ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems) การบูรณาการของเทคโนโลยี ผู้บริหารต้องคำนึงถึงความสอดคล้องระหว่างการดำเนินธุรกิจเทคโนโลยี ซึ่งผู้บริหารสามารถแบ่งเป็นขั้นตอนดังนี้ กำหนดกลยุทธ์ กำหนดโครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศ กำหนดแผนงานสารสนเทศระดับองค์การ กำหนดรายละเอียดการดำเนินงาน
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems) เพื่อสนับสนุนให้การดำเนินงานของธุรกิจให้ดำเนินการอย่างเป็นระบบ โดยถูกออกแบบและพัฒนาให้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ทางธุรกิจ 1. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี (AIS) 2. ระบบสารสนเทศทางการเงิน (FIS) 3. ระบบสารสนเทศทางการตลาด (MIS) 4. ระบบสารสนเทศทางด้านการและผลิตและดำเนินการ (POIS) 5. ระบบสารสนเทศทางด้านทรัพยากรบุคคล (HRIS)
ระบบสารสนเทศทางการบัญชี มีส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี มีส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ 1. ระบบบัญชีการเงิน บันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นในรูปตัวเงิน จัดหมวดหมู่รายการ ต่าง ๆ สรุปผลและตีความหมายในงบการเงิน ได้แก่ งบกำไรขาดทุน งบดุล และงบกระแส เงินสด 2. ระบบบัญชีบริหาร เป็นการนำเสนอข้อมูลทางการเงินแก่ผู้บริหาร เพื่อใช้ในการ ตัดสินใจทางธุรกิจ บัญชีต้นทุน การงบประมาณ และการศึกษาระบบ มีลักษณะสำคัญคือ ๏ ให้ความสำคัญกับจัดการผู้ใช้ภายในองค์การ ๏ ให้ความสำคัญกับการดำเนินงานในอนาคตของธุรกิจ ๏ ไม่ต้องจัดทำสารสนเทศตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ๏ มีข้อมูลที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน ๏ มีความยืดหยุ่นและสามารถปรับให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งาน
ระบบสารสนเทศทางการตลาด การพยากรณ์ การจัดการทางการเงิน การจัดการทางการเงิน การควบคุมทางการเงิน ระบบสารสนเทศทางการตลาด หน่วยงานด้านการตลาดรับผิดชอบในการกระจายสินค้าและบริการไป สู่ลูกค้า ดังนั้นการตลาดจะเกี่ยวข้องกับการจัด ส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) ได้แก่ 4Ps คือ Product, Price, Place, Promotion
ด้านการบริหารการตลาด การปฏิบัติงาน การวิจัย แหล่งข้อมูล ด้านการบริหารการตลาด การแข่งขัน กลยุทธ์องค์การ ข้อมูลจากภายนอก
ระบบสารสนเทศสำหรับการวิจัย ระบบสารสนเทศสำหรับการขาย แบ่งเป็น 3 ระบบย่อยคือ 1. ระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการขาย 2. ระบบสารสนเทศสำหรับวิเคราะห์การขาย 3. ระบบสารสนเทศสำหรับการวิเคราะห์ลูกค้า ระบบสารสนเทศสำหรับการวิจัย ระบบสารสนเทศสำหรับการวิจัยลูกค้า สถานะทางการเงิน การดำเนินธุรกิจ รสนิยม และพฤติกรรมการบริโภค ระบบสารสนเทศสำหรับการวิจัยตลาด การหาขนาดของตลาดของแต่ละ ผลิตภัณฑ์ที่จะนำออกจำหน่าย กำหนดส่วนแบ่งตลาดของผลิตภัณฑ์ เพื่อ วางแผนทั้งในระยะสั้น - ยาว
ระบบสารสนเทศการส่งเสริมการขาย ระบบที่ให้ความสำคัญกับแผนงานด้านการโฆษณาและส่งเสริมการขาย เพื่อเพิ่มยอดขายสินค้าและเพิ่มส่วนแบ่งตลาดให้สูงขึ้น ระบบสารสนเทศการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ ระบบที่วิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ลักษณะและ ความต้องการของลูกค้า เช่น ยอดขายผลิตภัณฑ์ในอดีต สถานะคู่ของคู่แข่งขัน ระบบสารสนเทศพยากรณ์การขาย ระบบที่ใช้ในการวางแผนการขาย การทำกำไรจากสินค้าหรือบริการ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเท่านั้น แผนการผลิต กำลังคน และงบประมาณที่จะใช้ เกี่ยวกับการขาย
ระบบสารสนเทศการวางแผนกำไร ระบบที่ให้ความสำคัญกับการวางแผนการทำกำไร ทั้งในระยะสั้น –ยาวของธุรกิจ การวิจัยตลาด ยอดขายในอดีต คู่แข่งขัน การพยากรณ์การขาย และการโฆษณา ระบบสารสนเทศการกำหนดราคา ระบบที่ต้องใช้จิตวิทยาอย่างหนึ่งทางการตลาด เพราะต้องคำนึงความต้องการของลูกค้า คู่แข่งขัน กำลังซื้อของลูกค้า เช่น ตัวเลขของกำไรในอดีต เพื่อปรับปรุงราคาให้ได้สัดส่วน ระบบสารสนเทศการควบคุมค่าใช้จ่าย ระบบเกี่ยวกับการควบคุมค่าใช้จ่ายโดยดูจากรายงานของการทำกำไร กับค่าใช้จ่าย ที่เกิดขึ้นจริง เช่น เงินเดือน ค่าโฆษณา ค่าส่วนแบ่งการขาย
การผลิตและการดำเนินงาน สินค้าคงคลัง แหล่งข้อมูล ด้านการผลิตและการดำเนินงาน การขายวัตถุดิบ ข้อมูลแรงงานแลบุคลากร กลยุทธ์องค์การ
การวางแผนความต้องการวัสดุ วัตถุดิบเป็นหัวใจสำคัญของการจัดการด้านการดำเนินการผลิต ธุรกิจที่มีปริมาณวัตถุดิบมากเกินไปจะทำให้มีค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสูง ถ้ามีน้อยเกินไปก่อให้เกิดผลกระทบต่อแผนและกระบวนการผลิต การวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) เป็นระบบที่รวบรวมเกี่ยวกับระบบการผลิต เพื่อประกอบการวางแผนความต้องการวัสดุเพื่อให้ธุรกิจสามารถจัดการวัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล 1. ข้อมูลบุคลากร ภายในหน่วยงานประกอบด้วย ประวัติ เงินเดือน สวัสดิการ 2. ผังองค์การ แสดงโครงสร้างองค์การ การจัดหน่วยงาน แผนกำลังคน รวมทั้งปริมาณและการจัดสรรทรัพยากรบุคคล 3. ข้อมูลจากภายนอก ต้องเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เช่น การสำรวจเงินเดือน อัตราการว่างงาน
ปัจจัยสำคัญในการพัฒนาบุคลากร 1. ความสามารถ (Capability) 2. การควบคุม (Control) 3. ต้นทุน (Cost) 4. การติดต่อสื่อสาร (Communication) 5. การได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage)