ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
Advertisements

หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การตรวจซ่อม ระบบไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า
หน่วยที่ 5 กฎของโอห์ม.
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
หน่วยที่ 14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 7 ผลกระทบของแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
การตรวจสอบสภาพมอเตอร์คอมเพรสเซอร์
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าและ
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
AcuLearn กับงานบริการด้านการ เรียนการสอน กองเทคโนโลยี สารสนเทศ.
โครงสร้างของหุ่นยนต์เดินตาม เส้น. Sensor และหลักการ ทำงาน เซนเซอร์บนตัว หุ่นยนต์ รูปเซนเซอร์ขยายวงจรเซนเซอร์
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
ไฟฟ้าคืออะไร หนังสือวิทยาศาสตร์ หรือเว็บไซต์ต่างๆ ให้ความหมายที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น - ไฟฟ้า คือ พลังงานรูปหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้
3.2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน.
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
การคำนวณกระแสลัดวงจร (Short Circuit Calculation)
Gas Turbine Power Plant
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
776 วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 3 แผ่นที่ 3.1/11 กำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
ความเค้นและความเครียด
A L U M I N I U M นายจักรกฤษณ์ หมวกผัน นายเอกราช รอดสว่าง
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Basic Electronics.
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
หน่วยที่ 3 แบตเตอรี่ นายศุภชัย ชัยวงษ์ แผนกวิช่างยนต์
ชุดแบตเตอรี่แรงดันสูงและแบตเตอรี่เสริม ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
การแข่งขันทักษะวิชาชีพครั้งที่ 31
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
อาจารย์สัญชัย เอียดแก้ว ( , )
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
งานบริการอิเล็กทรอนิกส์
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
Electrical Instruments and Measurements
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-1 หน่วยที่ 5 การขยาย ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ โวลต์มิเตอร์   การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-2 1 .6 .8 .4 .2 V COM + ~ ถ้านำโวลต์มิเตอร์ขนาด 1 V ไปวัดแรงดันไฟฟ้าที่มีค่ามากกว่า 1 V จะสามารถ ทำได้หรือไม่ และถ้าได้ จะต้อง ทำอย่างไรบ้าง ? การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

การขยายย่านวัดของโวลต์มิเตอร์ มีหลักการอย่างไร? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-3 การขยายย่านวัดของโวลต์มิเตอร์ มีหลักการอย่างไร? Rm Rs Im Vm นำตัวต้านทานไฟฟ้าต่ออนุกรม (Series: Rs) กับเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่ การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

Im: Vm: Rm หมายถึงอะรไ? Im: กระแสไฟฟ้าที่ทำให้เข็มชี้ เต็มสเกล เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 6 แผ่นที่ 6-3 Im: Vm: Rm หมายถึงอะรไ? Rm Rs Im Vm Im: กระแสไฟฟ้าที่ทำให้เข็มชี้ เต็มสเกล Vm: แรงดันไฟฟ้าที่ทำให้ เข็มชี้เต็มสเกล Rm: ความต้านทานไฟฟ้าของ ขดลวดเคลื่อนที่ การขยายย่านวัดกระแสไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-4 ขนาดความต้านทานไฟฟ้าที่ใช้ในการขยายย่านวัดของโวลต์มิเตอร์หาค่าได้อย่างไร? Rm Rs Im Vm Rs = Vs / Is Rs = (Vt - Vm) / Im การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

วงจรการขยายย่านวัดชนิดหลายย่านวัดของโวลต์มิเตอร์ มีลักษณะอย่างไร? เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-5 วงจรการขยายย่านวัดชนิดหลายย่านวัดของโวลต์มิเตอร์ มีลักษณะอย่างไร? 1. ตัวต้านทานไฟฟ้าต่อแยกกัน อย่างอิสระ Rm 100V Rs2 Rs1 Im 10V ข้อดีคือถ้าตัวต้านทานไฟฟ้าย่านวัดใดเสีย ย่านวัดอื่นๆ ยังสามารถใช้งานได้ การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-6 2. ตัวต้านทานไฟฟ้าต่ออนุกรม กันทุกตัว Rm 10V 100V Rs1 Rs2 Im ข้อเสีย คือ ถ้าย่านวัดด้านในเสียย่านวัดอื่นๆ ทางด้านนอกไม่สามารถใช้งานได้ การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-7 ความต้านทานไฟฟ้าที่ใช้ในการขยายย่านวัดฯ ชนิดหลายย่านวัดหาค่าได้อย่างไร? 1. ตัวต้านทานไฟฟ้าต่อแยกกัน อย่างอิสระ Rm Rs2 Rs1 Im Vt1 Vt2 Vm Rs1 = (Vt1 - Vm) / Im Rs2 = (Vt2 - Vm) / Im การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ

Rs1 = (Vt1 - Vm) / Im Rs2 = (Vt2 - Vt1) / Im เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 5 แผ่นที่ 5-8 2. ตัวต้านทานไฟฟ้าต่ออนุกรม กันทุกตัว Rm Vt1 Rs1 Rs2 Im Vt2 Vm Rs1 = (Vt1 - Vm) / Im Rs2 = (Vt2 - Vt1) / Im การขยายย่านวัดแรงดันไฟฟ้าของโวลต์มิเตอร์ มงคล ธุระ