MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบส่งเสริมการเกษตร(พืช)
Advertisements

ผู้อำนวยการกองแผนงาน กรมส่งเสริมการเกษตร
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
สภาพที่มุ่งหวัง (45 จังหวัด)
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
กิจกรรม การนำกองทุนฯ ไปใช้ประโยชน์ - ช่วยเหลือการบำบัดผู้เสพฯ ที่อยู่ในหมู่บ้าน / ชุมชน - กรรมการชุมชน... - ระเบียบชุมชน... ทุนปัญญา ทุนศรัทธา ทุนขวัญถุง.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ผู้จัดการเกษตรแปลงใหญ่
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทางการจัดเวทีการขับเคลื่อนการทำงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ ปี 2559
โครงการประจำปีงบประมาณ 2559
การระดมความคิดเห็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลของ กลุ่มที่ 9 ภาคเหนือตอนบน แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตร อำเภอพระนครศรีอยุธยา ปี 2560
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
จังหวัดสมุทรปราการ.
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
ทุนวิจัย กลุ่มเรื่องนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาพื้นที่ ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร บทบาทหน้าที่นักส่งเสริมการเกษตร ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้จัดการการเกษตรในพื้นที่ ทิศทางการพัฒนา B = K + A ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร B Behavior K Knowledge A Attitude M Management การส่งเสริมการเกษตรในลักษณะ “แปลงใหญ่” B = K + A + M

ผู้บริหารจัดการในพื้นที่ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง นักส่งเสริมการเกษตร M Mapping R Remote Sensing C Community Participation F Specific Field Service MRCF พื้นที่ คน สินค้า

การส่งเสริมการเกษตรแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ จังหวัดชัยภูมิ การบริหารจัดการ พื้นที่เกษตรกรรม Zoning การบริหาร แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ RBM (4W1 / 4M) ระบบส่งเสริม การเกษตรมิติใหม่ MRCF การใช้ที่ดิน Land use ปัจจัยนำเข้า In put - คน - เงิน - วัสดุ - การจัดการ กระบวนการทำงาน Process M = Mapping R = Remote Sensing C = Community participation F = Speccific Field Servier ผลสัมฤทธิ์ Result ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome)

MRCF - Zoning - ศูนย์เรียนรู้ - แปลงใหญ่ การเชื่อมโยงการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ จังหวัดชัยภูมิ MRCF - Zoning - ศูนย์เรียนรู้ - แปลงใหญ่

องค์ประกอบการเกษตรแปลงใหญ่ ผู้จัดการ กลุ่มเกษตรกร การบริหาร กษอ ผู้จัดการแปลง บริหารจัดการแปลง บริหารเชื่อมโยง เชื่อมโยงตลาด จัดการปัจจัยการผลิต/เครื่องจักร กระบวนการผลิต/ตลาด การรวมกลุ่ม กระบวนการกลุ่ม วิเคราะห์ พื้นที่แปลงใหญ่ รวมแปลงเล็กเกษตรกรให้เป็นพื้นที่แปลงใหญ่

กระบวนการทำงาน 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย 2. แต่งตั้งคณะทำงานระดับจังหวัด / ระดับอำเภอ 3. ชี้แจงทำความเข้าใจ / ประชาสัมพันธ์ 4. วิธีการบรรลุเป้าหมาย 5. ทีมงานร่วมรับรู้ 6. การเก็บ Score ประเด็นการพัฒนา (เรื่องอะไร) พัฒนามาอย่างไร เป้าหมาย วิธีการ หน่วยงานหลัก ทุกหน่วยงาน ประชุม แผนปฏิบัติงาน กำหนดยุทธศาสตร์จังหวัดมอบภารกิจ วิเคราะห์พื้นที่

ตัวอย่างเค้าโครงการนำเสนอ (บรรยายสรุป) ระดับพื้นที่ 1. การบรรยายสรุปของเกษตรตำบล 2. การนำเสนอของเกษตรกรเจ้าของศูนย์ฯ 3. การต่อยอดสู่แปลงใหญ่

การบรรยายสรุปของ กษต. 1. ทิศทางการพัฒนาระดับจังหวัด (ให้มีไม่เกิน 2 สไลด์) 2. ทิศทางการพัฒนาระดับอำเภอ (จุดเน้นของอำเภอ) 3. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของตำบล พื้นที่ เกษตรกร สินค้าเกษตร ความเหมาะสมของพื้นที่ สถานการณ์ / ปัญหาในตำบล ความจำเป็น/ความต้องการ/ความคาดหวังในการพัฒนา

ศูนย์เรียนรู้ฯ (ตอบโจทย์อะไร มีความโดดเด่นอะไร) ใครเป็นเจ้าของศูนย์ฯ พื้นฐานเป็นอย่างไร ตั้งอยู่ที่ไหน สภาพแวดล้อมของศูนย์ฯ เป็นอย่างไร ประเด็นหลัก/สาระหลักของศูนย์คืออะไร

การนำเสนอของเกษตรกรเจ้าของศูนย์ฯ 1. ประวัติ/ความเป็นมาของศูนย์ฯ เริ่มต้น/ พัฒนา/ หน่วยงาน 2. การพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ฯ เรื่องใด/ ผัง/ กิจกรรม พืชหลัก/ ความโดดเด่น 3. ความพร้อมของศูนย์ องค์ประกอบศูนย์/ การบริหารจัดการ/ แผนการเรียนรู้/ ศูนย์เครือข่าย ฯลฯ 4. ผลการดำเนินงาน เกษตรกรเรียนรู้/ ศึกษาดูงาน/ คนที่ได้รับผลประโยชน์ 5. สรุป ศูนย์นี้ตอบโจทย์อะไร แก้ปัญหาอะไร ตอบสนองต่อ ทิศทางการพัฒนาของตำบล/อำเภอ/จังหวัดเพียงใด ความโดดเด่น/เอกลักษณ์ของศูนย์คืออะไร สำคัญอย่างไร คาดหวังว่าจะทำอะไรให้เกิดขึ้นกับเกษตรกร/ชุมชน

การต่อยอดสู่แปลงใหญ่ เป็นพืชหลักของตำบล/อำเภอหรือไม่ มีเกษตรกรกี่ราย พื้นที่กี่ไร่ ประเด็นการพัฒนาคืออะไร เป้าหมายคืออะไร จะทำให้เกษตรกรมารวมกันผลิตได้อย่างไร กระบวนการผลิต/เทคโนโลยีที่ต้องใช้มีอะไรบ้าง มีอยู่แล้วหรือต้องหาเพิ่ม จะทำอย่างไร เชื่อมโยงกับตลาดได้อย่างไร มีแผนการผลิต/แผนการตลาดหรือไม่ อย่างไร ประโยชน์ที่เกิดจากการทำแปลงใหญ่มีอะไรบ้าง

การดำเนินการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหม่ 1. ต้องมีข้อมูลของพื้นที่ - Zoning ( S1 – S3) - ข้อมูลเกษตรกร (Smart Farmer ต้นแบบ) - ข้อมูลการผลิตสินค้า (พันธุ์/ผลผลิต/ปัญหาการผลิต/ตลาด) - ประเด็นการส่งเสริมการเกษตร ( กำหนดหน่วยงานเข้าสนับสนุน) 2. หลักเกณฑ์เข้าร่วมโครงการ (Back up จากศูนย์เรียนรู้ฯ) - พื้นที่ต้องผลิตสินค้าชนิดเดียวกันหรือต่อเนื่อง - สังคม/ปกครอง บริหารจัดการร่วมกัน - พื้นที่ตั้งแต่ 300 – 5,000 ไร่ (ขึ้นกับชนิดพืช/ความพร้อม/ตลาด) 3. สร้างผู้จัดการ - เป็นผู้บริหารจัดการข้อมูล/ คน/พื้นที่/ สินค้า