

5 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ องค์การมหาชน หน่วยงานในกำกับ สำนักงานรัฐมนตรี สพฐ. สอศ. รัฐ เอกชน ส่วนกลาง ภาค จังหวัด สกอ. รัฐ เอกชน สำนักปลัด สกศ. ก.ค.ศ. กศน. สช. สำนักงาน ศึกษาธิการ ภาค 1-13 สถาบัน กศน.ภาค สถานศึกษา เอกชน สถานศึกษา เอกชน สช.จังหวัด/อำเภอสช.จังหวัด/อำเภอ กศน.จังหวัด/อำเภอกศน.จังหวัด/อำเภอ ศูนย์การ ศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ศูนย์การ ศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษจังหวัดศูนย์การศึกษาพิเศษจังหวัดสพป. ๑๘๓ เขต สพป. สพม. ๔๒ เขต สพม. สถานศึกษา การศึกษาพิเศษ สถานศึกษา การศึกษาพิเศษ สถานศึกษา ประถมศึกษา สถานศึกษา ประถมศึกษา สถานศึกษา มัธยมศึกษา สถานศึกษา มัธยมศึกษา สถานศึกษา อุดมศึกษา เอกชน สถานศึกษา อุดมศึกษา เอกชน สถานศึกษา อุดมศึกษา รัฐ สถานศึกษา อุดมศึกษา รัฐ สถานศึกษา อาชีวศึกษา สถานศึกษา อาชีวศึกษา สถานศึกษา กศน. สถานศึกษา กศน. ผู้เรียน สถานศึกษา ปฐมวัย สถานศึกษา ปฐมวัย ผู้เรียน ๑.๒ ช่วงการบังคับบัญชากว้าง ๑: ๒๒๕ ๑: ๘๘๖ โครงสร้างเดิม

6 คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของ ศธ. ในภูมิภาค คณะกรรมการการศึกษาจังหวัด (กศจ.) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (ศธจ.) (๗๗ จังหวัด) สำนักงานศึกษาธิการภาค ๑-๑๘ (ศธภ.) (๑๘ แห่ง) สถานศึกษา กศน. ผู้เรียน สถานศึกษา ประถมศึกษา ผู้เรียน สถานศึกษา เอกชน ผู้เรียน สถานศึกษา การศึกษา พิเศษ ผู้เรียน สถานศึกษา อาชีวศึกษา ผู้เรียน สถานศึกษา มัธยมศึกษา ผู้เรียน ส่วนกลาง ภาค จังหวัด รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ องค์การมหาชน หน่วยงานในกำกับ สำนักงานรัฐมนตรี สพฐ. สอศ. รัฐ เอกชน สกอ. รัฐ เอกชน สำนักปลัด สกศ. ก.ค.ศ. กศน. สช. สถานศึกษา ปฐมวัย ผู้เรียน โครงสร้างใหม่ สพป. ๑๘๓ เขต สพป. สพม. ๔๒ เขต สพม. รร.สังกัด อปท. รร.สังกัด ตชด. รร.สังกัด กทม. ๑ : ๑๘ ๑๘ : ๗๗

7 ๑.๓ เพิ่มความเป็นเอกภาพในการบริหารจัดการศึกษา

8 ๑.๔ ความคล่องตัวในการบริหารงานบุคคล ๑.การเกลี่ยครู ๒.การบรรจุครูใหม่ ๓.การคัดเลือกผู้อำนวยการ ๔.การดำเนินการทางวินัย

9 ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ ๑.การแต่งตั้งคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (“กศจ.”) โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของ ศธ. ในภูมิภาค  ผู้แทนภาคประชาชนในท้องถิ่น จำนวน ๒ คน เป็นกรรมการ  ผู้แทนข้าราชการครูในท้องถิ่น จำนวน ๒ คน เป็นกรรมการ  ผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่เกิน ๓ คนเป็นกรรมการ แต่งตั้งศึกษาธิการภาค และรองศึกษาธิการภาค ๒. แต่งตั้งศึกษาธิการภาค และรองศึกษาธิการภาค จะให้ประธาน กศจ.เสนอชื่อ

10 ๓. การใช้อำนาจของคณะกรรมการ ขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของ ศธ. ๑.(๔) แต่งตั้ง โอน หรือย้ายผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารเขตพื้นที่ การศึกษา หรือผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งต่างๆ ในหน่วยงานของ กระทรวงศึกษาธิการในระดับภูมิภาคหรือจังหวัด ทั้งนี้ ตามประเภทหรือ ระดับตำแหน่งที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการกำหนด (๕) สั่งให้ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษา หรือ ผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งต่างๆ ในหน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิการในระดับ ภูมิภาคหรือจังหวัด หยุดการปฏิบัติหน้าที่หรือให้พ้นจากตำแหน่ง ๒. (๕) สั่งให้ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษา หรือ ผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งต่างๆ ในหน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิการในระดับ ภูมิภาคหรือจังหวัด หยุดการปฏิบัติหน้าที่หรือให้พ้นจากตำแหน่ง ใช้ เมื่อจำเป็น

11 ๔. แผนการดำเนินงาน ๑.ประชุมชี้แจงผู้อำนวยการเขต (โดยเฉพาะผู้อำนวยการ สพป.เขต ๑ ที่จะทำ หน้าที่ศึกษาธิการจังหวัด) ๒.ประสานงาน/ซักซ้อม ความเข้าใจกับผู้ว่าราชการจังหวัดถึงบทบาทหน้าที่ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) และการทำงานร่วมกับ กคศ. ผ่านช่องทาง VTC ของกระทรวงมหาดไทย ๓.จะจัดทำเอกสารมอบให้ผู้เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานตามคำสั่งนี้ ๔.ขับเคลื่อน นโยบายปฏิรูปการศึกษาที่สำคัญ โดยกำหนดเป็น KPIs ประเมินผล งานของ - ศึกษาธิการภาค - ศึกษาธิการจังหวัด - ผู้อำนวยการเขตพื้นที่ - ผู้อำนวยการสถานศึกษา

12 ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ คืนครูสู่ห้องเรียน คืนครูสู่ห้องเรียน -ครูครบชั้น/ครูตรงสาขา/จำนวนนักเรียนต่อห้อง (โดยการบริหารจัดการ (ค.คืนครูผู้ทางคุณค่าแห่งแผ่นดิน)) -ลดภาระครู การผลิตและพัฒนาครู การผลิตและพัฒนาครู -โครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น -ป.บัณฑิต -การอบรมครูออนไลน์ TEPE การจัดการเรียนการสอน STEM ในสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน STEM ในสถานศึกษา ยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษ ยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษ การอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน การอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน ทวิภาคี/ทวิศึกษา ทวิภาคี/ทวิศึกษา อาชีวศึกษาเป็นเลิศ อาชีวศึกษาเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยอุดมศึกษาพี่เลี้ยง มหาวิทยาลัยอุดมศึกษาพี่เลี้ยง โครงการประชารัฐ (ด้านยกระดับคุณภาพวิชาชีพ และ ด้านการศึกษาพื้นฐานและพัฒนาผู้นำ) โครงการประชารัฐ (ด้านยกระดับคุณภาพวิชาชีพ และ ด้านการศึกษาพื้นฐานและพัฒนาผู้นำ) การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารในสถานศึกษา (การเข้าสู่ตำแหน่งของ ผอ.สถานศึกษา การนำผล O-Net มาใช้) การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารในสถานศึกษา (การเข้าสู่ตำแหน่งของ ผอ.สถานศึกษา การนำผล O-Net มาใช้) ๕. ขับเคลื่อนภารกิจเร่งด่วนตามประเด็นปฏิรูปการศึกษา

13 กระทรวงศึกษาธิการ

14


ดาวน์โหลด ppt การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google