พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ งานนำเสนอ
Chromosome ชีววิทยา ม. 4.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
พันธุกรรมของแบคทีเรีย 2
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
โครโมโซม.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
The Genetic Basis of Evolution
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
Transcription.
โพรโทซัว( Protozoa ).
Sarote Boonseng Nucleic acids.
ดูวัวให้ดูที่หาง ดูนางให้ดูที่แม่ แต่ถ้าจะให้แน่ต้องดูที่ยาย
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
7.Cellular Reproduction
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
คำถามทบทวนวิชา
whey เวย์ : casein เคซีน
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
การวิเคราะห์ DNA.
ทดสอบความรู้วิชาชีวเคมี เรื่อง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
การเกิดมิวเทชัน (mutation).
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
ครูเอื้อมพร เอี่ยมแพร
การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
การกลายพันธุ์ (MUTATION)
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
การศึกษา DNA การศึกษาโครงสร้างของ DNA นักฟิสิกส์ได้ใช้เทคนิคอย่างหนึ่งที่เรียกว่า เอกซ์เรย์ ดิฟแฟรกชัน (X-ray diffraction) ศึกษาโครงสร้างของสารเคมีต่าง.
DNA marker Selection (transformation, breeding) Identification
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Transcription (การถอดรหัส)
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมพันธุศาสตร์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
การจำลองตัวเองของ DNA (DNA replication)
ยีน และ โครโมโซม.
โดย ครูสุดารัตน์ คำผา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ชั่วโมงที่ 39 กรดนิวคลิอิก
กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ ผลผลิต คุณภาพ ความทนโรค-แมลง Phenotype Genotype + Environment

ถ่ายทอดจากพ่อ-แม่สู่ลูก Genotype Gene ส่วนหนึ่งของ Chromosome บริเวณที่กำหนดรหัสพันธุกรรม รหัสพันธุกรรม Genetic code ข้อมูลทางพันธุกรรม ถ่ายทอดจากพ่อ-แม่สู่ลูก

แสดงออกเป็นลักษณะปรากฏ ฟีโนไทป์ / phenotype ข้อมูลทางพันธุกรรม อยู่ในยีน / genotype ยีนคืออะไร แสดงออกเป็นลักษณะปรากฏ ฟีโนไทป์ / phenotype genotype to phenotype ดีเอ็นเอ สู่ โปรตีน

โครโมโซม โครงสร้าง / องค์ประกอบทางเคมี ดีเอ็นเอ DNA: deoxyribonucleic acid สารพันธุกรรม genetic material ฮิสโตน histone โปรตีน ช่วยควบคุมการทำงานของยีน

Chromosome packaging

ดีเอ็นเอ โพลีนิวคลีโอไทด์: polynucleotide chain 2 สาย พันเป็นเกลียวคู่: double helix ประกอบด้วย เบส เพียวรีน Purine, Pu เบส ไพริมิดีน Pyrimidine, Py น้ำตาล ดีออกซีไรโบส Deoxyribose หมู่ฟอสเฟต Phosphate group

ดีเอ็นเอ เบสเพียวรีน อะดีนีน Adenine, A กวานีน Guanine, G

ดีเอ็นเอ เบสไพริมิดีน ไซโตซีน Cytosine, C ไธมีน Thymine, T

ระหว่าง น้ำตาล และ ฟอสเฟต Nucleoside = Base + Deoxyribose sugar Nucleotide = Base + Sugar + Phosphate Polynucleotide Nucleotide ต่อกันด้วย Phosphodiester bond (พันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์) ระหว่าง น้ำตาล และ ฟอสเฟต

ดีเอ็นเอ การต่อนิวคลีโอไทด์ นับที่คาร์บอนของน้ำตาล จาก 5’ ไป 3’ จาก 5’ ไป 3’ โพลีนิวคลีโอไทด์ 2 เส้น ทิศทางตรงข้ามกัน Antiparallel 5’ 3’

ดีเอ็นเอ Double helix 1 turn = 3.4 nm Major groove Minor groove Hydrogen bond Purine : Pyrimidine Complementary bases Complementary strands

ดีเอ็นเอ A : T = 2 bonds C : G = 3 bonds

คุณสมบัติของสารพันธุกรรม ดีเอ็นเอ เป็น สารพันธุกรรม ลำดับเบส กำหนดข้อมูล ทางพันธุกรรม เกี่ยวข้องกับ โครงสร้าง และ การทำหน้าที่ต่างๆ ดีเอ็นเอ มีความคงทน ไม่แตกหักง่าย

ในขั้นตอนการเจริญเติบโต การแบ่งเซลล์ จาก 1 เป็น 2 ดังนั้น.... ดีเอ็นเอ ต้องมีการจำลองตัว เพื่อเพิ่มปริมาณ กระบวนการ replication double helix ทำหน้าที่เป็น template/แม่แบบ complementary base ต่อเป็นเส้นใหม่ semi conservative

ดีเอ็นเอ เพิ่ม เป็น 2 ชุด ที่เหมือนเดิม Replication Template strand เส้นแม่แบบถูกอ่าน จาก 3’ ไป 5’ Complementary strand เส้นใหม่ถูกสร้าง จาก 5’ ไป 3’ ดีเอ็นเอ เพิ่ม เป็น 2 ชุด ที่เหมือนเดิม

- ดีเอ็นเอแม่พิมพ์ DNA template - เอนไซม์ DNA polymerase Replication - ดีเอ็นเอแม่พิมพ์ DNA template - เอนไซม์ DNA polymerase - นิวคลีโอไทด์ (dNTPs) deoxyribonucleoside triphosphates dATP, dGTP, dCTP, dTTP - ไพรเมอร์ (RNA/DNA primer) *โปรตีน เอนไซม์ และ โคแฟคเตอร์ อื่นๆ*

ดีเอ็นเอ มีความหลากหลาย จากลำดับเบสที่ต่างกัน นำไปสู่สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกัน คน-คน 0.25 % คน-ชิมแพนซี 20 % จีโนไทป์ เหมือน ฟีโนไทป์ เหมือน และ ต่าง จีโนไทป์ ต่าง ฟีโนไทป์ เหมือน และ ต่าง สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการแสดงออกของยีน ความสัมพันธ์ระหว่าง จีโนไทป์ และ ฟีโนไทป์ สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการแสดงออกของลักษณะ การใช้ดีเอ็นเอ เพื่อการจำแนกพันธุกรรม

จีโนม Genome ดีเอ็นเอ (ชุด / ปริมาณ / จำนวน) พื้นฐาน ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ( usu. haploid, 1n) Human genome 3 * 109 base pair Plant genome gymnosperm 70 * 109 base pair angiosperm 5-30 * 109 base pair Bacterial genome 1.5 * 107 base pair

ขนาดของจีโนม และ จำนวนยีนไม่เป็นสัดส่วนกัน Arabidopsis 100 Mbase Human 3000 Mbase Maize 4500 Mbase ประมาณ 30,000 ยีน โครโมโซม ประกอบด้วยดีเอ็นเอ ยีน ไม่ใช่ยีน

จีโนมพืช นิวเคลียส Nuclear genome ไมโตคอนเดรีย Mitochondrial genome คลอโรพลาสต์ Chloroplast genome

Mitochondria Bacteria Oxidative phosphorylation Respiration ATP

Chloroplast Bacteria Photosynthetic function

ดีเอ็นเอในออกาเนลล์ของเซลล์พืช (Ct และ Mt) มีสารพันธุกรรมแยกจากนิวเคลียส ดีเอ็นเอ มักเป็นรูปวงกลม ไม่มีฮิสโตนเป็นองค์ประกอบ โครงสร้างยีนคล้ายยีนแบคทีเรีย

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ถ่ายทอดดีเอ็นเอจากพ่อ-แม่ สู่ลูก เซลล์สืบพันธุ์ ดีเอ็นเอพืช นิวเคลียส ไมโตคอนเดรีย คลอโรพลาสต์ ถ่ายทอดแบบ uniparental inheritance biparental inheritance

การเขียนดีเอ็นเอ เบสที่เป็นคู่สม complementary base เขียนให้ตรงกัน ระบุ ด้าน 5’ และ 3’ อาจใช้เส้นตรงแทนลำดับเบส ใช้หัวลูกศรแทนด้าน 3’ 5’ 3’