การวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับ (Multilevel Analysis) ด้วยโปรแกรม HLM

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบจัดการคลังข้อสอบส่วนกลาง
Advertisements


สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Chapter 10: Hypothesis Testing: Application
สถิติ.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
Lab 2: การใช้ MATLAB สำหรับการสร้างแบบจำลองเพื่อวิเคราะห์
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การออกแบบการวิจัย.
การคำนวณทางสถิติ (Statistics worksheet)
Menu Analyze > Correlate
การวิเคราะห์ Logistic Regression
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
T-Test compare with mean Independent Paired
การทดสอบสมมติฐาน
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
การศึกษาความพึงพอใจของ
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การวิเคราะห์ข้อมูล.
วิจัย (Research) คือ อะไร
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
มาตรฐานการให้รางวัลผลงานด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
Basic Statistical Tools
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
E D E,C 1 D E,C 1,C 2,C 3 D ตัวแปรต้น ตัวแปร ตาม ตัวแปรอิสระ แทนด้วย X X 1, X 2,... X k D ตัวอย่าง : X 1 = E X 4 = E*C 1 X 2 = C 1 X 5 = C 1 *C 2 X 3 =
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับ (Multilevel Analysis) ด้วยโปรแกรม HLM ดร.นำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

การวิเคราะห์พหุระดับ แนวคิดเบื้องต้นในการวิเคราะห์พหุระดับ ภาคทฤษฎีเกี่ยวกับแนวคิดการวิเคราะห์ การวิเคราะห์พหุระดับด้วยโปรแกรม HLM กรณีตัวอย่างงานวิจัย การใช้โปรแกรม HLM วิเคราะห์เพื่อตอบคำถามการวิจัย การอ่านและแปลผลการวิเคราะห์

ข้อมูลพหุระดับ Hierarchical Nested Data or Multiple-Level Data

ข้อมูลพหุระดับ Hierarchical Nested Data or Multiple-Level Data

ปัญหาของข้อมูลพหุระดับ ลักษณะความเป็นกลุ่มส่งผลกระทบต่อการวิเคราะห์ทางสถิติ ละเมิดข้อตกลงเบื้องต้นเรื่อง Independent Observations ส่งผลให้เกิด Type I Error สูงเกินกว่าปกติหรือที่ตั้งไว้

ปัญหาของข้อมูลพหุระดับ จำนวนสมาชิกต่อกลุ่ม ระดับของ Intraclass Correlation .00 .01 .05 .20 .40 .80 10 .06 .11 .28 .46 .75 25 .08 .19 .63 .84 50 .30 .59 .74 .89 100 .17 .43 .70 .81 .92 Barcikowski (1981)

ปัญหาของข้อมูลพหุระดับ การวิเคราะห์การถดถอยทั่วไปใช้การประมาณค่าแบบ Ordinal Least Squares (OLS) ซึ่งมีปัญหาเนื่องจากละเมิด assumption การวิเคราะห์พหุระดับส่วนใหญ่ใช้วิธีประมาณค่า Maximum Likelihood (ML) ซึ่งให้ค่าประมาณที่เที่ยงตรงกว่าในกรณีที่ละเมิดข้อตกลงเบื้องต้นเรื่อง independent observations

กรณีตัวอย่าง X = เศรษฐฐานะของนักเรียน (SES) Y = ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement) W = ประเภทโรงเรียน (Type of School)

ลักษณะความสัมพันธ์ของตัวแปรพหุระดับ

วิธีการวิเคราะห์ กรณี 1 ใช้การวิเคราะห์ Pearson Correlation หรือ Regression กรณี 2 ใช้ ANCOVA หรือแปลงตัวแปร W ให้เป็นตัวแปร Dummy แล้วนำไปวิเคราะห์ Regression กรณี 3 การวิเคราะห์แบบเดิมไม่สามารถวิเคราะห์ได้ เนื่องจากมีข้อตกลงเบื้องต้นทางสถิติ กรณี 3 นี้เรียกว่า Cross Level Interaction เป็นความสัมพันธ์ที่ การวิเคราะห์พหุระดับถูกออกแบบเพื่อศึกษาโดยเฉพาะ

แนวการวิเคราะห์แบบเดิม ไม่สนใจระดับการวิเคราะห์ ไม่นำเข้ามาวิเคราะห์ด้วย ใช้ได้เฉพาะกรณี 1 เท่านั้น ทำให้หน่วยการวิเคราะห์อยู่ในระดับเดียวกัน Aggregate Regression แปลงตัวแปรระดับหน่วยย่อยให้เป็นระดับกลุ่ม เสียข้อมูลจำนวนมาก Power ลดลง Type II Error สูงขึ้น Ecological Fallacy or Robinson Effect

แนวการวิเคราะห์แบบเดิม ทำให้หน่วยการวิเคราะห์อยู่ในระดับเดียวกัน Disaggregate Regression แปลงตัวแปรระดับกลุ่มให้เป็นระดับหน่วยย่อย Type I Error สูงขึ้นกว่าปกติ Atomistic Fallacy การวิเคราะห์ 2 แนวทางก็ยังไม่สามารถวิเคราะห์ Cross Level Interaction ได้

แนวการวิเคราะห์แบบเดิม การวิเคราะห์แบบเดิมจึงมีปัญหา Conceptual Problem Fallacy of the Wrong Level Statistical Problem Violate Independent Observation Assumption Alpha Inflate

การวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับ Multilevel Data Analysis Hierarchical Linear Models (HLM) โดย Raudenbush & Bryk เป็นการนำเอาโครงสร้างความเป็นกลุ่มมาเป็นอิทธิพลสุ่ม (Random Effect) ในสมการ ไม่ใช่อิทธิพลคงที่ (Fixed Effect) เหมือนสมการถดถอยทั่วไป แยกสมการโดยนำเอาค่าสัมประสิทธิ์ทั้งค่า intercept และ slope มาเป็นตัวแปรตามแบบสุ่ม

สมการการวิเคราะห์พหุระดับ

แนวคิดเบื้องต้นของ HLM

Null Model One Way ANOVA with Random Effects Level 1 Model

Null Model มีแต่ค่า Intercepts ไม่มีตัวแปรอิสระ เพื่อคำนวณค่า Intraclass Correlation

Regression with Random Intercepts Model ANCOVA with Random Intercepts Level 1 Model Level 2 Model

Regression with Random Intercepts Model เพื่อทดสอบว่าตัวแปรอิสระระดับที่ 1 ตัวแปรใดบ้างที่มีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม

Regression with Random Coefficients Model Level 1 Model Level 2 Model

Regression with Random Coefficients Model เพื่อทดสอบว่าอิทธิพลที่ตัวแปรอิสระระดับที่ 1 ที่มีต่อตัวแปรตามแตกต่างกันไปตามระหว่างกลุ่มระดับที่ 2 หรือไม่

Intercepts-as-Outcomes Model Level 1 Model Level 2 Model

Intercepts-as-Outcomes Model เพื่อทดสอบว่าตัวแปรอิสระระดับที่ 2 ตัวแปรใดบ้างที่มีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม

Intercepts and Slopes-as-Outcomes Model Cross-Level Interaction Model Level 1 Model Level 2 Model

Intercepts and Slopes-as-Outcomes Model เพื่อทดสอบผลปฏิสัมพันธ์ของตัวแปรระดับที่ 2 ที่มีต่ออิทธิพลของตัวแปรระดับที่ 1 กับ ตัวแปรตาม

Centering Uncenterd Grand Mean Centered Group Mean Centered

ข้อดีของการ Centering ทำให้ง่ายต่อการตีความค่า Intercept ลดความสัมพันธ์ระหว่างความคลาดเคลื่อนของ Random Intercepts and ความคลาดเคลื่อนของ Slopes ลดความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรระดับที่ 1 และ 2 และ ค่าปฏิสัมพันธ์ข้ามระดับ (Cross-level Interaction)

Uncentered ค่าเฉลี่ย เมื่อ = 0 ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม Grand Mean Centered Adjusted Mean ค่าเฉลี่ยตัวแปรตามในกรณีที่มีค่าเฉลี่ยรวม ความแตกต่างของ Adjusted Mean ระหว่างกลุ่ม Group Mean Centered Unadjusted Mean ค่าเฉลี่ยตัวแปรตามในกรณีที่มีค่าเฉลี่ยกลุ่ม ความแตกต่างของ Unadjusted Mean ระหว่างกลุ่ม

Uncentered and Grand Mean Centered คือ pooled-within regression slopes ความแตกต่างของ pooled-within slopes ระหว่างกลุ่ม Group Mean Centered คือ ค่าเฉลี่ย regression slopes ระหว่างกลุ่ม ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย regression slopes ระหว่างกลุ่ม

การวิเคราะห์พหุระดับ ด้วยโปรแกรม HLM

กรณีตัวอย่างงานวิจัย

การเตรียมไฟล์ข้อมูล แยกไฟล์ข้อมูลออกเป็น 2 ไฟล์ คือ ไฟล์ข้อมูลระดับที่ 1 ไฟล์ข้อมูลระดับที่ 2 ทั้ง 2 ไฟล์ต้องมีตัวแปร ID ของระดับที่ 2 เป็นตัวเชื่อม ไฟล์ระดับ 1 ต้องจัดกลุ่มตามตัวแปร ID ตัวแปร ID ถ้าเป็น string ต้องไม่ยาวเกิน 12 ตัวอักษร และค่าตัวแปร ID ต้องมีความยาวเท่ากันทุกค่า

ไฟล์ข้อมูลระดับที่ 1

ไฟล์ข้อมูลระดับที่ 2

การสร้างไฟล์ MDM HLM V.6 ใช้ .MDM (Multivariate Data Matrix) HLM เวอร์ชั่นต่ำกว่า 6 ใช้ .SSM (Sufficient Statistics Matrix) Not Backward Compatible

การสร้างไฟล์ MDM File  Make New MDM File  Stat Package Input ให้เลือก Hierarchical Linear Models  HLM 2 แล้วจะขึ้นกรอบหน้าต่างดังข้างล่าง

การสร้างไฟล์ MDM ตรงกรอบ Level-1 Specification ให้กดปุ่ม Browse แล้วเลือกไฟล์ข้อมูลระดับที่ 1 จากนั้นกดปุ่ม Choose Variables แล้วจะขึ้นหน้าต่างข้างล่าง

การสร้างไฟล์ MDM จากนั้นตรงกรอบ Level-2 Specification ให้กดปุ่ม Browse แล้วเลือกไฟล์ข้อมูลระดับที่ 2 จากนั้นกดปุ่ม Choose Variables แล้วจะขึ้นหน้าต่างข้างล่าง

การวิเคราะห์ Null Model

ผลการวิเคราะห์ Null Model

Intraclass Correlation

การวิเคราะห์ Regression with Random Intercept Model

ผลวิเคราะห์ Regression with Random Intercept Model

ผลวิเคราะห์ Regression with Random Intercept Model

ผลวิเคราะห์ Regression with Random Intercept Model

Variance Explained

Variance Explained

การวิเคราะห์ Intercepts-as-Outcomes Model

ผลวิเคราะห์ Intercepts-as-Outcomes Model

ผลวิเคราะห์ Intercepts-as-Outcomes Model

Variance Explained

การวิเคราะห์ Random Coefficients Model

ผลวิเคราะห์ Random Coefficients Model

ผลวิเคราะห์ Random Coefficients Model

การวิเคราะห์ Intercept-and-Slope as Outcome Model

ผลวิเคราะห์ Intercept-and-Slope as Outcome Model

จบการบรรยาย