บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : 2555 2 มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
ครั้งที่ 8 Function.
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
การรับค่าและแสดงผล.
Control Statement for while do-while.
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
Data Type part.III.
Structure Programming
Computer Programming 1 LAB # 6 Function.
LAB # 4.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ตัวแปรชุด.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 9 Structure.
C Programming Lecture no. 6: Function.
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
อาร์เรย์และข้อความสตริง
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ปฏิบัติการครั้งที่ 10 pointer. หน่วยความจำ หน่วยความจำนั้นเสมือนเป็นช่องว่างไว้เก็บ ของที่มีหมายเลขประจำติดไว้ที่แต่ละช่อง เพื่อใช้ในการระบุตำแหน่งของช่องได้
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
C language W.lilakiatsakun.
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
โปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
ความหมาย การประกาศ และการใช้
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Call by reference.
คำสั่งเงื่อนไข (Condition Statement)
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Output of C.
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
C-Programming บทที่ 8 การทำซ้ำ C Programming.
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming

จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว แปรที่เราศึกษากันมา เพราะตัว แปรอื่นๆ จะใช้เก็บข้อมูลที่ต้องการ แต่พอยเตอร์นั้นทำหน้าที่เป็นตัวชี้ C Programming C-Programming

จันทร์ดารา Surin Campus : ความหมาย  พอยเตอร์จะเก็บค่า ตำแหน่งหรือ แอดเดรสใน หน่วยความจำของ ตัวแปรอื่นๆ ไว้  ไม่ได้เก็บข้อมูลที่ เราจะนำมาใช้งาน โดยตรง เช่น ถ้าการ เก็บข้อมูลเดิมเป็น ดังนี้  int age =23;  char char = ‘a’;  การประกาศแบบ พอยเตอร์  int age;  int *pointer;  age = 25;  pointer = & age;  ตัวแปรพอยเตอร์ age จะไม่ได้เก็บค่า 23 แต่จะเก็บค่า ตำแหน่งที่ข้อมูล 23 เก็บอยู่แทน C Programming C-Programming

จันทร์ดารา Surin Campus : พอยเตอร์ใช้งาน อย่างไร #include Void main() { int age; int *pointer; printf(“How old are you : ”); scanf(“%d”,&age); printf(“You are %d years olds.\n”,age); pointer = &age; *pointer =50; printf(“You are %d years old. \n, age); } C Programming C-Programming สร้างตัวแปรพอยเตอร์ชี้ไปยังตัว แปรแบบ int สร้างตัวแปรพอยเตอร์ชี้ไปยังตัว แปร age เปลี่ยนข้อมูลที่อยู่ในพอยเตอร์ ให้เป็นค่า 50 แทน

จันทร์ดารา Surin Campus : พอยเตอร์ใช้งาน อย่างไร #include void change(int *p) { *p = 50; printf(“now num = %d\n”,*p); } void main() { int num=20; int *pointer; printf(“now num = %d\n”,num); change(&num); } C Programming C-Programming now num =20 now num =50

จันทร์ดารา Surin Campus : พอยเตอร์ใช้งาน อย่างไร  ตัวแปรในโปรแกรมที่แล้วมี ตัวแปร int ตัว เดียวคือ num  ฟังก์ชัน change() มีตัวแปร p เท่านั้นที่ใช้ สำหรับชี้ไปยัง int  การเรียก change() จะส่งค่าของแอดเดรส ของตัวแปร num ไปให้  ฟังก์ชัน change() จะมีโค้ดที่เปลี่ยนค่าตัว แปร num จาก 20 เป็น 50 C Programming C-Programming