ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยนงนุช บราวน์ ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
เขตบริการสุขภาพที่ 10
3
1. ประกาศนโยบายของเขตสุขภาพ ด้านการให้รหัสโรค ( บันทึก Diag text ทุกครั้งที่ให้บริการ ) และแต่งตั้ง คณะทำงานฯเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2558 2. ทุกโปรแกรม HIS พัฒนาโปรแกรม ให้มีช่องสำหรับบันทึก Diag text เพื่อความสมบูรณ์ของข้อมูลและสอบ กลับได้ 3. ประเมินคุณภาพข้อมูลตามเกณฑ์ ของสนย. Error A-C ของผู้ป่วย ทั้งหมด
4
4. อบรมเจ้าหน้าที่ประเมินระดับจังหวัด เพื่อปรับมาตรฐาน (Standardize เดียวกันทั้งเขต ) เมื่อวันที่ 20-21 สิงหาคม 2558 ที่ สสจ. อำนาจเจริญ 5. อบรมแพทย์ / ทันตแพทย์ที่จบใหม่ สร้างความเข้าใจการจัดเก็บและการ บันทึก ICD-10 ของหน่วยบริการ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2558 ที่ สสจ. อำนาจเจริญ 6. ประเมินภายในจังหวัด / ประเมินไขว้ จังหวัด เดือนพฤศจิกายน 2558 7. สรุปผลการดำเนินงาน เดือน ธันวาคม 2558
6
* ทุกจังหวัดในเขตฯ ได้ทำการติดตั้ง Server ของระบบเรียบร้อยแล้ว * ยโสธร, มุกดาหาร, อุบลราชธานี เริ่มใช้ งานระบบแล้ว * ศรีสะเกษ ในส่วนของโรงพยาบาล และ รพ. สต. ที่มี Admin ได้ดำเนินการแล้ว จะ ดำเนินการอบรมการใช้งานทั้งจังหวัด กลางเดือนกันยายน 2558 อำนาจเจริญ จะดำเนินการอบรมการใช้ งานทั้งจังหวัดเมื่อ 18 ส. ค. 58
7
มี Data Center ระบบส่งต่อข้อมูล ผู้ป่วยระดับเขต ทุกโรงพยาบาลในเขตสามารถส่ง ข้อมูลผู้ป่วยส่งต่อ เข้า Data Center เพื่อจัดเก็บและใช้ประโยชน์ร่วมกัน จังหวัดศรีสะเกษและอำนาจเจริญ ทุกหน่วยบริการ ( รวมรพ. สต.) สามารถส่งข้อมูลผู้ป่วยส่งต่อ เข้า Data Center เพื่อจัดเก็บและใช้ ประโยชน์ร่วมกัน โปรแกรม HI กำลังพัฒนาเพื่อให้ สามารถส่งข้อมูลเข้า Data Center ระบบส่งต่อได้โดยตรง ( ไม่ผ่านโปรแกรม Refer Link)
10
ระบบฐานข้อมูล FCT พร้อมใช้งาน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน FCT
11
43 แฟ้ม
15
เปรียบเทียบปริมาณข้อมูล ระหว่าง ทะเบียนของหน่วย บริการทั้งที่เป็นเอกสารและ ข้อมูลใน HIS กับระบบ ข้อมูล 43 แฟ้ม (HDC) พบว่า person มีความ ครบถ้วนมากกว่าร้อยละ 95 PERSON EPI LABOR ANC แฟ้มที่เหลือ ปริมาณข้อมูล ในระบบ 43 แฟ้ม น้อยกว่า ข้อมูลในหน่วยบริการ สาเหตุเกิดจากเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบ บันทึกข้อมูล เข้าใน HIS ไม่ครบถ้วน กระบวนการนำเข้าข้อมูล ของระบบ 43 แฟ้ม --> ควร มีการทบทวนการลงข้อมูล ของ จนท. ในจุดที่เกี่ยวข้อง
16
อบศกยสอจ มหมห มีระบบการจัดการข้อมูล รายบุคคลในรูปแบบ 43 แฟ้ม มีระบบการตรวจสอบ ข้อมูลผ่าน 43 แฟ้ม / Data Center ข้อมูลของแฟ้ม Person มีคุณภาพ มากกว่า 95 % ข้อมูลของแฟ้ม Labor ครบถ้วน ข้อมูลของแฟ้ม EPI ครบถ้วน ข้อมูลของแฟ้ม ANC ครบถ้วน
17
มีการพัฒนานวัตกรรมบริการด้านระบบสารสนเทศ ร่วมกันทั้ง 5 จังหวัด เช่น พัฒนาระบบติดตามตัวชี้วัด Cockpit, ระบบติดตาม / รายงาน ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย จังหวัดอุบลราชธานี มีการพัฒนา UBON System เพื่อช่วยในเรื่องการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม เข้า DataCenter จังหวัดศรีสะเกษ พัฒนา Application การตรวจสอบ คุณภาพข้อมูล 43 แฟ้ม
18
X กลุ่มที่มีข้อมูลการส่งต่อในระบบฯ กลุ่มที่ไม่มีข้อมูลการส่งต่อในระบบฯ อุบลราชธานี 16 แห่ง อุบลราชธานี 9 แห่ง ศรีสะเกษ 21 แห่ง ศรีสะเกษ 1 แห่ง ยโสธร 8 แห่ง ยโสธร 1 แห่ง อำนาจเจริญ 6 แห่ง อำนาจเจริญ 1 แห่ง มุกดาหาร 7 แห่ง มุกดาหาร 0 แห่ง
19
ยังมี รพ. บางแห่งที่ยังไม่สามารถส่ง ข้อมูลเข้า Server ของเขตได้ อาจมี สาเหตุจาก / แนวทางแก้ไข 1. มีจนท. ประจำศูนย์รับส่งต่อ ผป. ไม่เพียงพอ ขาดคนบันทึกข้อมูล / จัดอัตรากำลัง หรือ หมุนเวียนบุคลากรจากจุดอื่น 2. กำลังพัฒนาโปรแกรมของตนเองไม่อยากใช้ ร่วมกัน / ให้ Admin เขียนโปรแกรมเชื่อมเข้า Referlink Datacenter เขต 10 3. รพ. ต้นทางและปลายทาง ไม่เปิด Tools Monitor ข้อมูลจึงไม่ถูกนำเข้า (Download) จาก ReferLink Data Center ทำให้ข้อมูลต้น ทางและปลายทาง ไม่ตรงกัน / Admin หมั่น ตรวจสอบการเปิด Tools
20
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.