ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community
Advertisements

ของเด็กชายธีรภัทร์ ประดับมุข และ เด็กชายพีระพงศ์ เภาด้วง
คำทักทาย ประจำชาติอาเซียน
ของเด็กชายกลวัชร เชื้อ เกตุ
การพยาบาลผู้ป่วยและผู้ใช้บริการจากกลุ่มประเทศอาเซียน
ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
จัดทำโดย นางสาวอัคคณัฏฐา อำไพ
ประเทศมาเลเซีย ‘Malaysia’.
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (The Republic of Singapore)
สิงคโปร์.
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
จัดทำโดย ด.ญ.อมราลักษณ์ ลาภเกิน เลขที่ 23 กลุ่ม 16
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
ของเด็กหญิง ชนิตา นรสิงห์
ด.ญ. มัทชิมา บุญช่วงดี เลขที่ 47 ม.1/20 กล่ม 16
อาเซียน: กศน. กับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ใน ปี 2558
ประชาคมอาเซียน.
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
สัญลักษณ์ของอาเซียนคืออะไร
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา
แบบทดสอบ เรื่อง แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
ประเทศสมาชิกอาเซียน.
ASEAN.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นายสมโพชน์ เหลื่อมล้ำ
คลิกเพื่อไปหน้าต่อไป คลิกเพื่อกลับหน้าก่อนหน้า คลิกเพื่อกลับหน้าหลัก คลิกเพื่อออกจากบทเรียน.
10ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. นฤภร บุญส่งศรี ม.1/14 เลขที่ 20 กลุ่ม 15
ASEAN ASSOCIATION MALAYSIA.
เด็กชาย รัฐติพงศ์ คงจันทร์ ม.2/11 เลขที่ 15 ชิ้นงานที่8
ปัจจุบันประเทศอาเซียน มีอยู่ 10 ประเทศ โดยมีข้อมูลของแต่ละประเทศดังนี้
จัดทำโดย 1.ด.ช. ชาญชล ประดิษฐภูมิกลุ่ม 16 เลขที่28
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. เปมิกา เปสลาพันธ์ ม.1/16 เลขที่ 36
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
ธงชาติ ตรา แผ่นดิน ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia) ที่ตั้ง : ตั้งอยูในเขตเสนศูนยสูตร ประกอบดวยดินแดนสองสวน โดยมีทะเลจีนใตกั้น - สวนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก.
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จันทรา ตันติพงศานุรักษ์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
จัดทำโดย ด.ญ. ประภาศิริ เซ็นแก้ว กลุ่ม 13 เลขที่ 24
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Asean Economics Community : AEC
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จัดเผยแพร่ โดย กองร้อยตำรวจตระเวรชายแดนที่
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
 ที่ตั้ง : ตั้งอยูในเขตเสนศูนยสูตร ประกอบดวยดินแดนสองส วน โดยมีทะเลจีนใตกั้น  - สวนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก ตั้งอยูบนคาบสมุทรมลายู มี พรมแดนทิศเหนือติดประเทศไทย.
ผู้จัดทำ ด. ญ. ชนินาถ สุขะ ชั้น ม.2/8 เลขที่ 34 ประเทศมาเลเซีย.
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
Welcome.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา... ไม่มีอะไรจะอธิบายย จบปิ๊ง.
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
ประเทศสิงคโปร์.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) Asean Economic Community History

AEC เป็นการพัฒนามาจากการเป็น สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ความเป็นมาของ อาเซียน (ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศผู้ก่อตั้งแรกเริ่ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมาในปี 2527 บรูไน ก็ได้เข้าเป็นสมาชิก ตาม ด้วย 2538 เวียดนาม ก็เข้าร่วมเป็นสมาชิก ต่อมา 2540 ลาวและพม่า เข้าร่วม และปี 2542 กัมพูชา ก็ได้เข้าร่วม เป็นสมาชิกลำดับที่ 10 ทำให้ปัจจุบันอาเซียนเป็นกลุ่ม เศรษฐกิจภูมิภาคขนาดใหญ่ มีประชากร รวมกันเกือบ 500 ล้านคน

เสาหลักของ อาเซียน เสาหลักอาเซียน ประกอบด้วย 1. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN POLITICAL-SECURITY COMMUNITY หรือ APSC) 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN ECONOMIC COMMUNITY หรือ AEC) 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN SOCIO-CULTURAL COMMUNITY หรือ ASCC)

คำขวัญของอาเซียน คือ One Vision, One Identity, One Community.” คำขวัญของอาเซียน คือ  One Vision, One Identity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน์   หนึ่งอัตลักษณ์   หนึ่งประชาคม

วัฒนธรรมของ ประเทศ มาเลเซีย

MALAYSIA มาเลเซีย

ตราแผ่นดิน ประเทศ มาเลเซีย ตราแผ่นดินของมาเลเซีย (มาเลย์: Jata Negara) ประกอบด้วยส่วนหลักๆห้าส่วนคือ โล่ เสือโคร่งสองตัว พระจันทร์เสี้ยวสีเหลือง และดาวสีเหลือง 14 แฉก และแถบผ้า ตราแผ่นดินของมาเลเซียนี้สืบทอดมาจากตราแผ่นดินสหพันธรัฐมาลายาระหว่างที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษ ตราในปัจจุบันจึงมีอิทธิพลของตราแบบตะวันตกอยู่มาก

ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน คือ มาเลเซียตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ประกอบด้วย 11 รัฐ คือ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปีนัง เกดะห์และปะลิส มาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว (กาลิมันตัน) ประกอบด้วย 2 รัฐ คือ ซาบาห์และซาราวัก นอกจากนี้ ยังมีเขตการปกครองภายใต้สหพันธรัฐ อีก 3 เขต คือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) เมืองปุตราจายา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน

ประชากรประเทศมาเลเซีย ประชากรทั้งหมด 26240000 คน

พื้นที่ประเทศ มาเลเซีย มีทั้งหมด 32,9758ตารางกิโลเมตร

อาหารประจำชาติ นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak) เป็นอาหารมลายู นิยมกินโดยทั่วไปในประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไน รวมทั้งภาคใต้ของไทยและถือเป็นอาหารประจำชาติของประเทศมาเลเซีย

ภาษาประจำชาติมาเลเซีย ภาษามาเลย์ หรือ ภาษามลายู (มาเลย์: Bahasa Melayu) เป็นภาษากลุ่ม ออสโตรนีเชียน ที่พูดโดย ชนชาติมลายูซึ่งเป็น ชนพื้นเมืองของคาบสมุทรมลายู 

ประเพณีสำคัญของประเทศ มาเลเซีย การละหมาด เป็นการปฏิบัติศาสนกิจอย่างหนึ่งในศาสนาอิสลาม เพื่อเป็นการภักดีต่ออัลลอฮฺ มุสลิมทุกคนจะต้องละหมาด วันละ 5 เวลา เรียกว่า ละหมาดฟัรฎู ละหมาด หมายถึง การขอพร

การรำซาพินเป็นการแสดงการฟ้อนรำหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซีย โดยเป็นการฟ้อนรำที่ได้รับอิทธิพลมาจากดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้แสดงเป็นหญิงชายจำนวน 6 คู่ เต้นตามจังหวะของกีตาร์แบบอาระเบียน และกลองเล็กสองหน้าที่บรรเลงจากช้าไปเร็ว

เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau Kaamatan) เป็นเทศกาลประจำปีในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิ้นเดือน พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความเชื่อในการ ทำเกษตร และมีการแสดงระบำพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิมฉลองด้วย

จัดทำโดย นาย อุเทน ปานพิลา ปวช.คอมพิวเตอร์ธุรกิจ รุ่นที่ ๒o