886201 หลักการโปรแกรม 1 Lecture 12: อาร์เรย์หนึ่งมิติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Arrays.
Advertisements

Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
LAB # 4 Computer Programming 1 1. พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้
LAB # 4.
ARRAY.
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
Arrays.
Arrays.
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 14: โปรแกรมย่อย ( การส่งพารามิเตอร์ แบบ pass by reference)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 9: การทำซ้ำ (for).
การวัดค่ากลาง - ค่าเฉลี่ย
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
Array in PHP บทเรียนเรื่อง การใช้ Array ในภาษา PHP.
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 8: การทำซ้ำ (while, do-while)
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
สาระที่ ๒ การเขียน.
ลำดับ สรุปผลการประเมิน ชุดฝึกทักษะที่ 1 สรุปผลการประเมิน ชุดฝึกทักษะที่ 2 เปรียบเทียบสรุปผลการประเมิน ชุดฝึกทักษะ ที่ 1 และ 2 1 เกณฑ์ขั้นต่ำเกณฑ์ขั้นกลางดีขึ้น.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Q n° R n°.
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
แนวข้อสอบ Final (จดด่วน)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Array.
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
บทที่ 10 อาร์เรย์ (Array)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
Week 5 C Programming.
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
3 โครงสร้างข้อมูลแบบคิว (QUEUE).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array Sanchai Yeewiyom
Array: One Dimension Programming I 9.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการโปรแกรม 1 Lecture 12: อาร์เรย์หนึ่งมิติ

ตัวแปรแถวลำดับคืออะไร ตัวแปรแถวลำดับ ชุดของตัวแปรหลายๆ ตัวที่มีชนิดเดียวกัน และมีชื่อ เรียกเดียวกัน การอ้างถึงตัวแปรแต่ละตัวทำโดยอ้างถึงชื่อและ ตำแหน่ง (index) ของตัวแปร int … … score ชื่อ 012 … 8 … ตำแหน่ง

ใช้ตัวแปรแถวลำดับทำอะไร เหมือนตัวแปรทั่วไป คือ เก็บข้อมูลโดยที่ข้อมูลที่เก็บจะ เป็นชุด ใช้แทนสิ่งที่คล้ายๆ กัน มีชนิดข้อมูลเหมือนกัน นำไปใช้ด้วยวิธีคล้ายๆ กัน ตัวอย่าง รหัสนิสิตของนิสิตในห้องนี้ คะแนนสอบวิชา ของนิสิตในห้องนี้ เกรดวิชา ของนิสิตในห้องนี้

ตัวอย่าง รหัสนิสิตของนิสิตในห้องนี้ ( มีนิสิตไม่เกิน 200 คน ) int id[200]; คะแนนสอบวิชา ของนิสิตในห้องนี้ (≤ 200 คน ) float score[200];

ตัวอย่าง double values[] = { 32, 54, 67.5, 29, 35, 80, 115, 44.5, 100, 65 };

Array Syntax

การเข้าถึงค่าใน array double values[10];... cout << values[4] << endl; ผลลัพธ์ที่แสดงบน หน้าจอ คือ 35.0.

การกำหนดค่าใน array values[4] = 17.7;

การกำหนดค่าใน array values[4] = 17.7;

สายอักขระ สายอักขระ (string) คือกลุ่มของตัวอักขระ ที่เรียงต่อกัน ตัวอย่าง char department[5] = “Math”; Math\0 department [0] [1] [2] [3] [4]

ตัวอย่างการประกาศตัวแปรสำหรับ สายอักขระ

ฟังก์ชันหาขนาดของสายอักขระ : strlen( ) #include using namespace std; int main() { int x; char str1[20]; cout << “Please enter the first string: ”; cin >> str1; x = strlen(str1); cout << “The length of this string: ” << x; return 0; } Sample output: Please enter the first string: Hello The length of this string: 5

การค้นข้อมูลใน array เมื่อมีการเก็บกลุ่มข้อมูล ก็ต้องมีการค้นหาข้อมูล สมมุติให้ โปรแกรมนี้ผู้ใช้จะบอกข้อมูลที่ต้องการ ค้นหา จากนั้นโปรแกรมจะแสดงผลลัพธ์ ดังนี้ ถ้าพบข้อมูลดังกล่าวในแถวอาเรย์ จะแจ้งว่าข้อมูลอยู่ ตำแหน่งไหน ถ้าไม่พบข้อมูลในแถวอาเรย์นี้ จะคืนค่าเป็น -1 ตัวอย่าง ต้องการค้นหา 6 จากอาเรย์ a a คำตอบ คือ 1

การค้นข้อมูลใน array ถ้าเลขที่ต้องการหามีหลายตัว โปรแกรมนี้จะแสดงตำแหน่งใด ตำแหน่งแรก หรือ ตำแหน่งสุดท้าย ถ้าต้องการให้แสดงตำแหน่งแรก ที่พบตัวเลขดังกล่าว ต้องแก้ไขโปรแกรมนี้อย่างไร a int find = 6; int index = -1; for(int i = 0; i < 5 ; i++ ) { if ( a[i] == find ) { index = i; } } cout << index;