หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Advertisements

หลักการโปรแกรม 1 Lecture 12: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Operator of String Data Type
นายเจตวัฒน์ สมเจริญเกียรติ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
บทที่ 4 คำสั่งควบคุม โปรแกรม. คำสั่งควบคุมโปรแกรมออกได้เป็น 2 ประเภท คือ คำสั่งแบบกำหนดเงื่อนไข (Conditional Statement) คำสั่งแบบทำงานซ้ำ (Repetitive.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
1 Search & Sort Search & Sort วรวิทย์ พูลสวัสดิ์.
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 Introduction to Algorithm Analysis
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM Linked List.
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกม คณิตคิดเร็ว.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมโดยเขียนคำสั่ง VBA
Array.
บทที่ 8 อาร์เรย์และโครงสร้าง
บทที่ 10 อาร์เรย์ (Array)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
START INPUT R = 1 R = R Yes R*R <=2 No R = R PROCESS
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
3 โครงสร้างข้อมูลแบบคิว (QUEUE).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array Sanchai Yeewiyom
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
พอยเตอร์ #include <stdio.h> void main() { int age; int *pointer;
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array) กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความหมาย ตัวแปรเดี่ยว int a; ตัวแปรชุด (หรือแถวลำดับ หรือ อาร์เรย์) ? a a 1 2 3 9 8 ตัวแปร a จะเก็บค่าของข้อมูลได้ 10 ค่า ใช้ index เพื่อระบุตำแหน่ง เช่น a[3] หมายถึง ตัวแปร a ตำแหน่งที่ 3 กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ตัวอย่างการนำไปใช้ เขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักเรียน 10 คน และให้แสดง คะแนนที่มีค่าเท่ากับคะแนนเฉลี่ยขึ้นไป การหาค่าเฉลี่ย จำเป็นต้องรู้จำนวนข้อมูล และค่าของข้อมูลทุกตัว การแสดงผลเฉพาะนักเรียนที่มีคะแนนเท่ากับค่าเฉลี่ย จำเป็นต้องเก็บข้อมูลทุกตัวไว้ เขียนโปรแกรมเพื่อเรียงลำดับเลข 20 จำนวน ต้องรับตัวเลขให้ครบทุกจำนวนก่อน จึงจะทำการเรียงลำดับได้ a 1 2 3 9 8 กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

การประกาศตัวแปรแบบอาร์เรย์ รูปแบบ ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[จำนวนช่องที่เก็บข้อมูล]; int n[10]; หมายถึง กำหนดให้อาร์เรย์ n เป็นตัวแปรชุด ชนิดเลขจำนวน เต็มที่สามารถเก็บข้อมูลได้ 10 ตัว โดยกำหนดค่าเริ่มต้นให้ อาร์เรย์ n[0], n[1], .., n[9] ตามลำดับ int x[5]={10,20,30,40,50}; หมายถึง กำหนดให้อาร์เรย์ x เป็นตัวแปรชุด ชนิด เลขจำนวนเต็ม ที่สามารถเก็บข้อมูลได้ 5 ตัว โดยกำหนดค่า เริ่มต้นให้อาร์เรย์ x[0],x[1], .., x[4] เป็น 10, 20, 30, 40 และ 50 ตามลำดับ char name[30]; หมายถึง กำหนดให้อาร์เรย์ name เป็นตัวแปรชุดชนิด ข้อความที่สามารถเก็บข้อมูลได้ 29 ตัวอักษร โดยที่ข้อมูล ตำแหน่งที่ 30 จะเก็บ \0 กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ตัวแปรชุด 1 มิติ (One Dimension Array) ตัวอย่าง int a[10]; หมายถึง คอมพิวเตอร์จะจองเนื้อที่ในหน่วยความจำให้สำหรับตัวแปร a เป็นตัวแปรชุดชนิดจำนวนเต็มแบบ 1 มิติ มีจำนวนสมาชิก 10 ตัว โดยในหน่วยความจำจะเตรียมที่ไว้ให้ 2 ไบท์ สำหรับสมาชิกแต่ละตัว ดังนี้ a[0] a[1] a[2] a[9] .... 1000 1001 1002 1003 1004 1005 ? ? กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ตัวแปรชุด 1 มิติ (One Dimension Array) ตัวอย่าง char b[10]; หมายถึง คอมพิวเตอร์จองพื้นที่สำหรับตัวแปร b ให้เป็นตัวแปรชุดชนิดตัวอักขระ แบบ 1 มิติมีจำนวนสมาชิก 10 ตัว โดยหน่วยความจำจะจัดเตรียมเนื้อที่ให้ 1 ไบท์ สำหรับสมาชิกแต่ละตัว ดังนี้ b[0] b[1] b[2] b[9] .... 2000 2001 2002 2009 กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ตัวแปรชุด 1 มิติ (One Dimension Array) ตัวอย่าง float c[5]; หมายถึง คอมพิวเตอร์จองพื้นที่สำหรับตัวแปร c ให้เป็น ตัวแปรชุดชนิดตัวเลขมีจุดทศนิยม แบบ 1 มิติมีจำนวนสมาชิก 5 ตัว โดยหน่วยความจำจะจัดเตรียมเนื้อที่ให้ 4 ไบท์ สำหรับสมาชิกแต่ละตัว ดังนี้ ... 1000 1001 1002 1003 1004 1005 1006 1007 1016 1017 1018 1019 C[0] C[1] C[4] กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 1 มิติ Begin End n [ ] ]= 10 1 20 2 30 #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int n[3]; clrscr(); n[0]=10; n[1]=20; n[2]=30; printf("Array[0] = %d\n",n[0]); printf("Array[1] = %d\n",n[1]); printf("Array[2] = %d\n",n[2]); }

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 1 มิติ #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int n[3]={10,20,30}; clrscr(); printf("Array[0] = %d\n",n[0]); printf("Array[1] = %d\n",n[1]); printf("Array[2] = %d\n",n[2]); } อาร์เรย์ ลำดับที่ (Index) 0 1 2 10 20 30

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 1 มิติร่วมกับโครงสร้างการทำงานซ้ำ #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int n[3]={10,20,30}; int i; clrscr(); for(i=0;i<=2;i++) printf("Array[%d] = %d\n",i,n[i]); }

แบบฝึกหัด เขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักเรียน 10 คน และให้แสดง คะแนนที่มีค่าเท่ากับคะแนนเฉลี่ยขึ้นไป เขียนโปรแกรมเพื่อเรียงลำดับเลข 20 จำนวน จากสูตรคำนวณหาเงินฝากทบต้น มีดังนี้ เงินฝากทบต้น = เงินต้น x ( 1 + อัตราดอกเบี้ย ) จำนวนปี จงเขียนโปรแกรมป้อนเงินต้น ดอกเบี้ย และจำนวนปีที่ฝาก แล้วพิมพ์ ผลลัพธ์เงินฝากทบต้น ตั้งแต่ปีแรก จนถึงปีสุดท้าย ดังนี้ ปีที่ เงินฝากทบต้น ## #####.## ## #####.## กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์