ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสมคิด พันธุเมธา ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
รูปแบบการดำเนินงานเพื่อลด โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ สำนักโรคไม่ติดต่อ 12 ม.ค. 2559
2
หมายเหตุ : ข้อมูลปี 2558 แสดงตัวเลขเป็นปีงบประมาณ ต.ค.57 – ก.ย. 58 ที่มา : ข้อมูลมรณบัตร สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข เป้าหมาย : ลดอัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ร้อยละ 10 ในระยะ 5 ปี (2557 – 2562)
3
อัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (I20.0,I21- I24) ปี 2556-2557 จำแนกรายเขตสุขภาพ และภาพรวมของประเทศ (ไม่รวม กทม.) ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ : ข้อมูลรอบ 9 เดือน ของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 55 - มิถุนายน 56 ) และ ข้อมูลรอบ 9 เดือน ของปีงบประมาณ 57 (ตุลาคม 56 - มิถุนายน 57 )
4
จังหวัดที่มีอัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือดสูง(IHD) ใน 15 จังหวัดแรกใน ปีพ.ศ. 2556 ภาพรวมประเทศ 26.9 เขต 1, 3,4 5,6,11
5
ปัจจัยเสี่ยงต่อ โรคหลอดเลือดหัวใจในคนไทย, โครงการลงทะเบียน TACSR ปัจจัยเสี่ยงหลัก DM 44.2 % HT 63.9% ประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือดในครอบครัว 11.2% สูบบุหรี่ 32.0 % ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 75.4% ผู้ป่วยที่มีอายุน้อยพบปัจจัยเสี่ยงเรื่องบุหรี่มากกว่ากลุ่มผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มา รพ.ด้วย STEMI ในขณะที่ผู้สูงอายุมาด้วย non-STEMI, unstable angina สัดส่วนของผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานสูงกว่าประเทศตะวันตกมาก(44.2%และ 23. 8%) ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่เป็นเบาหวานมีอัตราภาวะแทรกซ้อน เช่น หัวใจ วาย มากกว่า(54.5%และ 37.1%) และมีอัตราตายสูงกว่า(14.0%และ 10.5 %) เมื่อเทียบกับกลุ่มผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน
6
อัตราภาวะแทรกซ้อนโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ในผป. DM ในผป. HT
7
Source:WHO statistics 2005 Men aged 35 - 74, Standardised International CHD mortality trends in men, 1968-2003 Why have mortality rates halved?
8
Comparisons with other studies % CHD mortality falls attributed to: 356 NEJM 2007 356 2388 updated
9
Action Framework for Comprehensive Public Health Strategy to Preve nt Heart Disease and Stroke ที่มา : 2008 update to a public health action plan to prevent heart disease and strokes,CDC
10
อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง คนไทยมีพฤติกรรม สุขภาพดี ปัจจัยเสี่ยงลดลง คนไทยมีพฤติกรรม สุขภาพดี ปัจจัยเสี่ยงลดลง ผู้ป่วยโรคหัวใจ เข้าถึงบริการ ได้รับการรักษา ตามมาตรฐาน กลุ่มเสี่ยงสูงต่อ โรคหัวใจ ได้รับ การคัดกรองและ ปรับพฤติกรรม ผู้ป่วยโรคหัวใจ ได้รับการฟื้นฟู ลดอัตราการเป็นซ้ำ ผู้ป่วยโรคหัวใจ ได้รับการฟื้นฟู ลดอัตราการเป็นซ้ำ 1.ลดปัจจัยเสี่ยง ในประชากร ทั่วไปและชุมชน สนับสนุน สภาพแวดล้อมที่ เอื้อต่อสุขภาพ 2.สนับสนุนการ ประเมินและ จัดการปัจจัย เสี่ยงของNCD รายบุคคล 3.ค้นหาผู้ที่มีความ เสี่ยงสูงต่อการเกิด IHD/CVD -รู้อาการเตือน -ปรับพฤติกรรม -ให้ยาตามข้อบ่งชี้ 4.พัฒนาคุณภาพระบบบริการ ระบบส่งต่อ -พัฒนาระบบคลินิก NCD -พัฒนาศักยภาพบุคลากร -ผป. STEMI ได้รับยาทันท่วงที -ผป.โรคหัวใจได้รับการฟื้นฟู
11
เป้าหมาย : ลดและชะลออัตราการป่วยและอัตราตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มเป้าหมาย 15 จังหวัด ชุมชน สถานบริการ เครือข่าย/องค์กรหัวใจดี -การสื่อสารเตือนภัย รณรงค์ เพื่อสร้าง ความตระหนักโรค CVD ผ่านช่องทาง ต่างๆ เช่น สื่อท้องถิ่น สื่อบุคคล -การสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมี สุขภาพดี เช่น สถานที่ออกกำลังกาย ผ่าน ตำบลจัดการสุขภาพ - สังเกตสัญญาณเตือนของโรคหัวใจขาด เลือดและโรคหลอดเลือดสมอง ในกลุ่มเสี่ยงสูง - การติดตามเยี่ยมบ้านโดย จนท.สธ. ร่วมกับ อสม. (ในกลุ่มเสี่ยงสูง) - ประเมิน CVD Risk ใน ผู้ป่วย DM HT - การจัดบริการตามความเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามความ เสี่ยงแบบเข้มข้นหรือแบบรีบด่วน การดูแล รักษาตามกลุ่มเสี่ยง และให้ยาตามข้อบ่งชี้ - รายงานผลการดำเนินงาน -ค้นหากลุ่มเสี่ยง*ในองค์กร -จัดกิจกรรมลดเสี่ยง ในองค์กร -รายงานผลการดำเนินงาน/สรุปผล รายงานการดำเนินงานฯ *BMI≥25 -รอบเอว ช. >90 cm ญ. >80 cm -ออกกำลังกาย< 30 นาทีต่อวัน 3 วัน ต่อ สัปดาห์ -ระดับไขมันสูง -สูบบุหรี่ -preDM preHT 1. สนับสนุนคู่มือและโปสเตอร์การประเมิน CVD risk ในผู้ป่วย DM/HT 2. สนับสนุนโปรแกรม/อบรมการใช้โปรแกรมคัดกรอง CVD risk 3. สนับสนุนคู่มือให้เกิดการจัดการตนเองของกลุ่มเสี่ยงต่อ CVD สำหรับ อสม. 1. สนับสนุนคู่มือดำเนินงานองค์กรหัวใจดีให้กับผู้ ประสานงานหลักของ สคร./สสจ./เทศบาล 2. การประชุมชี้แจงผู้รับผิดชอบหลักของเทศบาลและ สสจ. ใน 15 เทศบาล 3. จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยง*ใน 15 เทศบาลและ ชุดเครื่องมือสนับสนุนกลุ่มเสี่ยงในการดำเนินงานองค์กร หัวใจดี 4. แบบรายงานผลการดำเนินงาน กรอบการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ประจำปีงบประมาณ 2559 การสนับสนุนจากส่วนกลาง กิจกรรม
12
Education -สื่อสารเตือนภัย โอกาสเกิดโรค CVD -ประเมิน CVD risk -สัญญาณเตือนภัยของ CHD -กิจกรรม เรียนรู้ กลุ่ม/บุคคล -ปรับเปลี่ยน- อาหารDASH/ลดเกลือ ออกกำลังกาย บุหรี่ Multidisciplinary team ปรับกระบวนการบริการ Self Mx support Community care network -เยี่ยมบ้านโดยทีม 3 เดือนครั้ง ในรายที่ –risk>30% หรือ DMHT poor controlled ใน 6 ประเด็น -อาหาร /Exercise/บุหรี่/ FCG/ BP/ drug compliance - อสม. ประเมิน CVD risk ซ้ำ–risk>30% ทุก 1-2 เดือน risk 20-30 % ทุก 3 เดือน แนวทางการดำเนินงานลดโรค CVD ในจังหวัดนำร่อง Information รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สื่อสารเตือนภัย ร่วมจัดกิจกรรมเรียนรู้ สร้างสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม คลินิก NCD / สถาน บริการ ชุมชน
13
พยาบาล แพทย์ เภสัชกรโภชนากรนักกายภาพ Multidisciplinary team
14
ขั้นตอนการให้บริการ ตรวจติดตาม ตรวจห้องปฏิบัติการ พยาบาล ซักประวิติตรวจร่างกายตามแบบประเมินเบื้องต้น ประเมิน CVD risk คัดกรองตา ไต เท้า ช่องปาก (ในรายที่ยังไม่ได้ประเมินในปีนี้) แบ่งกลุ่มผู้ป่วยเป็นกลุ่มตามปัญหาหลัก (จากที่แพทย์กำหนดจากการตรวจครั้งก่อน หรือ จากการประเมินเบื้องต้นของพยาบาล) อาหาร, ยา, การออกกำลัง,การรักษาอื่นๆ เข้ากลุ่มพบสหสาขาตามปัญหาหลัก เข้าพบแพทย์ ผู้ป่วยที่มีปัญหาเร่งด่วนเข้าพบสหสาขาเป็นรายบุคคล รับใบสั่งยาและใบนัด ตรวจห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม ดูวีดีทัศน์ความรู้ทั่วไป
15
ประเด็นความรู้ CHD ในคลินิก ความรู้เรื่อง CVD การประเมิน CVD risk สัญญาณเตือนภัยของ CHD การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งแบบกลุ่ม/บุคคล (ปรับเปลี่ยน- อาหารDASH/ลดเกลือ ออกกำลังกาย บุหรี่)
16
สื่อประกอบการดำเนินงาน วีดิทัศน์ "ความรู้เรื่องโรคหัวใจและ ปอด"ชุดโรคหัวใจ - อาหารต้านโรคหัวใจ - บุหรี่ปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจ - การออกกำลังกายป้องกัน โรคหัวใจ วีดิทัศน์ -ความรู้เรื่องโรคหัวใจและปอด ชุด การบริหารจัดการ Heart Failure Clinic - ความรู้เรื่องโรคหัวใจและปอด ชุด การบริหารจัดการ Warfarin Clinic วีดิทัศน์ "ความรู้เรื่องโรคหัวใจ และปอด" ชุด โรคกล้ามเนื้อ หัวใจตายเฉียบพลัน - โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย เฉียบพลันคืออะไร? - การวินิจฉัยโรคกล้ามเนื้อ หัวใจตายเฉียบพลัน - การรักษาโรคกล้ามเนื้อ หัวใจตายเฉียบพลัน - การป้องกันและปฏิบัติตัว หลังจาก Heart Attack สามารถดาวโหลดข้อมูลได้ที่ www.thaincd.comหรือ http://www.ccit.go.th/ วีดิทัศน์ "ความรู้เรื่องโรคหัวใจ และปอด"ชุด STEMI - STEMI คืออะไร?? - อาการทั่วไปของโรค "STEMI" - การวินิจฉัยโรค "STEMI" - การป้องกันไม่ให้เกิดโรค "STEMI" - โรงพยาบาลเครือข่าย รักษา อาการ "STEMI" - การป้องกันโรคหัวใจ - การให้ความรู้เกี่ยวกับ "โรคหัวใจขาดเลือดชนิด เฉียบพลัน”
17
ตัวอย่างสื่อประกอบการดำเนินงาน - แผ่นพับเรื่องการออก กำลังกายให้หัวใจแข็งแรง - แผ่นพับเรื่องท่าออกกำลัง กาย - แผ่นพับเรื่องโรคหลอด เลือดหัวใจ - แผ่นพับเรื่อง ลดมัน ลด เสี่ยงเลี่ยงโรคหัวใจ - แผ่นพับเรื่อง Say No ปฏิเสธบุหรี่ง่ายนิดเดียว - แผ่นพับเรื่องความดัน โลหิตสูง &โรคหัวใจ - แผ่นพับเรื่อง คอเลสเตอรอล &โรคหัวใจ
18
เป้าหมายบริการและผลลัพธ์ การดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ในคลินิกNCD ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง ต่อ CVD ร้อยละ 60 กลุ่มเสี่ยงสูง (> 30% ได้รับ บริการเข้มข้น ร้อยละ 50) -อัตราป่วย IHD รายใหม่ลดลง -ผป DM HT ควบคุมได้ -กลุ่มเสี่ยงสูงควบคุมปัจจัย เสี่ยงได้ /โอกาสเสี่ยงลดลง
19
แนวทางการดำเนินงานเพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)ประจำปีงบประมาณ 2559 ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในสถานบริการ กลุ่มเสี่ยงปานกลางRisk < 20% กลุ่มเสี่ยงสูงRisk 20-<30% กลุ่มเสี่ยงสูงมากRisk >30% เป้าหมาย: ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และBPให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ เป้าหมาย : การลด/ชะลอโอกาสเสี่ยงต่อการ เกิดโรค CVD เป้าหมาย : การป้องกันการเกิดโรค CVD กิจกรรมRisk < 20% Risk 20-<30% Risk >30% ดูแลตาม CPG DM HT/// การลดปัจจัยเสี่ยงหลักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคล อย่างเข้มข้น เฝ้าระวังอาการเตือนทราบสัญญาณเตือน / ทีมสหวิชาชีพ// ได้รับยาตามข้อบ่งชี้ ได้แก่ ยา ลดไขมัน ยา DM HTยาลดระดับ น้ำตาล ยาแอสไพริน /// ติดตามการประเมินCVD Riskทุก 1 ปีทุก 6-12 เดือนทุก 3-6 เดือน
20
Information : คลินิก NCD รายบุคคล -พฤติกรรมรวมบุหรี่ - การประเมินCVD risk - BMI/WC, BP, FPG, HbA1C, Cholesterol - การเกิด CHD, stroke ในกลุ่มเสี่ยง DM HT - ผู้ที่ไม่มาตามนัด ภาพรวม - ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตควบคุมได้ - จำนวนผู้ป่วย IHD, Stroke รายใหม่ - ผลการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มผู้ป่วย DM, HT - จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - program CVD Risk ฐานข้อมูลมาตรฐาน 43 แฟ้ม
21
การดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ในชุมชน สร้างสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประเด็นสื่อสาร CHD ในชุมชน เยี่ยมบ้าน 3 เดือนครั้งโดยทีมในรายที่ risk>30% หรือ DMHT poor controlled - 6 ประเด็น (อาหาร /Exercise/ บุหรี่/FCG/ BP/ drug compliance) อสม. ประเมิน CVD risk ซ้ำ –risk>30%ทุก 1-2 เดือน risk 20-30 % ทุก 3 เดือน
22
รายการยาที่ใช้ข้อมูลการใช้ยาของผู้ป่วยใช่ไม่ใช่รายละเอียด 1. 1.ผู้ป่วยกินยาตรงตามฉลากยาที่แพทย์สั่ง หรือไม่ 2.2.ผู้ป่วยขาดยา หรือลืมกินยาหรือไม่……………………......ครั้ง/สัปดาห์ 3. 3.ผู้ป่วยใช้ยาแก้ปวดอย่างแรง กลุ่ม “เอ็นเสด ” ชื่อยา………….….ชนิดที่ใช้…..….... 4.4.ผู้ป่วยใช้ยาสมุนไพรหรือไม่ชื่อยา………….….ชนิดที่ใช้…..….... 5.5.ผู้ป่วยซื้อยาชุดมากินเองหรือไม่ชื่อยา………….….ชนิดที่ใช้…..….... บันทึกข้อมูลการใช้ยาของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ระยะเวลาเฉลี่ย(วัน)จำนวนวัน/สัปดาห์ปัญหาที่พบ ออกกำลังกายเพิ่มมวล กล้ามเนื้อเพิ่มความคล่องตัว..................ครั้ง/สัปดาห์…………….วัน/สัปดาห์ บันทึกข้อมูลการการออกกำลังกาย
23
บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประสาน/เป็นพี่เลี้ยงให้จังหวัดกลุ่มเป้าหมาย แนะนำให้คำปรึกษา สนับสนุนองค์ความรู้ ขับเคลื่อนให้เกิดการดำเนินงาน ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานทั้งในส่วนของ สถานบริการและชุมชน พร้อมทั้งรายงานผลทุก 6 เดือน ให้กับสำนักโรคไม่ติดต่อ สคร.
24
FOCUS จังหวัดเสี่ยงสูง ต่อ CKD,CHD คก.ดำเนินงานลดโรค CKD,CHD - Model ลดปัจจัยเสี่ยง สื่อสารเตือนภัย สนับสนุนSelf monitoring เครื่องมือสื่อสารความเสี่ยง ความร่วมมือกับชุมชน ลดป่วย CKD,CHD ลดตาย CKD,CHD คลินิกNCDคุณภาพ บูรณาการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วย DMHT -รูปแบบ CKD clinic - บูรณาการการดูแล ระบบรักษา ส่งต่อ CKD CHD ระบบเฝ้าระวังข้อมูล โรคและปัจจัยเสี่ยง ระบบการติดตาม ประเมินผล, KM กลุ่มเป้าหมาย ทีมหมอ ครอบครัว อสม. NCD case manager CKD nurse SM,NCD board รพ.แม่ข่าย : จังหวัด CUP
25
บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง NCD Board ร่วมกับคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานCVD ประชุมอย่างน้อย 1 ครั้งทุกไตรมาส กำหนดและชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้เกี่ยวข้อง สื่อสารเตือนภัยในภาพจังหวัด วิเคราะห์และพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามgap: อสม. Case manager ทีมสหวิชาชีพ ข้อมูลภาพรวม - จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตควบคุมได้ - จำนวนผู้ป่วย IHD (I20.0, I21-I24), Stroke รายใหม่ - จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองCVD Risk และจัดกลุ่มตามระดับความเสี่ยง - กิจกรรมเพื่อลดโอกาสเสี่ยง - จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - program CVD Risk ฐานข้อมูลมาตรฐาน 43 แฟ้ม ติดตามและเชื่อมโยงการปฏิบัติงานคลินิก NCD ชุมชน เทศบาล สรุปผลการดำเนินในภาพรวมของ จังหวัด สสจ.
26
- ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดและจัดกลุ่มเพื่อ ให้บริการตามขั้นตอน - การจัดกลุ่มเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามปัจจัยเสี่ยงที่เป็นปัญหาหลักของกลุ่ม เสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่, ด้านโภชนาการ, ด้านยา, ด้านการออกกำลังกายและด้าน สุขภาพจิต - จัดกิจกรรมสนับสนุนให้เกิดการจัดการตนเอง ในกลุ่มเสี่ยง เช่น เข้าค่ายปรับเปลี่ยน บุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งที่ควบคุมได้และควบคุมไม่ได้ - การสื่อสารเตือนภัยและรณรงค์เรื่องโรคหัวใจและหลอดเลือด - เป็นพี่เลี้ยงและที่ปรึกษาในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเกี่ยวกับโรคหัวใจและหลอด เลือดในสถานบริการลูกข่าย สถาน บริการ บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
27
- การสื่อสารเตือนภัย รณรงค์ เพื่อสร้างความตระหนักโรค CVD ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น สื่อท้องถิ่น สื่อบุคคล - การสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี เช่น สถานที่ออกกำลังกาย ผ่านตำบลจัดการสุขภาพ - สังเกตสัญญาณเตือนของโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง ในกลุ่มเสี่ยงสูง - +/-EMS - การติดตามเยี่ยมบ้านโดย จนท.สธ. ร่วมกับ อสม. (ในกลุ่มเสี่ยงสูง) ชุมชน บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
28
- สนับสนุนทรัพยากรในการดำเนินงาน กิจกรรมในชุมชนและ/หรือค่ายเพื่อให้ความรู้และ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ส่งผลต่อโรคเรื้อรัง - จัดตั้ง/สนับสนุนให้มีพื้นที่ เช่น การออกกำลังกายหรือเพิ่มกิจกรรมทางกาย การจัด อบรมให้ความรู้ สื่อสาร รณรงค์เลิกบุหรี่และอาหารเสี่ยง - +/-EMS - การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรู้และความตระหนัก เทศบาล/องค์การ ปกครองส่วน ท้องถิ่น บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
29
การดำเนินงานโดยส่วนกลาง สนับสนุนงบประมาณ เครื่องมือ ● สนับสนุนคู่มือและโปสเตอร์การประเมิน CVD risk ในผู้ป่วย DM/HT ● สนับสนุนโปรแกรม/อบรมการใช้โปรแกรมคัดกรอง CVD risk ● สนับสนุนคู่มือการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม. ● สื่อวิดิทัศน์/แผ่นพับ เพื่อให้ความรู้ในคลินิก ● แบบรายงานผลการดำเนินงาน
30
ตัวอย่างแบบติดตาม สถาน บริการ โรคเบาหวาน / โรคความดันโลหิตสูง จำนวนการแบ่งกลุ่มตามความเสี่ยงการจัดการตามความเสี่ยง ผู้ป่วย ทั้งหม ด ผู้ป่วย ที่ได้รับ การคัด กรอง คิดเป็นร้อย ละ กลุ่มเสี่ยง ปานกลาง Risk <20% คิดเป็น ร้อยละ กลุ่ม เสี่ยงสูง Risk 20- <30% คิดเป็น ร้อยละ กลุ่มเสี่ยง สูงมาก Risk >30% คิดเป็น ร้อยละ เสี่ยง สูงมาก คิด เป็น ร้อย ละ รวม คิดเป็น ร้อยละ รวม แบบรายงานผลการคัดกรองการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ในผู้ป่วย โรคเบาหวาน / โรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาล / สสจ................................... อำเภอ................................. จังหวัด.......................................... ข้อมูล การคัดกรองเดือนตุลาคม 2558 ถึงมกราคม 2559
31
แบบรายงานการติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคเบาหวาน / โรคความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง C VD ตั้งแต่เสี่ยงสูงมากขึ้นไป แยกรายปัจจัยเสี่ยง โรงพยาบาล / สสจ................................ อำเภอ............................. จังหวัด........................... ข้อมูลการคัดกรองเดือนตุลาคม 2558 ถึง เดือนมกราคม 2559, ข้อมูลการคัดกรองหลังการปรับเปลี่ยนฯตาม ปัจจัยเสี่ยง รอบที่ 1 รอบที่ 2 ตัวอย่างแบบติดตาม ข้อมูลผู้ป่วยกลุ่มปรับเปลี่ยนเข้มข้นรายสถานบริการ สถานบริการ จำนวนกลุ่ม เสี่ยง CVD Risk สูง มากขึ้นไป (Risk ≥30%) เป้าหมายโรค SBP>140CHOL>200 FBS>130 สูบบุหรี่ รอบเอว เกิน พฤติกรรม ลด หวาน มัน เค็ม ออกกำลัง กายครั้งละ 30 นาที 5 ครั้ง / สัปดาห์ รวม ชาย หญิง DM+HT HT DM ก่อนหลังก่อนหลังก่อนหลังก่อนหลังก่อนหลังก่อนหลังก่อนหลัง รวม หมายเหตุ : ข้อมูลการคัดกรองหลังการปรับเปลี่ยนฯ รอบที่ 1 ก. พ.- เม. ย. 59, รอบ 2 พ. ค.- ก. ค.59
32
แบบรายงานการติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคเบาหวาน / โรคความดันโลหิตสูงที่มีความ เสี่ยง CVD ตั้งแต่เสี่ยงสูงมากขึ้นไป โรงพยาบาล / สสจ................................ อำเภอ............................. จังหวัด........................... ข้อมูลการคัดกรองก่อนการปรับเปลี่ยนฯเดือนตุลาคม 58 ถึง มกราคม 59 ข้อมูลการคัดกรองหลังการ ปรับเปลี่ยนฯ รอบที่ 1 รอบที่ 2 ตัวอย่างแบบติดตาม ข้อมูลกลุ่มเสี่ยงสูงมากที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นของสถานบริการ สถานบริการ การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ผลการคัดกรอง CVD Risk ก่อนการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ผลการคัดกรอง CVD Risk หลัง การ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงสูงมาก Risk ≥30% กลุ่มเสี่ยงปานกลาง Risk <20% กลุ่มเสี่ยงสูง Risk 20-<30% กลุ่มเสี่ยงสูงมาก Risk ≥ 30% รวม หมายเหตุ : ข้อมูลการคัดกรองหลังการปรับเปลี่ยนฯ รอบที่ 1 ก. พ.- เม. ย. 59, รอบ 2 พ. ค.- ก. ค.59
34
อัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือด (I20-I25) ต่อประชากร 100,000 คน ปี พ.ศ.2556 - 2558 จำแนกรายจังหวัดของเขตบริการสุขภาพที่ 11 และภาพรวมของประเทศ ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
35
อัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (I20.0,I21- I24) ปี 2556-2557 จำแนกรายเขตสุขภาพ และภาพรวมของประเทศ (ไม่รวม กทม.) ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ : ข้อมูลรอบ 9 เดือน ของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 55 - มิถุนายน 56 ) และ ข้อมูลรอบ 9 เดือน ของปีงบประมาณ 57 (ตุลาคม 56 - มิถุนายน 57 ) อัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (I20.0,I21- I24) ปี 2556-2557 จำแนกรายจังหวัดของเขตบริการสุขภาพที่ 11 และภาพรวมของประเทศ (ไม่รวม กทม.)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.