ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
Advertisements

(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
ลักษณะของครูที่ดี.
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
ผลสำเร็จการดำเนินการ การดำเนินการในระยะต่อไป
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
แนวทางการลงโทษวินัย ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
การจัดทำจรรยาข้าราชการ
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
การส่งเสริมจรรยาบรรณ ในระดับคณะ/หน่วยงาน
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
๐๑-คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับผู้บริหาร
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ในกรอบกติกา
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การจัดสวัสดิการ ของสหกรณ์
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๒
การพิทักษ์คุณธรรม ในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
การบริหารงานบุคคล กับคุณธรรมและจริยธรรม ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
“ ตำรวจภูธรจังหวัดสระแก้ว เป็นตำรวจมืออาชีพ เพื่อ ความผาสุกของประชาชน ”
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
คุณลักษณะของสังคมไทยที่ พึงปรารถนา ต้องเป็นสังคมที่ผาสุกและเป็นธรรม ต้องเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย มีเหตุผล เคารพในกติกาของสังคม ต้องเป็นสังคมที่พึ่งพาตนเองได้
สภาพปัญหาการรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
เพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education)
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
สมรรถนะการทำงาน ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เกี่ยวข้องกับ ข้าราชการ/พนักงานประจำ

ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี เลขที่ ๑๔ ๓. นายสมชาย ชมวงศ์ เลขที่ ๑๕ ๔. นางณัฐชา ทองคุ้ม เลขที่ ๔๐ ๕. นายน้อย พลากร เลขที่ ๔๔

พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539

กระบวนการบริหารงานบุคคลที่สำคัญ สรรหา บรรจุและแต่งตั้ง เลื่อนตำแหน่ง โอน - ย้าย เลื่อนเงินเดือน วินัย

หาคนที่เก่งและดี (ที่สุด) การสรรหา ยึดประโยชน์องค์กร หาคนที่เก่งและดี (ที่สุด) มุ่งประโยชน์ประชาชน

ลักษณะและรูปแบบ การบริหารงานบุคคล สายโลหิต ศิษย์ข้างเคียง เสบียงหลังบ้าน กราบกรานสอพลอ ล่อไข่แดง แกร่งวิชา ถลามาเอง

สภาพปัญหา เอื้อประโยชน์พรรคพวก สรรหา เรียกรับประโยชน์ตอบแทน แต่งตั้ง ตั้งคนไม่เหมาะสมกับงาน รับโอนบุคคลภายนอก เลื่อนตำแหน่ง สนับสนุนพรรคพวกตน กลั่นแกล้ง ย้าย ไม่ชอบเป็นการส่วนตัว เลื่อนเงินเดือน (ให้โบนัส) เป็นเครื่องมือต่อรองให้ยอมสวามิภักดิ์ วินัย สภาพปัญหา

ผลร้าย สรรหา ทุจริต ไม่มีคุณภาพ แต่งตั้ง ไม่เป็นระบบ เลื่อนตำแหน่ง งานไม่มีคุณภาพ เลื่อนตำแหน่ง เอื้อประโยชน์ การต่อต้านสูง ย้าย ผิดวัตถุประสงค์ ขวัญกำลังใจถดถอย เลื่อนเงินเดือน ไม่เป็นธรรม ขาดการยอมรับ วินัย ไม่ยุติธรรม ลดทอนความน่าเชื่อถือ ผลร้าย คนไม่ภักดีองค์กร เสื่อมศรัทธา / บารมี ในผู้ใช้อำนาจ

จรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน (Work Ethics) และแนวความคิดที่เกี่ยวข้อง กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฉ้อราษฎร์บังหลวง (Corruption Laws) (ขัดแย้ง / แตกต่างจาก) วิชาชีพนิยม (Professionalism) ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) จรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน (Work Ethics) คิด / เข้าใจ Understanding พูด Internalization ทำ / พฤติกรรม Practices

มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พึงดำรงตนให้ตั้งมั่นอยู่ในศีลธรรม ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ และมีความรับผิดชอบ ๒. พึงปฏิบัติหน้าที่อย่างเปิดเผย โปร่งใส พร้อมให้ตรวจสอบ ๓. พึงให้บริการด้วยความเสมอภาค สะดวก รวดเร็ว มีอัธยาศัยไมตรี โดยยึดประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ๔. พึงปฏิบัติหน้าที่โดยยึดผลสัมฤทธิ์ของงานอย่างคุ้มค่า ๕. พึงพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถ และตนเอง ให้ทันสมัยอยู่เสมอ ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๖

วินัยและการรักษาวินัยสำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น ข้อ ๑ พนักงานส่วนท้องถิ่นต้องรักษาวินัยตามที่กำหนดเป็นข้อห้ามและข้อปฏิบัติไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ (มาตรา ๘๐) ข้อ ๒ พนักงานส่วนท้องถิ่นต้องสนับสนุนการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความบริสุทธิ์ใจ (มาตรา ๘๑)

วินัยและการรักษาวินัยสำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น ***ข้อ ๓ พนักงานส่วนท้องถิ่นต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและเที่ยงธรรม ห้ามมิให้อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยอำนาจหน้าที่ราชการของตนไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อมหาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ที่มิควรได้ เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ราชการและเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง (มาตรา ๘๒)

วินัยและการรักษาวินัยสำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น *****ข้อ ๔ พนักงานส่วนท้องถิ่นต้องตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เกิดผลดีหรือความก้าวหน้าแก่ราชการ (มาตรา ๘๓) *****ข้อ ๕ พนักงานส่วนท้องถิ่นต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความอุตสาหะ เอาใจใส่ ระมัดระวังรักษาประโยชน์ของทางราชการ และต้องไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ การประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการอันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง (มาตรา ๘๔)

วินัยและการรักษาวินัยสำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น *****ข้อ ๖ พนักงานส่วนท้องถิ่นต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ มติคณะ รัฐมนตรี และนโยบายของรัฐบาลโดยไม่ให้เสียหายแก่ราชการ การปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐบาล อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรงเป็น ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง (มาตรา ๘๕)

ขอบคุณที่รับฟัง