ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวรพร สมิธ ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
1
2
กิจกรรมอบรมความรู้ด้าน ICT เพื่อส่งเสริมความเท่าเทียม 2
3
วัตถุประสงค์วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรบมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม Microsoft Office 2010 ได้ เพื่อให้ผู้เข้าอบรบได้มีทักษะเพิ่มขึ้นในการใช้งานโปรแกรม Microsoft Office 2010 เพื่อให้ผู้เข้าอบรบสามารถศึกษาเรียนรู้ต่อไปได้ด้วยตัวเอง เพื่อให้ผู้เข้าอบรบนำเอาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนได้ เพื่อให้ผู้เข้าอบรบสามารถนำไปเป็นพื้นฐานสู่อาชีพได้ 3
4
เนื้อหาการฝึกอบรมเนื้อหาการฝึกอบรม วันที่ ๒ การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word 2010 (ต่อ) การบันทึกข้อมูลรูปแบบต่างๆ การสั่งพิมพ์งานเอกสาร การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel 2010 การใช้เครื่องมือของโปรแกรมสร้างตารางงานบัญชี การจัดการรูปแบบตาราง และเซลล์ข้อมูล การใช้สูตรคำนวณ หรือใช้ฟังก์ชั่นพื้นฐาน การแทรกวัตถุอื่นๆ ในตารางงาน 4
5
เนื้อหาการฝึกอบรม (ต่อ) วันที่ ๒ (ต่อ) การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel 2010 (ต่อ) การจัดเรียงข้อมูล การกรองข้อมูล การบันทึกไฟล์ Excel ในรูปแบบต่างๆ การตั้งค่าหน้ากระดาษ การสั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ 5
6
6
7
การใช้เครื่องมือของโปรแกรม สร้างตารางงานบัญชี ทำความรู้จักโปรแกรมสร้างตารางงานด้านบัญชี ส่วนประกอบของโปรแกรม Excel 2010 แนะนำกลุ่มคำสั่งต่างๆ ใน Ribbon การใช้งาน Name Box และปุ่มคำสั่งคีย์ลัดต่างๆ การใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับ Clipboard การทำงานกับแผ่นงาน (Worksheet) 7
8
ทำความรู้จักโปรแกรม สร้างตารางงานด้านบัญชี (ต่อ) โปรแกรม Excel เป็นโปรแกรมหนึ่งของ Microsoft ที่นิยมนำมาใช้ ในเรื่องของการจัดการเก็บข้อมูลในรูปแบบตารางที่มีปริมาณข้อมูลมากๆ และมีความสามารถในด้านการคำนวณตั้งแต่การใช้สูตรคำนวณขั้นพื้นฐาน ไปจนถึงสูตรทางการเงินที่ซับซ้อน การคำนวณให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็วกว่าการใช้ เครื่องคิดเลข อีกทั้งยังสามารถจัดเรียง ค้นหาข้อมูล แสดงข้อมูลเป็น แผนภูมิ เปรียบเทียบ หรือวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินขั้นสูงได้อีกด้วย 8
9
ส่วนประกอบของโปรแกรมส่วนประกอบของโปรแกรม แถบเลื่อน (Scrollbar) แผ่นงาน (Worksheet) แถบสถานะ (Status Bar) จุดจับเติม (Fill Handle) เซลล์ปัจจุบัน (Active Cell) หัวคอลัมน์ และหัวแถว คอลัมน์ (Column) แถว (Row) แถบสูตร (Formula bar) กล่องชื่อ (Name box) แท็บคำสั่ง (Tab) แถบริบบอน (Ribbon) แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) แถบเครื่องมือด่วน (Quick Access Toolbar) 9
10
ส่วนประกอบของโปรแกรม (ต่อ) 1) ย่อหน้าต่างโปรแกรม 2) ย่อหน้าต่างสมุดงาน 10
11
ส่วนประกอบของโปรแกรมส่วนประกอบของโปรแกรม ชื่อส่วนประกอบหน้าที่การทำงาน 1. Quick Access Toolbar แถบเครื่องมือด่วน ใช้แสดงปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อย เป็นคำสั่งที่มาจากแท็บต่างๆ 2. Title Bar แถบแสดงชื่อไฟล์สมุดงาน และชื่อโปรแกรม 3. Tab แท็บคำสั่งต่างๆ ใช้แสดงชื่อแท็บคำสั่งที่สามารถใช้ได้ในโปรแกรม Excel 4. Ribbon แถบริบบอน ใช้เป็นบริเวณวางกลุ่มคำสั่งในแต่ละแท็บของโปรแกรม Excel 5. File Tab แท็บแฟ้ม เป็นแท็บคำสั่งที่ใช้ในการจัดการไฟล์ เช่น การบันทึก การเปิด-ปิดไฟล์ 6. Name Box กล่องชื่อ ใช้แสดงชื่อเซลล์ ณ ตำแหน่งปัจจุบัน (Active Cell) 7. Formula bar แถบสูตร เป็นตำแหน่งที่ใช้สำหรับการสร้างสูตรคำนวณ 8. Column คอลัมน์ สำหรับใส่ข้อมูลเป็นแถวในแนวตั้ง เช่น คอลัมน์ A, B, C,… จนถึง XFD 9. Row แถว สำหรับใส่ข้อมูลเป็นแถวในแนวนอน เช่น แถว 1, 2, 3,… จนถึง 1048576 10. Cell เซลล์ ช่องสี่เหลี่ยมสำหรับใส่ข้อมูล เกิดจากจุดตัดระหว่างคอลัมน์ และแถว 11. Workbook สมุดงาน หรือไฟล์ที่สร้างขึ้นจากโปรแกรม Excel จะมีนามสกุล.xlsx 12. Worksheet แผ่นงาน ในแต่ละไฟล์จะมีแผ่นงานได้หลายแผ่น สามารถเพิ่ม-ลดได้ภายหลัง 13. Sheet Tab แท็บแสดงชื่อแผ่นงาน หรือชื่อชีทที่ใช้ในการสร้างตารางงาน 14. Status Bar แถบสถานะ ใช้แสดงสถานะของโปรแกรม เช่น มุมมองต่างๆ ย่อ-ขยายหน้าต่าง 11
12
แท็บ หน้าแรก แท็บ แทรก แท็บ เค้าโครงหน้ากระดาษ แนะนำกลุ่มคำสั่งต่างๆ ใน Ribbon 12
13
แนะนำกลุ่มคำสั่งต่างๆ ใน Ribbon แท็บ สูตร แท็บ ข้อมูล แท็บ ตรวจทาน 13
14
แนะนำกลุ่มคำสั่งต่างๆ ใน Ribbon แท็บ มุมมอง แท็บ แฟ้ม คำสั่งที่ทำงานเกี่ยวกับไฟล์โดยตรง เช่น สร้าง เปิด ปิด บันทึก ใส่คุณสมบัติ หรือตั้งค่าต่างๆ เพิ่มเติมให้กับโปรแกรม Excel (การตั้งค่าให้ต่างจากค่าพื้นฐาน) เช่น เพิ่มจำนวนแผ่นงาน 14
15
กล่องชื่อ (Name Box) ตามปกติ Name Box จะบอกตำแหน่งของเซลล์ซึ่งอ้างอิง มาจากตำแหน่งของเซลล์ปัจจุบัน ดังรูป แสดงตำแหน่ง B3 จึง หมายถึง ขณะนี้ทำงานอยู่ ณ คอลัมน์ B แถวที่ 3 ดังนั้นหากว่า ผู้ใช้ต้องการไปยังตำแหน่งเซลล์ใดๆ ในแผ่นงานก็สามารถพิมพ์ ชื่อเซลล์นั้นลงไปโดยตรงได้ทันที ปุ่มคำสั่งคีย์ลัด (Shortcut Key) ผู้ใช้สามารถกดปุ่มบนคีย์บอร์ดเพื่อทำงานบางอย่างในทันที โดยไม่ต้องใช้คำสั่งจากริบบอน ซึ่ง สะดวก และรวดเร็วกว่า สามารถทำได้ดังต่อไปนี้ การใช้งาน Name Box และปุ่มคำสั่งคีย์ลัดต่างๆ 15
16
ตัวอย่างปุ่มคำสั่งคีย์ลัด (Shortcut Key) การใช้งาน Name Box และปุ่มคำสั่งคีย์ลัดต่างๆ (ต่อ) X F C Shift F5 P วางข้อมูล คัดลอกข้อมูล ย้ายข้อมูล พิมพ์ออกเครื่องพิมพ์ G ค้นหา ใส่ข้อมูลทุกเซลล์ ไปที่ 16
17
การใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับคลิปบอร์ดการใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับคลิปบอร์ด บนแท็บ หน้าแรก ในกลุ่มคำสั่ง คลิปบอร์ด มีคำสั่งที่สำคัญ 4 คำสั่ง ดังนี้ ตัด (Ctrl + X) คัดลอก (Ctrl + C) วาง (Ctrl + V) ตัวคัดวางรูปแบบ 17
18
การใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับคลิปบอร์ดการใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับคลิปบอร์ด คำสั่ง ตัด (Ctrl + X) ตัด คือ คำสั่งสำหรับการย้ายข้อมูลเพื่อไปวาง ณ ตำแหน่งอื่น สามารถทำได้ดังนี้ 1) เลือกเซลล์ที่ต้องการย้ายข้อมูล 2) คลิกแท็บ หน้าแรก 3) คลิกคำสั่ง ตัด 4) ข้อมูลที่เลือกไว้จะถูกย้ายไปเก็บ ไว้ในคลิปบอร์ด และรอผู้ใช้นำออก มาวางยังตำแหน่งที่ต้องการต่อไป 18
19
การใช้คำสั่ง ตัด (Ctrl + X) 19
20
การใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับคลิปบอร์ดการใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับคลิปบอร์ด คำสั่ง คัดลอก (Ctrl + C) คัดลอก คือ คำสั่งสำหรับการคัดลอกข้อมูล เพื่อไปวางเพิ่มเติม ณ ตำแหน่งอื่น สามารถทำได้ดังนี้ 1) เลือกเซลล์ที่ต้องการคัดลอกข้อมูล 2) คลิกแท็บ หน้าแรก 3) คลิกคำสั่ง คัดลอก 4) ข้อมูลที่เลือกไว้จะถูกทำสำเนาเพื่อ ไปเก็บไว้ในคลิปบอร์ด และรอผู้ใช้นำ ออกมาวางยังตำแหน่งอื่นๆ ต่อไป 20
21
การใช้คำสั่ง คัดลอก (Ctrl + C) 21
22
การใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับคลิปบอร์ดการใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับคลิปบอร์ด คำสั่ง วาง (Ctrl + V) วาง คือ คำสั่งสำหรับการนำเอาข้อมูลที่เก็บไว้ออกมาวางบนพื้นที่ ทำงาน สามารถทำได้ดังนี้ 1) เลือกเซลล์ที่ต้องการวางข้อมูล 2) คลิกแท็บ หน้าแรก 3) คลิกคำสั่ง วาง 4) ข้อมูลที่อยู่ในคลิปบอร์ดรายการ ล่าสุด จะถูกวางลงพื้นที่ทำงาน ณ ตำแหน่งที่ต้องการทันที หมายเหตุ ก่อนใช้คำสั่ง วาง ต้องทำการตัด หรือ คัดลอกไว้ก่อนแล้ว 22
23
การใช้คำสั่ง วาง (Ctrl + V) 23
24
การใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับคลิปบอร์ดการใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับคลิปบอร์ด คำสั่ง ตัวคัดวางรูปแบบ ตัวคัดวางรูปแบบ คือ คำสั่ง สำหรับการคัดลอกเฉพาะรูปแบบที่ได้ เคยจัดไว้ก่อน เพื่อนำไปใช้กับตำแหน่ง อื่นๆ ตัวอย่างดังรูป ที่เซลล์ A2 มีการ จัดรูปแบบไว้แล้ว ผู้ใช้ต้องการที่จะให้ เซลล์ B2:D2 มีรูปแบบเหมือนกัน 24
25
การทำงานกับแผ่นงานการทำงานกับแผ่นงาน คลิกขวาบนแผ่นงานชื่อ Sheet1 > คลิก เปลี่ยนชื่อ 25
26
การทำงานกับแผ่นงาน (ต่อ) คลิกขวาบนแผ่นงานชื่อ Sheet1 > แทรก > แผ่นงาน 26
27
27
28
การสร้างตารางงานการสร้างตารางงาน 28 การสร้างไฟล์ตารางงาน การสร้างไฟล์ตารางงานใหม่ การสร้างไฟล์ตารางงานจากแม่แบบ
29
การสร้างไฟล์ตารางงานการสร้างไฟล์ตารางงาน การสร้างไฟล์ตารางงานใหม่ คลิกที่แท็บ แฟ้ม สร้าง สมุดงานเปล่า สร้าง การสร้างไฟล์ตารางงานจากแม่แบบ คลิกที่แท็บ แฟ้ม สร้าง ตัวอย่างแม่แบบ Thai Invoice 29
30
การสร้างไฟล์ตารางงานใหม่การสร้างไฟล์ตารางงานใหม่ 30
31
การสร้างไฟล์ตารางงานจากแม่แบบการสร้างไฟล์ตารางงานจากแม่แบบ 31
32
การสร้างไฟล์ตารางงานจากแม่แบบ (ต่อ) 32
33
การสร้างไฟล์ตารางงานจากแม่แบบ (ต่อ) 33
34
34
35
การจัดการตารางงานการจัดการตารางงาน การเลือกแถว หรือคอลัมน์ การเพิ่มแถว หรือคอลัมน์ การลบแถว หรือคอลัมน์ การตีเส้นขอบตาราง การจัดรูปแบบตารางโดยใช้คำสั่ง จัดรูปแบบเป็นตาราง 35
36
การเลือกแถว หรือคอลัมน์ การเลือกคอลัมน์ การเลือกแถว คอลัมน์ที่ ถูกเลือก 36 แถวที่ถูก เลือก
37
การเลือกหลายแถว หรือหลายคอลัมน์ กรณีเลือกหลายแถว หรือหลายคอลัมน์ที่ติดกัน สามารถทำได้ ดังนี้ คลิกเมาส์ค้างไว้ที่ ตำแหน่งหัวแถว หรือหัวคอลัมน์ แล้วลากเมาส์ไป เท่ากับจำนวนที่ ผู้ใช้ต้องการ 37
38
การเพิ่มแถว หรือคอลัมน์ สามารถทำได้ ดังนี้ แถวที่เพิ่ม ขึ้นมา 38
39
การเพิ่มแถว หรือคอลัมน์ (ต่อ) หรือคลิกขวาที่หัวแถว หรือหัวคอลัมน์ > เลือก แทรก 39
40
การลบแถวการลบแถว สามารถทำได้ดังนี้ 1) คลิกเลือกแถวที่จะลบ 2) คลิกแท็บ แทรก > ลบ > ลบแถวในแผ่นงาน 40
41
การลบคอลัมน์การลบคอลัมน์ สามารถทำได้ดังนี้ 1) คลิกเลือกคอลัมน์ที่จะลบ 2) คลิกแท็บ แทรก > ลบ > ลบคอลัมน์ในแผ่นงาน 41
42
การตีเส้นขอบการตีเส้นขอบ เลือกพื้นที่ก่อน > คลิกแท็บ หน้าแรก > เส้นขอบ 42
43
การการจัดรูปแบบเป็นตารางการการจัดรูปแบบเป็นตาราง เลือกพื้นที่ก่อน > คลิกแท็บ หน้าแรก > คลิก จัดรูปแบบ เป็นตาราง > คลิก เลือกรูปแบบที่ต้องการ 43
44
การการจัดรูปแบบเป็นตาราง (ต่อ) เลือกรูปแบบตามต้องการ > คลิก ตกลง 44
45
การการจัดรูปแบบเป็นตาราง (ต่อ) ผลลัพธ์ของการจัดรูปแบบเป็นตาราง 45
46
การเปลี่ยนชื่อแท็บการเปลี่ยนชื่อแท็บ คลิกขวาบนชื่อแท็บที่ต้องการ > เปลี่ยนชื่อ > พิมพ์ชื่อใหม่ 46
47
การเปลี่ยนสีแท็บการเปลี่ยนสีแท็บ คลิกขวาบนชื่อแท็บชีทที่ต้องการ > สีแท็บ > เลือกสีที่ต้องการ 47
48
การจัดรูปแบบเซลล์ข้อมูลการจัดรูปแบบเซลล์ข้อมูล การเติมข้อมูลด้วย Auto Fill การจัดตำแหน่งข้อมูลในเซลล์ การรวมเซลล์ หรือแยกเซลล์ข้อมูล การจัดรูปแบบข้อมูลตัวเลขในเซลล์ การจัดรูปแบบตามเงื่อนไขที่กำหนด 48
49
คลิกขวาบนชื่อแท็บชีทที่ต้องการ > สีแท็บ > เลือกสีที่ต้องการ การเติมข้อมูลด้วย Auto Fill 49
50
คลิกเซลล์ที่ต้องการ > คลิกเมาส์ค้างและลากไปยังเซลล์ต่อเนื่องกัน > ปล่อยเมาส์ ณ เซลล์ปลายทาง > คลิก ตัวเลือกการเติมอัตโนมัติ > เลือกรูปแบบ การเติมข้อมูลด้วย Auto Fill 50
51
คลิกแท็บ หน้าแรก > การจัดแนว > คลิกเลือก การจัดแนวในแนวตั้ง (จัดชิดด้านบน, จัดตรง กลาง, จัดชิดด้านล่าง) หรือเลือกการจัดแนวใน แนวนอน (จัดแนวข้อความชิดซ้าย, กึ่งกลาง, จัดแนวข้อความชิดขวา) การจัดตำแหน่งข้อมูลในเซลล์การจัดตำแหน่งข้อมูลในเซลล์ 51 ซ้าย, ล่าง กึ่งกลาง ขวา, บน
52
คลิกเลือกเซลล์ที่จะรวมกัน > คลิกแท็บ หน้าแรก > คลิกเลือกการผสาน การรวมเซลล์ หรือแยกเซลล์ข้อมูล 52 รวม 4 เซลล์เป็นเซลล์เดียวกัน และจัดกึ่งกลาง
53
คลิกเซลล์ที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบ > คลิกแท็บ หน้าแรก > คลิก ตัวเลข > คลิกเลือกรูปแบบตัวเลข การจัดรูปแบบข้อมูลตัวเลขในเซลล์การจัดรูปแบบข้อมูลตัวเลขในเซลล์ 53 เดิมพิมพ์เลข 123 ไว้ เปลี่ยนเป็น 123.00
54
เลือกพื้นที่ต้องการจัดรูปแบบ > คลิกแท็บ หน้าแรก > การจัดรูปแบบ ตามเงื่อนไข > เลือกแถบข้อมูล การจัดรูปแบบตามเงื่อนไขที่กำหนดการจัดรูปแบบตามเงื่อนไขที่กำหนด 54
55
แบบแถบข้อมูล แบบชุดไอคอน (3 สัญลักษณ์) การจัดรูปแบบตามเงื่อนไขที่กำหนด (ต่อ) 55
56
56
57
การคำนวณหาค่าต่างๆ ใน Excel โดยเขียนสูตรขึ้นเองนั้น เริ่มต้นที่ การใส่เครื่องหมายเท่ากับ (=) ก่อน ตัวอย่างเช่น ต้องการจะหาผลคูณ ระหว่างเลข 2 กับเลข 3 แล้วบวกด้วย 5 เขียนสูตรเองได้ดังนี้ =2*3+5 เครื่องหมายที่ใช้ในการคำนวณ การบวก (+) การลบ (-) การคูณ (*) การหาร (/) ส่วนการยกกำลัง (^) ทั้งนี้ผู้ใช้ต้องคำนึงถึงลำดับความสำคัญ ในการคำนวณด้วย เพราะการเขียนสูตรจะต้องเขียนต่อเนื่องกันไปในเซลล์ เดียวกัน การคำนวณใน Excel 57
58
ลำดับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ลำดับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ลำดับการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และการคำนวณทางคณิตศาสตร์ สำหรับโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์จะใช้กฎของความสำคัญเรียงลำดับ ดังต่อไปนี้ 1. จำนวนในวงเล็บ (Parentheses) 2. จำนวนยกกำลัง (Exponents) 3. การคูณ และการหาร (Multiplication and Division) 4. การบวก และการลบ (Addition and Subtraction) ดังนั้น 6/2(2+1) = 6÷2×(2+1) = 3×3 = 9 58
59
ตัวอย่างการคำนวณใน Excel พิมพ์เครื่องหมายเท่ากับ (=) ก่อน > พิมพ์สูตรคำนวณ > Enter 59
60
การใช้สูตรคำนวณแบบอ้างอิงเซลล์การใช้สูตรคำนวณแบบอ้างอิงเซลล์ 60 พิมพ์เครื่องหมายเท่ากับ (=) ก่อน > คลิกที่เซลล์ตัวตั้ง > พิมพ์เครื่องหมายตัวกระทำการ เช่น + สำหรับการบวก > คลิกที่เซลล์ตัวบวก > กดปุ่ม Enter ตัวอย่างดังนี้
61
ตัวอย่างการคำนวณตามลำดับตัวอย่างการคำนวณตามลำดับ 1) ทำในวงเล็บ 3-1 = 2 2) ทำการยกกำลัง 2 2 = 4 3) ทำการคูณ 3x4 = 12 4) ทำการบวก และลบ 61
62
62
63
การใช้ฟังก์ชั่นพื้นฐานการใช้ฟังก์ชั่นพื้นฐาน 63 ฟังก์ชั่นคำนวณหาผลรวม (SUM) ฟังก์ชั่นคำนวณหาค่าเฉลี่ย (AVERAGE) ฟังก์ชั่นคำนวณหาค่าต่ำสุด (MIN) ฟังก์ชั่นคำนวณหาค่าสูงสุด (MAX) ฟังก์ชั่นนับจำนวนตัวเลข (COUNT) ฟังก์ชั่นนับจำนวนชุดข้อมูล (COUNTA) ฟังก์ชั่นนับจำนวนช่องว่าง (COUNTBLANK)
64
ฟังก์ชั่นคำนวณหาผลรวม (SUM) 64 เพื่อคำนวณหาผลรวมของช่วงเซลล์ข้อมูลที่ถูกเลือก มีรูปแบบ ดังนี้ =SUM(เซลล์เริ่มต้น:เซลล์สุดท้าย) =SUM(เซลล์เริ่มต้น,ช่วงเซลล์อื่นๆ) ตัวอย่างเช่น
65
ฟังก์ชั่นคำนวณหาค่าต่ำสุด (MIN) 65 เพื่อคำนวณหาค่าต่ำสุดของช่วงเซลล์ข้อมูลที่ถูกเลือก มีรูปแบบ ดังนี้ =MIN(เซลล์เริ่มต้น:เซลล์สุดท้าย) =MIN(เซลล์เริ่มต้น,ช่วงเซลล์อื่นๆ) ตัวอย่างเช่น
66
ฟังก์ชั่นคำนวณหาค่าสูงสุด (MAX) 66 เพื่อคำนวณหาค่าสูงสุดของช่วงเซลล์ข้อมูลที่ถูกเลือก มีรูปแบบ ดังนี้ =MAX(เซลล์เริ่มต้น:เซลล์สุดท้าย) =MAX(เซลล์เริ่มต้น,ช่วงเซลล์อื่นๆ) ตัวอย่างเช่น
67
67 เพื่อนับเฉพาะข้อมูลที่เป็นตัวเลขในช่วงเซลล์ข้อมูลที่ถูกเลือก มีรูปแบบ ดังนี้ =COUNT(เซลล์เริ่มต้น:เซลล์สุดท้าย) =COUNT(เซลล์เริ่มต้น,ช่วงเซลล์อื่นๆ) ตัวอย่างเช่น ฟังก์ชั่นการนับจำนวน (COUNT)
68
ฟังก์ชั่นการนับจำนวน (ต่อ) 68 เพื่อนับจำนวนชุดข้อมูลไม่ว่าจะเป็นตัวเลข หรือข้อความใดๆ มีรูปแบบ ดังนี้ =COUNTA(เซลล์เริ่มต้น:เซลล์สุดท้าย) =COUNTA(เซลล์เริ่มต้น,ช่วงเซลล์อื่นๆ) ตัวอย่างเช่น
69
ฟังก์ชั่นการนับจำนวน (ต่อ) 69 เพื่อนับจำนวนชุดข้อมูลที่เป็นช่องว่าง มีรูปแบบ ดังนี้ =COUNTBLANK(เซลล์เริ่มต้น:เซลล์สุดท้าย) =COUNTBLANK(เซลล์เริ่มต้น,ช่วงเซลล์อื่นๆ) ตัวอย่างเช่น
70
การแทรกวัตถุอื่นๆ ในตารางงาน การจัดเรียงข้อมูล และการกรองข้อมูล การบันทึกข้อมูล – บันทึกเอกสารในรูปแบบปกติ (Excel 2010) – บันทึกเอกสารในรูปแบบอื่นๆ เช่น Excel 97-2003, CSV หรือ PDF File การสั่งพิมพ์งานเอกสาร – การแสดงหน้าเอกสารเพื่อตรวจสอบก่อนสั่งพิมพ์ – การตั้งค่าหน้ากระดาษ เช่น ขนาดหน้ากระดาษ, ระยะขอบ หรือการวางแนว กระดาษเป็นแนวตั้ง หรือแนวนอน – การตั้งค่าอื่นๆ เพื่อสั่งพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์ 70
71
71
72
การแทรกวัตถุอื่นๆ ในตารางงาน การแทรกรูปภาพ การแทรกภาพตัดปะ การแทรกแผนภูมิ การแทรกกราฟิก SmartArt
73
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ คลิกแท็บ แทรก > คลิกเลือก รูปภาพ
74
การแทรกภาพตัดปะการแทรกภาพตัดปะ คลิกแท็บ แทรก > คลิกเลือก ภาพตัดปะ ตัวอย่างภาพที่แทรก
75
การแทรกรูปร่างการแทรกรูปร่าง คลิกแท็บ แทรก > คลิกเลือก รูปร่าง ตัวอย่างรูปร่าง พระอาทิตย์ที่แทรก
76
การแทรกแผนภูมิการแทรกแผนภูมิ คลิกแท็บ แทรก > คอลัมน์ (เมื่อต้องการ กราฟแท่ง) > คลิกเลือกรูปแบบย่อย จาก คอลัมน์สองมิติหรือแผนภูมิ คอลัมน์สามมิติ
77
การแทรกแผนภูมิ (ต่อ) เลือกช่วงข้อมูลที่จะให้แสดงกราฟ แผนภูมิที่ได้
78
การแทรกกราฟิก SmartArt คลิกแท็บ แทรก > SmartArt > เลือกรูปแบบ กราฟิก SmartArt ที่ต้องการ
79
การแทรกกราฟิก SmartArt (ต่อ) เลือกรูปแบบกราฟิก SmartArt ตามต้องการ ได้จากรายชื่อกลุ่ม เช่น รายการ, กระบวนการ, วงกลม หรือ พีระมิด > พิมพ์ข้อความ คลิกเปิด เพื่อพิมพ์รายการแสดงกราฟิก SmartArt พิมพ์ข้อมูล
80
80
81
การจัดการกับชุดข้อมูลการจัดการกับชุดข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล o จัดเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก o จัดเรียงข้อมูลจากมากไปหาน้อย การกรองข้อมูล 81
82
การจัดเรียงข้อมูลการจัดเรียงข้อมูล จัดเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก จัดเรียงข้อมูลจากมากไปหาน้อย 82
83
การกรองข้อมูลการกรองข้อมูล เพื่อคัดกรองเฉพาะสิ่งที่สนใจออกมา สามารถทำได้ดังนี้ 83
84
การกรองข้อมูล (ต่อ) ตัวอย่างต้องการคัดกรองเฉพาะคะแนนเก็บมากกว่า หรือเท่ากับ 40 84 คัดกรองแล้วจะเหลือเพียง 11 คน
85
คลิกแท็บ แฟ้ม > บันทึก > เลือกที่จัดเก็บ > ตั้งชื่อไฟล์ > บันทึก การบันทึกไฟล์งานครั้งแรกการบันทึกไฟล์งานครั้งแรก 85
86
คลิกแท็บ แฟ้ม > บันทึกเป็น > เลือกที่จัดเก็บ > เปลี่ยนชื่อไฟล์ใหม่ > บันทึก การบันทึกไฟล์เดิมเป็นชื่ออื่นการบันทึกไฟล์เดิมเป็นชื่ออื่น 86
87
การบันทึกงานเพื่อส่งต่อการบันทึกงานเพื่อส่งต่อ คลิกแท็บ แฟ้ม > บันทึกและส่ง > เลือกวิธีการส่งต่อ 87
88
คลิกแท็บ แฟ้ม > บันทึกและส่ง > เปลี่ยนชนิดแฟ้ม > เลือกชนิดแฟ้มอื่นๆ เช่น Excel 97- 2003, CSV เป็นต้น > บันทึกเป็น การบันทึกเป็นชนิดไฟล์อื่นๆการบันทึกเป็นชนิดไฟล์อื่นๆ 88
89
89
90
การสั่งพิมพ์งานใน Excel การแสดงหน้าเอกสารเพื่อตรวจสอบก่อนสั่งพิมพ์ การตั้งค่าหน้ากระดาษ เช่น o ขนาดหน้ากระดาษ o ระยะขอบหน้ากระดาษ o การจัดวางแนวหน้ากระดาษเป็นแนวตั้ง หรือแนวนอน การตั้งค่าอื่นๆ เพื่อสั่งพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์ 90
91
เพื่อตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนสั่งพิมพ์ ซึ่งสามารถทำได้ดังนี้ การแสดงหน้าเอกสารเพื่อตรวจสอบก่อนการแสดงหน้าเอกสารเพื่อตรวจสอบก่อน 91 คลิกแท็บ แฟ้ม คลิก พิมพ์ ตั้งค่าเพิ่มเติมก่อน คลิกปุ่ม พิมพ์ ดูความถูกต้อง
92
การตั้งค่าหน้ากระดาษการตั้งค่าหน้ากระดาษ ขนาดของหน้า กระดาษ ซึ่งตามปกติโปรแกรม จะตั้งค่าไว้แล้ว คือ ขนาด A4 92 คลิกแท็บ เค้าโครงหน้ากระดาษ ขนาด เลือกขนาดกระดาษ
93
การตั้งค่าหน้ากระดาษการตั้งค่าหน้ากระดาษ ระยะขอบกระดาษ 93 คลิกแท็บ เค้าโครงหน้ากระดาษ ระยะขอบ เลือกระยะขอบตามต้องการ
94
การตั้งค่าหน้ากระดาษการตั้งค่าหน้ากระดาษ จัดวางแนวหน้ากระดาษ ให้เป็นแนวตั้ง หรือแนวนอน 94 คลิกแท็บ เค้าโครงหน้ากระดาษ การวางแนว เลือกวางแนวตั้ง หรือแนวนอน
95
การตั้งค่าอื่นๆ เพื่อสั่งพิมพ์ หน้ากระดาษ 95 คลิกแท็บ หน้า ตั้งค่าตามต้องการ ตัวเลือกอื่นๆ
96
การตั้งค่าอื่นๆ เพื่อสั่งพิมพ์ (ต่อ) ระยะขอบ 96 คลิกแท็บ ระยะขอบ ตั้งค่าตามต้องการ ตัวเลือกอื่นๆ
97
การตั้งค่าอื่นๆ เพื่อสั่งพิมพ์ (ต่อ) หัวกระดาษ/ท้ายกระดาษ 97 คลิกแท็บ หัวกระดาษ/ท้ายกระดาษ ตั้งค่าตามต้องการ ตัวเลือกอื่นๆ
98
การตั้งค่าอื่นๆ เพื่อสั่งพิมพ์ (ต่อ) แผ่นงาน 98 คลิกแท็บ แผ่นงาน ตั้งค่าตามต้องการ ตัวเลือกอื่นๆ
99
การตั้งค่าอื่นๆ เพื่อสั่งพิมพ์ คุณสมบัติเครื่องพิมพ์ 99 คลิก ตั้งค่าตามต้องการ คลิกปุ่ม OK
100
กิจกรรมอบรมความรู้ด้าน ICT เพื่อส่งเสริมความเท่าเทียม 100
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.