LAB02 310211 ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Lab Login แล้วดำเนินการดังต่อไปนี้ ที่ home directory สร้าง sub directory ชื่อ Lab01 พิมพ์คำสั่ง cd Lab01 พิมพ์คำสั่ง pwd แล้วกด Enter พิมพ์คำสั่ง.
Advertisements

บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
Week 2 Variables.
Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
CPE Project 1 บทที่ 3.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 14: โปรแกรมย่อย ( การส่งพารามิเตอร์ แบบ pass by reference)
Knowledge- Base Systems XML. Agents FRODO - เป็นการรวมกันของ - การพัฒนาการแก้ไขปัญหาความทรงจำขององค์กรและระบบ เดิมขององค์กร ( ฐานข้อมูล ) ที่ทำแยกกัน.
Structure Programming การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Operator of String Data Type
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Chapter 5 Elementary C++ Programming Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การใช้งาน Microsoft Excel
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
ฟังก์ชันในภาษา C. ฟังก์ชัน (Functions) 2 การออกแบบโปรแกรมในภาษาซี จะอยู่บนพื้นฐานของการออกแบบ โมดูล (Module Design) โดยการแบ่ง โปรแกรมออกเป็นงานย่อย ๆ.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ตอนที่ 2 โครงสร้างภาษา C Arduino เบื้องต้น
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โปรแกรม ภาษา C ภาษาซี (C Language) เป็นภาษาหนึ่งสำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์   พัฒนาขึ้นโดยนายเดนนิส  ริทชี่ (Dennis Ritche)  ในปี ค.ศ. 1972  เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
Control Statement เงื่อนไขคำสั่งในโปรแกรม ภาษา C
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
Object-Oriented Programming Paradigm
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
Variable Constant.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

LAB

ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า ต่างๆ เหล่านี้จะต้องถูกจดจำไว้ ณ ที่ใดที่ หนึ่ง เพื่อที่จะสามารถนำมาใช้ในภายหลังได้ โปรแกรมจะจดจำค่าต่างๆ ที่กล่าวไว้โดยใช้ ตัวแปร : Variable(s) int b;

เป็นการประกาศ (declaration) ว่า ต้องการที่ สร้างพื้นที่ (space) ขึ้นบริเวณหนึ่ง ซึ่งจะ เรียกชื่อว่า b ไว้สำหรับเก็บค่าแบบจำนวน เต็ม (integer) ค่าหนึ่ง (int : หมายถึง integer). จากนั้นในโปรแกรมเราสามารถเก็บค่าใน b ได้ ดังเช่น b = 5; เราสามารถเรียกค่าจาก b มาแสดงหรือใช้ได้ เช่น printf("%d", b); %d เป็น format ที่ใช้สำหรับค่าแบบ จำนวนเต็ม (integer).

Type ของ Variable ตัวอย่าง standard type ของ variable ใน C: int (integer (whole number) values) float (floating point values) char (single character values like 'm' or 'Z') ยังมี type ของ variable แบบอื่นๆ อีกมาก ซึ่งเราจะได้เรียนรู้กันต่อไป

กำหนดโปรแกรมให้ 2 โปรแกรม สร้าง directory สำหรับ lab ชื่อ Lab02 ภายใต้ Lab02 สร้าง directory ชื่อ prog01 สำหรับใช้กับโปรแกรมแรก (prog01.c) โดย ให้สร้าง file ชื่อ README เพื่อเก็บ รายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมไว้ด้วย จากนั้นภายใต้ Lab02 เช่นกันให้สร้าง directory ชื่อ prog02 สำหรับใช้กับ โปรแกรมที่สอง (prog02.c) โดยให้สร้าง file ชื่อ README เพื่อเก็บรายละเอียดเกี่ยวกับ โปรแกรมไว้ด้วย

#include int main() { int a, b, c; a = 5; b = 7; c = a + b; printf("%d + %d = %d\n", a, b, c); return 0; } prog01.c

#include int main( ) { int a, b, c; printf("Enter the first value:"); scanf("%d", &a); printf("Enter the second value:"); scanf("%d", &b); c = a + b; printf("%d + %d = %d\n", a, b, c); return 0; } prog02.c

Compile & Link !!!! คำสั่งในการสร้าง execute file จาก prog01.c gcc -o prog01 prog01.c คำสั่งในการสร้าง execute file จาก prog02.c gcc -o prog02 prog02.c คำสั่งให้ run ณ directory ที่อยู่ของ execute file สั่ง./prog01./prog02

การวิเคราะห์ และสรุปผล อธิบายการทำงานของโปรแกรมทั้งสอง ให้ อธิบายเป็นรายบรรทัด ให้เปรียบเทียบวิธีการใช้ตัวแปร a, b, c ของ โปรแกรมทั้งสองว่ามีส่วนที่เหมือนกันและ ส่วนที่แตกต่างกันอย่างไร เขียนรายงานผลการปฏิบัติการ ด้วย MS Word ภายใต้ชื่อ file ว่า Lab02.doc การทำงานและการส่งงานให้เป็นไปตาม ข้อตกลงในวันทำ Lab

ทดสอบการใช้โปรแกรม vi ระวัง จะมีการทดสอบการใช้ vi ด้วย