เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10 เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
1.คำนาม คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์สิ่งของ แบ่งเป็น 5 ชนิดคือ คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์สิ่งของ แบ่งเป็น 5 ชนิดคือ 1.1 สามานยนาม คือ นามที่เป็นชื่อทั่วไป 1.2 วิสามานยนาม คือ นามที่เป็นชื่อเฉพาะ 1.3 สมุหนาม คือ นามที่เป็นหมู่คณะ 1.4 ลักษณะนาม คือ นามที่ใช้บอกลักษณะของนาม 1.5 อาการนาม
2. คำสรรพนาม คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนาม แบ่งเป็น 6 ชนิด คือ คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนาม แบ่งเป็น 6 ชนิด คือ 2.1 บุรุษสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนชื่อเวลาพูดจากัน 2.2 ประพันธสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนามที่อยู่ข้างหน้า 2.3 นิยมสรรพนาม คือ สรรพนามที่กำหนดความรู้ให้แน่นอน 2.4 อนิยมสรรพนาม คือ สรรพนามที่แทนสิ่งที่ไม่ชี้เฉพาะเจาะจงไม่ได้กล่าวในเชิงถามหรือสงสัย 2.5 ปฤจฉาสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ใช้เป็นคำถาม 2.6 วิภาคสรรพนาม คือ นามที่ใช้แทนคำนาม
3.คำกริยา คำกริยา คือ คำที่แสดงอาการของคำนาม สรรพนาม แบ่งออกเป็น 4 ชิด คือ 3.1 สกรรมกริยา คือ คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ 3.2 อกรรมกริยา คือ คำกริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารองรับ 3.3 วิกตรรถกริยา คือ คำกริยาที่ไม่มีความหมายในตัวเอง ต้องมีคำอื่นมาประกอบจึงจะสมบูรณ์ 3.4 กริยาอนุเคราะห์ คือ คำกริยาที่ไม่มีความหมายในตัวเอง ทำหน้าที่ช่วยคำกริยาให้มีความหมายชัดเจนขึ้น
4.คำวิเศษณ์ คำวิเศษณ์ คือ คำจำพวกที่ประกอบคนอื่น เพื่อให้ได้ความชัดเจนขึ้น มี 10 ชนิด คือ 4.1 ลักษณะวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ขยายนาม สรรพนาม หรือ กริยา 4.2 กาลวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ขยายคำอื่นเพื่อบอกเวลา 4.3 สถานวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์บอกสถานที่ 4.4 ประมาณวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่บอกปริมาณ 4.5 นิยมวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์บอกความแน่นอน 4.6 อนิยมวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ใช้ประกอบ โดยไม่กำหนดความแน่นอนลงไป 4.7 ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ใช้เป็นคำถามหรือแสดงความสงสัย 4.8 ประติเษธวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่แสดงความปฏิเสธ 4.9 ประติชญาวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ใช้ในการพูดจากัน 4.10 ประพันธวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมคำ
5.คำบุพบท
6.คำสันธาน
7.คำอุทาน