กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
Advertisements

CHAPTER 14 Database Management
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer programming
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 14: โปรแกรมย่อย ( การส่งพารามิเตอร์ แบบ pass by reference)
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Structure Programming การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
หน่วยที่ 2 Introduction to Algorithm Analysis
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
การใช้งาน Microsoft Excel
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
ตอนที่ 2 โครงสร้างภาษา C Arduino เบื้องต้น
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
เกม คณิตคิดเร็ว.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมโดยเขียนคำสั่ง VBA
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
Object-Oriented Programming Paradigm
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยที่ 7 ฟังก์ชั่น กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Agenda : ประเด็นพิจารณา ลักษณะทั่วไป ประโยชน์ของการใช้ฟังก์ชั่น รูปแบบการเขียนฟังก์ชั่น ตัวอย่าง parameter กฎการเรียกใช้ฟังก์ชั่น Function Prototype แบบฝึกหัด กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ลักษณะทั่วไป การเขียนโปรแกรมในภาษาซีจะเขียนในลักษณะเป็น module หรือโปรแกรมย่อย ๆ แต่ละโมดูลมักจะทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง ฟังก์ชั่น main() เป็นฟังก์ชั่นหลักของภาษาซี การติดต่อกันของฟังก์ชั่น เรียกว่า Function call Function call มีผู้เกี่ยวข้องสองฝ่ายคือ ผู้เรียกใช้ และผู้ถูกเรียก ฟังก์ชั่น สามารถเป็นได้ทั้งผู้เรียก และผู้ถูกเรียกใช้ โดยทั้งสองฝ่ายอาศัย พารามิเตอร์ เป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูลซึ่งกันและกัน กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ประโยชน์ของการใช้ฟังก์ชั่น - สามารถเรียกใช้ฟังก์ชั่นหลายๆ ที่ได้ - โปรแกรมมีโครงสร้างที่ดี กระทัดรัด เข้าใจง่าย ตรวจเช็คความสมบูรณ์ของโปรแกรมได้ง่าย - ง่ายต่อการทดสอบและแก้ไขโปรแกรม - ฟังก์ชันที่ดีและจัดเก็บเป็นระบบ สามารถนำกลับมาใช้ง่ายและรวดเร็ว กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

รูปแบบของฟังก์ชั่น int function_name(int x, float y, char z) expression ที่ส่งกลับซึ่งมีชนิดข้อมูลตามที่ระบุด้านบน int function_name(int x, float y, char z) { . . return …; } ชนิดข้อมูลที่ส่งกลับ ชื่อ function พารามิเตอร์ที่รับเข้ามาเพื่อใช้ใน function ชนิดของฟังก์ชั่น - เหมือนชนิดข้อมูล - หากไม่ต้องการคืนค่า (เช่นฟังก์ชั่นที่ไม่มีการคำนวณ) ให้ระบุชนิดเป็น void และไม่มีคำสั่ง return พารามิเตอร์ - มีชนิดเหมือนตัวแปรทั่วไป - หากไม่มีพารามิเตอร์ ให้ใช้เครื่องหมายวงเล็บว่าง กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ตัวอย่างการเขียน function ตัวอย่างฟังก์ชันที่ใช้ในการคำนวณหา เลขยกกำลังสาม int cube(int x) { return x*x*x; // x*x*x คือค่าที่ส่งกลับไปให้ผู้ เรียกใช้ ซึ่งมีชนิดข้อมูลเป็น integer ตามที่ระบุที่หัวฟังก์ชัน } กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ตัวอย่างการเรียกใช้ function การเรียกใช้งานฟังก์ชัน cube จะต้องผ่านพารามิเตอร์ที่มีชนิดเป็นเลขจำนวนเต็ม 1 จำนวน ตามรูปแบบที่กำหนดไว้ตอนสร้างฟังก์ชั่น y=cube(9); 9 คือค่าที่ถูกส่งไปให้ x ในฟังก์ชัน cube แล้ว cube ทำการคำนวณ x*x*x แล้วส่งกลับมาให้ y ทำให้คำสั่ง y=cube(9); กลายเป็น y=729; นั่นเอง จากนั้นก็สามารถนำ y ไปใช้งานต่อได้ กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

พารามิเตอร์ / กฎการใช้งาน parameter หมายถึงข้อมูลเพิ่มเติมที่ฟังก์ชั่นต้องการ โดยฟังก์ชั่นที่เรียกใช้ จะต้องส่งให้กับฟังก์ชั่น ตัวอย่าง int cube(int x) ฟังก์ชั่น cube ต้องการข้อมูลชนิดเลขจำนวนเต็ม 1 ตัว เพื่อนำมาคำนวณ ในกรณีที่ฟังก์ชั่นไม่ต้องการพารามิเตอร์ ให้ใช้ ( ) ข้อกำหนด : ชนิด และจำนวนของพารามิเตอร์ ทั้งที่ จุดเรียกใช้ และที่ฟังก์ชั่น จะต้องเป็นชนิดเดียวกัน และมีจำนวนเท่ากัน เสมอ กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

พารามิเตอร์ / กฎการใช้งาน void a() { … } void a(int x) int a() return …; int a(float z) main() { a(); { int y=7; a(y); { int j; j=a(); { int k; k=a(5.9); กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

Function Prototype ฟังก์ชั่นที่ถูกเรียกใช้ ควรสร้างไว้ก่อนการเรียกใช้ Compiler ต้องรู้จักฟังก์ชั่นก่อนที่จะมีการเรียกใช้ หากไม่มีการสร้างฟังก์ชั่นก่อนการเรียกใช้ สามารถใช้วิธีประกาศชื่อฟังก์ชั่นให้ compiler รู้จัก ก่อนที่จะเรียกใช้ เรียกว่าการสร้าง prototype กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

Function Prototype ตัวอย่างนี้ compile error main() { int y; y=cube(5); printf(“%d”,y); } int cube(int x) { return x*x*x; ฟังก์ชัน main เรียกใช้ฟังก์ชัน cube ทั้งๆที่ตัวเองมองไม่เห็น cube แก้ปัญหาได้โดย int cube(int x); // เอาแค่บรรทัดแรกของ // ฟังก์ชันมาประกาศไว้ // เป็น prototype main() // main มองเห็นว่ามี cube อยู่

แบบฝึกหัด เขียนโปรแกรมในรูปของฟังก์ชั่นเพื่อหาค่า nm จงเขียนโปรแกรมที่มีเมนูให้ผู้ใช้เลือกว่าต้องการทำการบวก ลบ คูณ หรือ หาร ตัวเลข 2 จำนวนซึ่งป้อนจากทางแป้นพิมพ์ และถ้าผู้ใช้เลือกตามเมนูข้อใด ก็ให้เรียกใช้ฟังก์ชั่นเพื่อคำนวณและแสดงผลลัพธ์ตามที่ได้เลือกไว้ แต่ถ้าผู้ใช้เลือกข้อที่ไม่มีในเมนู ให้แสดงข้อความว่า “Out of menu.”